1 / 24

พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2554

AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วิกฤต หรือโอกาสต่อภาคปศุสัตว์ไทย. พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2554 ห้องสุธรรม อารีกุล ชั้น 1 อาคารสารนิเทศ 50 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน. 1 Standard. 1 Law. 1 World. 2. 2. ภาษา

Download Presentation

พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วิกฤตหรือโอกาสต่อภาคปศุสัตว์ไทย พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2554 ห้องสุธรรม อารีกุล ชั้น 1 อาคารสารนิเทศ 50 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน

  2. 1 Standard 1 Law 1 World 2 2

  3. ภาษา เรียนรู้ประวัติศาสตร์อาเซียนและเอเชีย การแข่งขันไม่ใช่สิ่งชั่วร้าย เป็นนักธุรกิจภายใต้ทุนนิยมใหม่ CAPIRONISM? เป็นผู้บริโภคที่มีคุณภาพ ต้อนรับเทคโนโลยีใหม่ GENETICS, ROBOTICS, NANOTECNOLOGY, INTERNET เตรียมตัวเป็นคนไทยสัญชาติอาเซียน 3

  4. AEC ได้หรือเสีย? ที่มา: สำนักปลัดกระทรวงพาณิชย์

  5. ตลาดเนื้อสุกรใน ASEAN* หน่วย : ตัน ที่มา * สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  6. โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) AEC นำเข้าวัตถุดิบ /กึ่งสำเร็จรูป จาก AEC ที่มึความได้เปรียบด้านราคา/คุณภาพ ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคที่มิใช่ภาษีหมดไป เกิดคู่แข่งใหม่จากอาเซียน ตลาดใหญ่ขึ้น: economy of scale ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง ต้นทุนของคู่แข่งอาจต่ำลงด้วย สามารถย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต การลงทุนในอาเซียนทำได้โดยเสรี คู่แข่งจะเข้ามาแข่งถึงในเขตแดนเรา ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอก AEC เป็นฐานการผลิตร่วม บริษัทในอุตสาหกรรมรองรับ หรือเคยผลิตส่งบริษัทแม่ อาจถูกแย่งลูกค้า โดยคู่แข่งในประเทศอื่นที่ได้เปรียบกว่าในการเป็นฐานการผลิต ที่มา: สำนักปลัดกระทรวงพาณิชย์

  7. โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) AEC ขยายการส่งออกเพิ่มขึ้นไปยังอาเซียน ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคที่มิใช่ภาษีหมดไป สามารถนำเข้าวัตถุดิบ /กึ่งสำเร็จรูป จากอาเซียนที่มีความได้เปรียบกว่าด้านราคา/คุณภาพ โอกาสส่งออกสินค้าใหม่ที่เคยมีภาษีสูง ไปยังตลาดอาเซียน สินค้าประเภทเดียวกันจากอาเซียนเข้ามาแข่ง ตลาดใหญ่ขึ้น: เกิด economy of scale ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง ต้นทุนของคู่แข่งก็อาจต่ำลงด้วย ทำธุรกิจบริการ ในอาเซียนได้อย่างเสรี ไปตั้งธุรกิจ หรือขยายบริการในอาเซียนได้ ธุรกิจบริการของอาเซียนจะเข้ามาแข่งในไทย แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ แรงงานฝีมือเคลื่อนย้ายได้โดยเสรี อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ ถ้าที่อื่นมีสิ่งจูงใจกว่า ที่มา: สำนักปลัดกระทรวงพาณิชย์

  8. โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) AEC สามารถย้ายฐานการผลิตทั้งหมด/บางส่วนไปยังอาเซียนอื่นที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต เพื่อเสริมความสามารถแข่งขัน การลงทุนเสรีในอาเซียน ใช้ AEC เป็นฐานการผลิตร่วม ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอกAEC คู่แข่งอาเซียนอาจจะเข้ามาแข่งในเขตแดนเราเพื่อมาใช้ความได้เปรียบ ของปัจจัยการผลิตบางอย่าง ความร่วมมือด้าน การอำนวยความสะดวกทางการค้า ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาคสะดวกและถูกลง ต้นทุนโลจิสติกส์ของคู่แข่งในอาเซียนก็จะลดลงด้วย หากเขาดีกว่า ได้เปรียบด้านภาษีนำเข้าเมื่อเทียบกับสินค้าของประเทศคู่แข่งอื่นในตลาดคู่ค้าเหล่านี้ FTA อาเซียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEAN+1, +3, +6 นอกเหนือจากคู่แข่ง 9 ประเทศอาเซียนแล้วยังมีคู่แข่งเพิ่มจากประเทศ +3 หรือ +6 ที่มา: สำนักปลัดกระทรวงพาณิชย์

  9. โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) AEC ความร่วมมือด้าน การอำนวยความสะดวกทางการค้า ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาคสะดวกและถูกลง การลดต้นทุนของคู่แข่งในอาเซียน ฐานธุรกิจอยู่ที่ใดก็ได้ในอาเซียน แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ ทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ มีความได้เปรียบทางภาษีนำเข้ากว่าประเทศคู่แข่งอื่นที่อยู่นอกอาเซียน FTA อาเซียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEAN+1, +3, +6 นอกเหนือจากคู่แข่ง 9 ประเทศอาเซียนแล้วยังมีเพิ่มอีก 3 หรือ 6 ที่มา: สำนักปลัดกระทรวงพาณิชย์

  10. ภาคสินค้า • ภาษีศุลกากร • กฎถิ่นกำเนิดสินค้า • มาตรฐาน 10

  11. ตั้งแต่ปี 2010 ไทยลดภาษี ให้ประเทศอาเซียนเหลือ 0% ยกเว้น ไม้ตัดดอก (กุหลาบ คาร์เนชั่น กล้วยไม้) เมล็ดพันธุ์ กาแฟ เนื้อมะพร้าวแห้ง ที่ยังคงมีอัตราภาษี 0 – 5% มีประกาศฯ ยกเลิกโควตาภายใต้ AFTA เกือบทุกรายการแล้ว

  12. สินค้าอ่อนไหวสูง 12

  13. สินค้าอ่อนไหว 13

  14. ไม่มีกำแพงภาษีอีกต่อไปไม่มีกำแพงภาษีอีกต่อไป ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน แต่สิ่งที่ยังคงอยู่.... มาตรการที่มิใช่ภาษี NTBs

  15. ยกเลิกเป็นระยะ การขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี NTBs NTBs ชุดที่ 1 NTBs ชุดที่ 2 NTBs ชุดที่ 3 ยกเลิกภายใน1มค.2551(2008) ยกเลิกภายใน1มค.2552(2009) อาเซียน5 ภายใน1มค.2553(2010) ฟิลิปปินส์ ภายใน1มค.2555(2012) CLMV ภายใน1มค.2558(2015) NTBs : Non-Tariff Barriers

  16. ตลาดไก่ใน ASEAN* หน่วย : ตัน ฟิลิปปินส์ : มีแนวโน้มจะกำหนดมาตรฐานนำเข้าและ เข้มงวดกับมาตรการสุขอนามัย และสุขอนามัยพืชมากขึ้น ** ขณะนี้ ไทยยังส่งออกไก่แปรรูป ไปฟิลิปปินส์ไม่ได้ ที่มา: * สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย ** กรมส่งเสริมการส่งออก

  17. การค้าสินค้า VS การค้าบริการ ภาษีศุลกากร กฎถิ่นกำเนิดสินค้า มาตรฐาน สัดส่วนผู้ถือหุ้นต่างชาติ บุคลากรต่างชาติเดินทางเข้ามาให้บริการในประเทศ

  18. การเปิดเสรีการค้าบริการ หมายถึง การยกเลิกข้อจำกัด/อุปสรรคต่อการให้บริการทุกรูปแบบ เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นของต่างชาติในธุรกิจบริการ ให้ต่างชาติเข้ามาทำงานได้มากขึ้น การเปิดเสรีการค้าบริการ ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  19. เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้นักลงทุนสัญชาติอาเซียนในสาขาบริการต่างๆ การเปิดเสรีการค้าบริการ สาขาเร่งรัด: เทคโนโลยีสารสนเทศ/ สุขภาพ/ท่องเที่ยว/ การบิน ปี 2556 (2013) ปี 2558 (2015) ปี 2549 (2006) ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) 49% 51% 70% โลจิสติกส์ 49% 51% 70% 70% สาขาอื่นๆ 30% 49% 51% ขณะนี้ สมาชิกอาเซียนอยู่ระหว่างการยื่นข้อผูกพันเปิดตลาดการค้าบริการชุดที่ 8 ให้แล้วเสร็จภายในปี 2553 โดยสาระสำคัญคือ การอนุญาตให้นักลงทุนอาเซียน ถือหุ้นได้ไม่ต่ำกว่า 51% และ 70% ในสาขาเร่งรัด (เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน )รวมทั้งลดอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด

  20. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community: AEC กรอบเวลาการลด/ยกเลิกภาษีภายใต้ ATIGA เวียดนาม 2013 ลาวและพม่า 2015 กัมพูชา 2017 AFTA rate = 0 % สำหรับประเทศ CLMV AFTA rate = 0 % ASEAN 6 ไทย: 8,824 รายการจาก 11,030 รายการ AFTA rate = 0 % สำหรับ ASEAN ทุกประเทศ AFTA rate = 0 % ASEAN 6 (ทุกรายการ) 2007 2010 2012 2015 สินค้าอ่อนไหวที่ประเทศสมาชิกอาเซียนต้อง ลดภาษีเหลือ 5 - 25%:น้ำตาล (อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์) ข้าว (อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์) กาแฟ (บรูไน) ปศุสัตว์ (กัมพูชา มาเลเซีย ฟิลิปปินส์) ไม้ตัดดอก (กัมพูชา มาเลเซีย) ผัก ผลไม้ พืชตระกูลถั่ว (กัมพูชา มาเลเซีย) เมล็ดพันธุ์ (มาเลเซีย) มันสำปะหลัง (ฟิลิปปินส์) สินค้าอ่อนไหวที่ไทย ต้องลดภาษีเหลือ 0% ไม้ตัดดอก มันฝรั่งสำหรับเพาะปลูก เมล็ดกาแฟ เนื้อมะพร้าวแห้ง 20

  21. เครื่องมือที่จะส่งเสริมโอกาสการค้าสินค้าเครื่องมือที่จะส่งเสริมโอกาสการค้าสินค้า ของไทยใน ASEAN 2007 2010 2012 2015 การยกเลิก มาตรการNTB กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิด สินค้าเปิดกว้าง มากขึ้น สินค้าที่ไทย มีศักยภาพใน การแข่งขัน/ส่งออก การปรับประสาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์/ กฎระเบียบทางเทคนิค การจัดทำความตกลง ยอมรับร่วม เครื่องใช้ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์/ ยานยนต์และชิ้นส่วน/เคมีภัณฑ์/ ยาง/พลาสติก/อาหาร แปรรูป/สินค้าเกษตร และปศุสัตว์/ประมง/ สิ่งทอ/ ผลิตภัณฑ์ไม้ (การขึ้นทะเบียน การออกใบรับรอง การตรวจสอบ ฉลากอาหาร) การจัดทำระบบด้านกฎระเบียบ ให้เป็นหนึ่งเดียว การลดต้นทุนด้วยการ อำนวยความสะดวก ด้านพิธีการศุลกากร 3 Cs: Commit, Concert, Connect (ASW: ASEAN Single Window, Self Certification)

  22. การเตรียมความพร้อมของไทยการเตรียมความพร้อมของไทย สำหรับสินค้าที่ไทยมีศักยภาพ (1/2) 2007 2010 2012 2015 • พัฒนาขีดความ • สามารถในการแข่งขัน บริหารต้นทุน • ศึกษาโอกาส • ของการตลาด • ดำเนินกลยุทธ์ฯ เชิงรุก เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์/ ยานยนต์และชิ้นส่วน/เคมีภัณฑ์/ ยาง/ พลาสติก/อาหารแปรรูป/ สินค้าเกษตร และปศุสัตว์/ ประมง/สิ่งทอ/ ผลิตภัณฑ์ไม้ • พัฒนา/สร้างความ • สัมพันธ์กับภาคเอกชน • ของสมาชิกอาเซียนอื่น • สร้างแบรนด์ • ของเราเองในไทย • Friendly competition • ร่วมกันสร้างสรรค์การค้า • ของอาเซียนเชิงบูรณา • ให้แข่งขันได้ในตลาดโลก • การเข้าไปลงทุนหรือร่วมลงทุนกับ • ประเทศเพื่อนบ้าน วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของ อุตสาหกรรมไทย และวาง position ของสินค้า • ขวนขวายหาวัตถุดิบจาก • กลุ่มประเทศอาเซียนมากกว่า • นำเข้าจากประเทศ • นอกอาเซียน

  23. การเตรียมความพร้อมของไทยการเตรียมความพร้อมของไทย สำหรับสินค้าที่ไทยมีศักยภาพ (2/2) 2007 2010 2012 2015 • พัฒนา • ศักยภาพ • ของบุคลากร • ฝึกฝนการพูดภาษา • อังกฤษและภาษาอื่นๆ • ในอาเซียน/คู่เจรจา ทำ R & D เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์/ ยานยนต์และชิ้นส่วน/เคมีภัณฑ์/ ยาง/ พลาสติก/อาหารแปรรูป/ สินค้าเกษตร และปศุสัตว์/ ประมง/สิ่งทอ/ ผลิตภัณฑ์ไม้ • พัฒนาระบบ • ข้อมูลข่าวสารให้มี • ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น • นำเทคโนโลยีใหม่ๆ • และผลการศึกษาวิจัย • มาปรับปรุงใช้ • พัฒนาสินค้าและ • บริการให้เป็นไปตาม • มาตรฐานสากล • ศึกษากฎระเบียบ • ข้อบังคับและมาตรการ • ทางการค้า • พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ • เพื่อเพิ่มตลาด • หรือรักษาตลาด ดำเนินธุรกิจ อย่างมีจริยธรรม และคุณธรรม 23

  24. ขอบคุณครับ 24

More Related