1 / 31

สรุปการติดตามประเมิน กระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคในจังหวัด ปีงบประมาณ 2551

สรุปการติดตามประเมิน กระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคในจังหวัด ปีงบประมาณ 2551. สุริยะ วงศ์คงคาเทพ เพชรศรี ศิรินิรันดร์, จีรพัฒน์ ศิริชัยสินธพ สร้อยทอง เตชะเสน, พรทิพย์ ศิริภานุมาศ, สิริกุล วงษ์สิริโสภาคย์. รูปแบบการประเมิน ผลการประเมิน

brigid
Download Presentation

สรุปการติดตามประเมิน กระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคในจังหวัด ปีงบประมาณ 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปการติดตามประเมิน กระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคในจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สุริยะ วงศ์คงคาเทพ เพชรศรี ศิรินิรันดร์, จีรพัฒน์ ศิริชัยสินธพ สร้อยทอง เตชะเสน, พรทิพย์ ศิริภานุมาศ, สิริกุล วงษ์สิริโสภาคย์

  2. รูปแบบการประเมิน ผลการประเมิน การบริหารงบประมาณ การวิเคราะห์สภาพปัญหา กระบวนการจัดทำแผน การนำแผนสู่การปฏิบัติ ข้อเสนอแนะ การพัฒนากระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมโรค การติดตามประเมิน ประเด็นการนำเสนอ

  3. รูปแบบการประเมิน • กำหนดประเด็น และคณะทำงานลงไปประเมินตามประเด็นที่กำหนด สะท้อนข้อมูลที่เป็นปัญหาได้ระดับดีถึงปานกลาง(8 เขต) • กำหนดประเด็น แต่ประเมินพร้อมกับการตรวจนิเทศงานปกติ หรือให้จังหวัดรายงานทางเอกสารสะท้อนปัญหาได้ดีถึงปานกลาง สะท้อนปัญหาทั่วไป(3 เขต) • ไม่ได้กำหนดประเด็น ไม่ได้ลงประเมิน(2 เขต)

  4. ภาพรวมการบริหารงบประมาณภาพรวมการบริหารงบประมาณ

  5. ระดับจังหวัด งบ Non-UCกระทรวง/กรม งบ PPAเขต งบ PPAจังหวัด งบ อบจ. งบอื่น: สสส. Global Fund ระดับอำเภอ งบ PPAจังหวัด จัดสรรให้ อ. งบ PPCนอกกองทุนสุขภาพ ต. งบ PPE ภาพรวมการบริหารงบประมาณ ระดับตำบล: งบ PPCกองทุนสุขภาพตำบล อบต.

  6. ระดับจังหวัด ประชุม ฝึกอบรม นิเทศงาน จัดงานมวลชน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ค่าใช้จ่ายสำนักงาน ระดับอำเภอ ประชุม อบรม จนท. อสม. ผู้นำท้องถิ่น ฯ ซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ชุดทดสอบ เวชภัณฑ์สนับสนุน ต. ค่าตรวจชันสูตรงานตรวจคัดกรองต่างๆ ภาพรวมการบริหารงบประมาณ ระดับตำบล: อบรม

  7. งบประมาณด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใน จ. ปี 2551 ( ล้านบาท )

  8. กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล • มีคณะกรรมการบริหารกองทุน นายก อปท. เป็นประธาน • สอ.เป็นแกนกำหนดปัญหาและเขียนโครงการ • ประชุมประชาคมกำหนดปัญหาและเขียนโครงการ • ความชำนาญในการวิเคราะห์ปัญหา • ความสามารถเฉพาะตัวของเจ้าหน้าที่

  9. การวิเคราะห์สภาพปัญหา และ ทบทวนการดำเนินงาน

  10. การวิเคราะห์สภาพปัญหาและการดำเนินงานการวิเคราะห์สภาพปัญหาและการดำเนินงาน • จังหวัดทุกแห่งรายงานตนเองว่ามีการวิเคราะห์สภาพปัญหาโดยใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว เช่น อุบัติการณ์โรค ข้อมูลป่วย/ตาย รายงาน ระบบเฝ้าระวังโรค และข้อมูลตัวชี้วัด • พื้นที่รายงานว่ามีแหล่งข้อมูลจากแฟ้มครอบครัว ฐานบริการรายบุคคล • ระดับจังหวัดมีศักยภาพการวิเคราะห์มากที่สุด • การวิเคราะห์ยังผิวเผิน ยังไม่เข้าใจในสาเหตุของปัญหา • มีการวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเพื่อนำมาใช้ประโยชน์น้อยมาก

  11. กระบวนการจัดทำแผน

  12. กระบวนการจัดทำแผน 1. แผนยุทธศาสตร์ หรือแผนกลยุทธ์ • มาตรการที่ปฏิบัติและพิสูจน์ว่าได้ผลในวงกว้าง และประสิทธิผลเมื่อนำไปใช้จริง 2. แผนปฏิบัติการ • การจัดสรรและกระจายงบประมาณภายในจังหวัด /การบริหารงบระดับอำเภอและตำบล • คุณภาพของแผนปฏิบัติ : กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย • ความเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ หรือแผนกลยุทธ์ • การบูรณาการโครงการ • การจัดสรรงบสนับสนุนภายในจังหวัด อำเภอ (CUP) กองทุนสุขภาพตำบล

  13. คุณภาพของแผน ประเมินจาก 3องค์ประกอบ • การวิเคราะห์สภาพปัญหาและสาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง • การกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่จะดำเนินการ • มาตรการหรือกิจกรรมดำเนินงานที่ระบุในแผน “ อยู่ในระดับที่ควรปรับปรุงเป็นส่วนใหญ่ ”

  14. การจำแนกแผนงานตามลักษณะของปัญหาการจำแนกแผนงานตามลักษณะของปัญหา • ปัญหาบางเรื่องยังไม่มีแผนรองรับ เช่น Teenage pregnancyพัฒนาการไม่สมวัย ไม่ถูกบรรจุในแผนยุทธศาสตร์จังหวัด ทั้งที่เป็นปัญหาค่อนข้างรุนแรง • ปัญหาที่เกิดใหม่หรือเริ่มให้ความสนใจ เช่น วัณโรค ภาวะอ้วนลงพุง แต่ยังขาดมาตรการรองรับที่ได้ผลจริงจัง • ปัญหาสำคัญที่ยังแก้ไม่ตก เช่น ไข้เลือดออก พฤติกรรมสุขภาพกับ NCD พฤติกรรมบริโภคอาหารไม่ปลอดภัย พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเอดส์ ขาดความต่อเนื่องของนโยบาย มาตรการซ้ำๆไม่มีประสิทธิภาพ ขาดการวิเคราะห์เพื่อทางเลือกใหม่

  15. แผนระดับอำเภอและตำบล • ความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด • ดุลยพินิจของผู้บริหารระดับอำเภอ • ความเหมาะสมของมาตรการแก้ปัญหา • ตกร่อง • กองทุนสุขภาพตำบลมักเป็นเฉพาะเรื่องที่จับต้องได้ในมุมมองของผู้บริหารท้องถิ่น

  16. การนำแผนสู่การปฏิบัติการนำแผนสู่การปฏิบัติ

  17. กระบวนการนำแผนไปสู่การปฏิบัติกระบวนการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ • ความเข้าใจในสถานการณ์ปัญหาและแนวทางการแก้ไขของผู้ปฏิบัติ • ความร่วมมือต่างหน่วยงาน ท้องถิ่น องค์กรชุมชน เหมาะสมสอดคล้องกับบทบาทของหน่วยงานหรือไม่ • สัดส่วนความก้าวหน้าของการใช้จ่ายงบประมาณ • ประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร

  18. การนำแผนสู่การปฏิบัติการนำแผนสู่การปฏิบัติ • ผู้ปฏิบัติเข้าใจว่าได้ลงมือทำกิจกรรม ถือเป็นการบรรลุเป้าหมาย แต่ไม่เข้าใจว่าเหตุใดจึงทำ หรือทำแล้วมีผลต่อการแก้ปัญหาอย่างไร เช่น การมีหมู่บ้านนำร่องครบถ้วนตามเกณฑ์เป็นเป้าหมาย การจัดตั้งชมรมต่างๆ • กิจกรรมตรวจคัดกรอง และลดพฤติกรรมเสี่ยง กลายเป็นกิจกรรมพื้นฐานของหน่วยปฏิบัติ • โครงการที่ใช้มาตรการปรับพฤติกรรมเสี่ยงเช่นเดียวกันไม่บูรณาการ เช่นโครงการลดอ้วนลงพุง โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ทำให้เกความสับสนในระดับปฏิบัติ • ขาดการติดตามกำกับและประเมินผลการดำเนินงานที่ชัดเจน

  19. ข้อสรุป • กระบวนการทำงานภายในจังหวัด • การปฏิบัติงานในพื้นที่ • การติดตามประเมินของเขต

  20. กระบวนการทำงานภายในจังหวัดกระบวนการทำงานภายในจังหวัด • กระบวนการจัดทำแผน และนำแผนสู่การปฏิบัติ • 75% จัดทำแผนยุทธศาสตร์ อยู่ในกรอบมาตรฐานและขั้นตอนการทำงานแต่แผนปฏิบัติเฉพาะเรื่องยังขาดความชัดเจน ยังไม่ตรงกลุ่มเป้าหมายกิจกรรมไม่เจาะจง • การวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพและจุดอ่อนการดำเนินงานไม่ชัดเจน การกำหนดปัญหาของจังหวัด ยังอิงกับตัววัดของส่วนกลาง ตัววัดส่วนกลางซ้ำซ้อน

  21. กระบวนการทำงานภายในจังหวัดกระบวนการทำงานภายในจังหวัด • การบริหารจัดการในภาพรวมค่อนข้างเป็นไปตามกระบวนการที่กำหนด • 73% ให้อำเภอทำแผนเองโดยมีกรอบให้ • 17% มีพิมพ์เขียวจากจังหวัดให้อำเภอ • เกือบทุกจังหวัดรวมศูนย์การพิจารณาที่จังหวัด

  22. กระบวนการทำงานภายในจังหวัดกระบวนการทำงานภายในจังหวัด • มีช่องว่างระหว่างจังหวัด อำเภอ และตำบล ปรากฏในทุกขั้นตอน จังหวัดยังไม่ได้ติดตามการทำงานระดับปฏิบัติอย่างใกล้ชิด • 92% ติดตามผลโดยให้อำเภอส่งรายงานผลตามตัวชี้วัดเท่านั้น • 46% เสนอผลลัพธ์กิจกรรมตามตัวชี้วัดเท่านั้น • การประเมินผลของจังหวัด ส่วนใหญ่ประเมินตามตัวชี้วัด 3 กลุ่ม คือ e-inspection, composite indicatorsและตัววัดตามยุทธศาสตร์จังหวัด • ความสามารถในการ Coachingจากจังหวัดยังต้องพัฒนา

  23. การปฏิบัติในพื้นที่ • ใช้ข้อมูลระบาดวิทยาแบบผิวเผิน แต่วิเคราะห์สาเหตุน้อย ข้อมูลเชิงลึกมีน้อย เช่น เหตุใดอัตราคนอ้วนพื้นทีคล้ายคลึงกัน แต่สถิติแตกต่างกันมาก ผู้ปฏิบัติ “รู้” ว่าต้องทำอะไร อย่างไร แต่ไม่รู้ว่าทำไปทำไม • ประสิทธิภาพการใช้งบประมาณ ตอบไม่ได้ เช่น เรื่องไข้เลือดออกใช้งบเยอะมาก

  24. การปฏิบัติในพื้นที่ • พื้นที่กองทุนสุขภาพตำบล ยังทำงานไม่เป็นระบบ ไม่สามารถผลิตงานที่มีคุณภาพจริงๆ ขณะที่บางพื้นที่เห็นว่าความร่วมมือไปได้ดี แผนปฏิบัติในพื้นที่กองทุน และไม่มีกองทุน ต่างกัน 50% • ตำบลที่ไม่มีกองทุนเป็นตำบลเล็กๆ แต่ต้องนำงบ PPCของตำบลเหล่านั้นไปเกลี่ยทำงานทั้งอำเภอ

  25. การติดตามประเมินของเขตการติดตามประเมินของเขต • ทักษะของผู้ประเมินมีความหลากหลายมาก การประเมินสิ่งที่เกิดขึ้นจริงยังสับสนกับการนิเทศงาน และมองภาพรวมของการใช้งบประมาณจากแหล่งต่างๆ ของจังหวัดไม่ออก • ผู้ประเมินจับประเด็นไม่เกาะติดกับตัวปัญหา สับสนระหว่างการประเมินภาพรวมทั่วไป กับปัญหาเฉพาะเรื่อง เช่น บางขั้นตอน เช่น กระบวนการจัดทำแผน งานกองทุนฯ

  26. “ ข้อเสนอแนะ ”

  27. ข้อเสนอแนะ • ควรพัฒนาคุณภาพในกระบวนการทำงานระดับจังหวัด อย่าง เร่งด่วน ใน 3 ขั้นตอน • การวิเคราะห์สภาพปัญหา • การจัดทำแผน • การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ

  28. ข้อเสนอแนะ 2. บูรณาการการทำงานเพื่อให้งาน PP เป็นเอกภาพตั้งแต่ระดับประเทศ เขต จังหวัด และพื้นที่ เน้นบูรณาการในทุกมิติ • บูรณาการระหว่างนโยบายกับข้อเท็จจริงในพื้นที่ • บูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างสาขาโดยใช้ปัญหาสุขภาพเป็นตัวตั้ง • บูรณาการการใช้ทรัพยากรทั้งบุคลากรและงบประมาณ

  29. ข้อเสนอแนะ 3. ควรเลือกประเด็นการติดตามประเมิน ควรให้สอดคล้องกับปัญหาที่มีความสำคัญในพื้นที่ และขยายขอบเขตไปเรื่องมะเร็งและสุขภาพจิต 4. ควรปรับกระบวนการประเมินด้วยตัวชี้วัด ให้มีตัวชี้วัดหลายระดับ เปิดโอกาสให้พื้นที่สร้างตัววัด และรู้จักการประเมินจุดสำคัญ (Critical point)ที่อยู่นอกตัววัด

  30. ข้อเสนอแนะ • พัฒนาขีดความสามารถระดับเขต ทั้งสำนักเขตตรวจราชการ และศูนย์วิชาการเขต ในการกำกับดูแล นิเทศงาน ให้คำปรึกษา (Coaching) และประเมินผลของจังหวัด มีทักษะการประเมินกระบวนการทำงานจริงมากกว่าตัวชี้วัดผลสำเร็จอย่างเดียว • สร้างกลไกในส่วนกลาง/กรม เพื่อบริหารการพัฒนาระบบการทำงานของจังหวัด เพื่อเป็นศูนย์กลางการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

More Related