1 / 9

ภาพรวมการผลิตไก่เนื้อในประเทศ ปีการผลิต 2556

ภาพรวมการผลิตไก่เนื้อในประเทศ ปีการผลิต 2556. คาดการณ์การผลิตไก่เนื้อทั้งประเทศ ปีการผลิต 2556 จำนวน 1,104,050,699 ตัวๆ ละประมาณ 1.8-2.3 กิโลกรัม 1. ผู้ประกอบการ เลี้ยงไก่เนื้อ จ. เพชรบูรณ์ จำนวน 15,709,691 ตัว( 1.42 % )

amish
Download Presentation

ภาพรวมการผลิตไก่เนื้อในประเทศ ปีการผลิต 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาพรวมการผลิตไก่เนื้อในประเทศ ปีการผลิต 2556 คาดการณ์การผลิตไก่เนื้อทั้งประเทศ ปีการผลิต 2556 จำนวน 1,104,050,699 ตัวๆ ละประมาณ 1.8-2.3 กิโลกรัม 1. ผู้ประกอบการเลี้ยงไก่เนื้อ จ. เพชรบูรณ์ จำนวน 15,709,691 ตัว(1.42 %) 2. ผู้ประกอบการเลี้ยงไก่เนื้อ จ. ลพบุรี จำนวน 48 ,614,789 ตัว(4.40 %) ผู้ประกอบการเลี้ยงไก่เนื้อ จ. ชลบุรี จำนวน 282,729,560 ตัว(25.62 %) ผู้ประกอบการเลี้ยงไก่เนื้อ จ. ปราจีนบุรี จำนวน 82,370,978 ตัว(7.47 %) 5. ผู้ประกอบการเลี้ยงไก่เนื้อ จ. ฉะเชิงเทรา จำนวน 96,946,549 ตัว(8.78%) ข้อมูลจากสำนักเศรษฐกิจการเกษตร

  2. ภาพรวมการทำธุรกิจรวบรวมของสกต.และธุรกิจไก่เนื้อของบริษัท สหฟาร์ม จำกัด เกษตรกรผู้ผลิตทั้งประเทศ 286,189 ราย (100%) เป็นลูกค้า ธ.ก.ส. ประมาณ 109,194 ราย (38%) สกต.รวบรวมผลผลิตปี 2555 264,898 ตัน (2,600 ลบ.) คิดเป็น5.29 %ของผลผลิตทั้งประเทศ สินเชื่อเพื่อการผลิตข้าวโพดทั้งประเทศ 31,160 ล้านบาท (100%) สินเชื่อเพื่อการผลิตข้าวโพดทั้งประเทศของ ธ.ก.ส. 16,209ล้านบาท( 51.20%) สนจ. เลย. 712 ล้านบาท สนจ. เพชรบูรณ์ 947 ล้านบาท สนจ. ลพบุรี 166 ล้านบาท เกษตรกร เลย/เพชรบูรณ์ สินเชื่อเพื่อการผลิตไก่เนื้อทั้งประเทศ ล้านบาท สนจ. เพชรบูรณ์ 4.690 ล้านบาท สนจ. ลพบุรี 1.020 ล้านบาท สกต.เลย 22,964 ตัน 183 ลบ. 673 ราย สกต.เพชรบูรณ์ 2,700 ตัน 17.12 ล้านบาท 75 ราย ผลิตส่งให้รายอื่น 35 % 140 ราย Contract Farming 400 ราย / 38.4 ล้านตัว/ปี ทุนการผลิต 209 ลบ./คราว 350,000 ตัว/วัน ลดลง50% 85,000 ตัน มูลหนี้ค้าง 59.6 ลบ. มูลหนี้ค้าง 4.8 ลบ. ส่งออก 50,000 ลบ. ชะลอการผลิต 65% (260 ราย) โรงงานชำแหละไก่ และแปรรูป (สหฟาร์ม) โรงงานรับซื้อผลิตอาหารสัตว์ (สหฟาร์ม) บริโภค ในประเทศ โรงงานเลี้ยงไก่ (ใหญ่) ลดกำลังการผลิต 50 % คงเหลือโดยประมาณ 107 ล้านตัว/ปี โรงงานเลี้ยงไก่(ใหญ่) กำลังการผลิต 214 ล้านตัว/ปี ทุนการผลิต 1,163 ลบ./คราว บ. สหอินเตอร์ ฟูดส์ บ. สหฟาร์ม กทม. 25,000 ตัน 1 โรงงานนารายณ์อาหารสัตว์ จ .ลพบุรี 540,000 ตัน (45% ) มูลค่า 4,860 ลบ.(9,000 /ตัน) 2. บ. โกลเด้นไลน์ บิสซิเนส จำกัด เพชรบูรณ์ 660,000 ตัน ( 55% ) มูลค่า 5,940 ลบ(9,000 /ตัน) โรงงาน จ.ลพบุรี จ.นครนายก จ.ชลบุรี จ. เพชรบูรณ์(บางส่วน)

  3. ข้อมูลด้านการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปีการผลิต 2556 พื้นที่การผลิตทั้งประเทศ 7.154 ล้านไร่ ผลผลิตรวมทั้งประเทศ 4.985 ล้านตัน ปริมาณความต้องการใช้ 4.740 ล้านตัน ผลผลิตเฉลี่ยรวมทั้งประเทศ 697 ก.ก./ไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 6.35 บ./ก.ก. (4,425บ./ไร่) สินเชื่อการผลิตทั้งประเทศ 31,660 ลบ. (100 %) สินเชื่อเพื่อการผลิต ธ.ก.ส. 16,209 ลบ. ( 51.20%) เกษตรกรผลิตทั้งประเทศ 286,189 ราย( 100 %) เกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. 109,194 ราย (38 %)

  4. ผลกระทบต่อลูกเล้า Contract Farming ของ สหฟาร์ม ทำการผลิตไก่เนื้อส่งให้ผู้ใช้รายอื่น เช่น ซันฟูตส์ คาร์กิลล์เบทาโกร และผู้ค้าท้องถิ่น 35 % 140 ราย (รายละประมาณ 12,000 ตัว/รอบ / ลดกำลังการผลิตลง) ผลผลิตไก่ประมาณ 10 ล้านตัว ต้นทุนการผลิต 329 ล้านบาท สถานการณ์ปกติ Contract Farming 400 ราย / 38.4 ล้านตัว/ปี ทุนการผลิต 209 ลบ./รอบ ชะลอการผลิต 65% (260 ราย) เนื่องจากบริษัทไม่ส่งลูกไก่/อาหารไก่/ค้างชำระ กำลังการผลิตหายไปประมาณ 19 ล้านตัว (คิดเป็นมูลค่า 855 ล้านบาท คำนวณจาก ไก่เนื้อน้ำหนัก 2 ก.ก. ราคาจำหน่าย (หน้าฟาร์ม สหฟาร์ม ก.ก.ละ 45 บาท ต้นทุนการผลิต 32.60 บาท ข้อมูลจากการสอบถาม บ. สหฟาร์ม

  5. ผลกระทบการผลิตไก่เนื้อของ บริษัท สหฟาร์ม สถานการณ์ปกติ สถานการณ์ปัจจุบัน โรงงานเลี้ยงไก่ (ใหญ่) ลดกำลังการผลิต 50 % คงเหลือโดยประมาณ 107 ล้านตัว/ปี โรงงานเลี้ยงไก่ (ใหญ่) กำลังการผลิต 214 ล้านตัว/ปี ทุนการผลิต 1,163 ลบ./คราว โรงงาน จ.ลพบุรี จ.นครนายก จ.ชลบุรี จ. เพชรบูรณ์(บางส่วน) ข้อมูลจากการสอบถาม บ. สหฟาร์ม

  6. ลูกเล้า( CONTRACT FARMING ) ของ บ. สหฟาร์ม จำนวน 400รายทั่วประเทศ ลูกเล้าต้องลงทุนในการสร้างโรงเรือน+ ค่าแรงงาน ลูกเล้าต้องทำสัญญากับบริษัท(วางเงินประกัน )และมีภาระผูกพัน ในการขายผลผลิต 4 กำลังการผลิต 12,000 – 16,000 ตัว/คราว (รายย่อย) ระยะเวลาในการเลี้ยงต่อคราว 40-45 วัน เลี้ยงไก่ 1 คราว ต้องพักเล้าอย่างน้อย18-20 วัน 1ปี สามารถผลิตไก่เนื้อได้ 6คราว ผลผลิตไก่ใน1ปี (6รอบ) 38.4 ล้านตัว (88.32ล้าน ก.ก./ปี 9 ไก่ 1 ตัวมีน้ำหนักเฉลี่ย 2.0-2.3กิโลกรัม

  7. ต้นทุนการผลิตไก่ของลูกเล้า( CONTRACT FARMING ) ของ บ. สหฟาร์ม ต้นทุนการผลิตไก่ ของเกษตรกรรายย่อย (กำลังการผลิต 16,000 ตัว) ประมาณ 1,200,000 บาท /คราว หรือ 32.60 บาท/กิโลกรัม ประกอบด้วย 1 ค่าลูกไก่ 8 บาท/ตัว (128,000 บาท) ค่าอาหารไก่ (0-10 วัน) 20.41 บาท/ตัว (326,560 บาท) ค่าอาหารไก่ (11-25 วัน ) 23.22 บาท/ตัว (371,520 บาท) ค่าอาหารไก่ (26-45 สัปดาห์ ) 19.14 บาท/ตัว (306,240 บาท) ค่าแรงงาน1.50 บาท/ตัว (24,000 บาท) ค่าโรงเรือน/อุปกรณ์ 1.08 บาท/ตัว (17,280 บาท) ค่าน้ำ/ไฟฟ้า 0.58 บาท/ตัว (9,280 บาท 8 ค่าเสียโอกาสทางการเงิน 0.90 บาท (14,400 บาท)

  8. รายชื่อเกษตรกรผลิตไก่เนื้อลูกเล้า ( CONTRACT FARMING )ของ บ. สหฟาร์ม รายชื่อเกษตรลูกค้า ธ.ก.ส. จ.เพชรบูรณ์ ที่เป็นลูกเล้าของ สหฟาร์ม และบริษัทค้างชำระประมาณ 1.35 ลบ. (รายย่อย กำลังการผลิตประมาณ 12,000 – 16,000 ตัว/คราว) 1 นายอำนาจ คำจันทร์ 081-8875809 (ค้าง 200,000 บาท) 2 นายประเสริฐ ภาศรีชัย 088-8146165 (ค้าง 647,784 บาท) 3 นายสวัสดิ์ แก้วจันทร์ 089-5672461 (ค้าง 430,000 บาท) 4 นางวิลัย ปานจิตพิพัฒน์ 089-9572662 (ค้าง 70,000 บาท) รายชื่อเกษตรลูกค้า ธ.ก.ส. จ.ลพบุรี ที่เป็นลูกเล้าของ สหฟาร์ม และบริษัทค้างชำระ ประมาณ 1.2 ลบ. (รายย่อย กำลังการผลิตประมาณ 12,000 – 16,000 ตัว/คราว) 1 นางสุนีย์ ลือคารา 084-7755116 (ค้าง 400,000 บาท) 2 นายวิชาญ จ่ามั่น 089-4938283 ส่งให้ บ.ซันฟูดส์ แทน 3 นายธนวัฒน์ สะดวกดี 085-1745817 (ค้าง800,000บาท) 4 นายทรงยศ จันทร์ศิริ081-9915546 ส่งให้บ.คาล์กิลล์ ประเทศไทย แทน 5 นางบุญช่วย สรรพสิทธิ์ 089-0854978 ส่งให้บ.ซันฟูดส์ แทน

  9. มาตรการจัดการผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ.เลย/เพชรบูรณ์ ปี 2556 ด้านการจัดการในระดับเกษตรกร ต้องพัฒนาคุณภาพผลผลิตในระดับเกษตรกรโดยเฉพาะการเก็บเกี่ยวเมื่อครบอายุ ลดความชื้นโดยการตาก การสีฝักแห้งเพื่อลดเมล็ดแตก คัดแยกฝักเสียเป็นเชื้อราก่อนการสี และการเป่าสิ่งเจือปน (การอบรมให้ความรู้ ศึกษาดูงาน) ด้านการจัดการในระดับสถาบันการเกษตร (สกต) ต้องส่งเสริมการลงทุนในเครื่องมือเพื่อพัฒนาคุณภาพผลผลิตเช่นการตาก อบลดความชื้นเพื่อให้ผลผลิตเป็นไปตามที่ตลาดต้องการ (เกรดโรงงานอาหารสัตว์ เบอร์ 2 ) (เงินกู้เพื่อการลงทุน) บริหารจัดการในระบบเครือข่าย ในการปรับปรุงคุณภาพผลผลิต (ค่าตอบแทนในลักษณะจูงใจ) สนับสนุนการส่งเสริมการตลาดได้แก่ จูงใจเป้าหมายการรวบรวม สนับสนุนการลดต้นทุนเช่นการสนับสนุนค่าขนส่ง (ค่าตอบแทน สกต.)

More Related