1 / 72

รอบที่ 1/57 วันที่ 5 มีนาคม 2557

รอบที่ 1/57 วันที่ 5 มีนาคม 2557. หน่วยบริการเครือข่าย รพ.ตรัง. รพศ.ตรัง 549 เตียง ศสม . 5 แห่ง รพ.สต. 18 แห่ง. ปิ รามิดประชากร ลักษณะคล้ายทรงกรวยปากแคบ 0-14 ปี 20.47 % 15-44 ปี 46.73 % > 45 ปี 32.80 % ( เป็นผู้สูงอายุ 12.74 %). ประชากร ปี 2556

maire
Download Presentation

รอบที่ 1/57 วันที่ 5 มีนาคม 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รอบที่ 1/57 วันที่ 5 มีนาคม 2557

  2. หน่วยบริการเครือข่าย รพ.ตรัง รพศ.ตรัง 549 เตียง ศสม. 5 แห่ง รพ.สต. 18 แห่ง

  3. ปิรามิดประชากร ลักษณะคล้ายทรงกรวยปากแคบ 0-14 ปี 20.47% 15-44 ปี 46.73% > 45 ปี 32.80% (เป็นผู้สูงอายุ 12.74%) ประชากร ปี 2556 อัตราเพิ่ม ร้อยละ 0.40 (364 คน) อัตราตาย 4.97 : 1,000 (444 คน) อัตราเกิดมีชีพ 9.04 : 1,000 (808 คน)

  4. สาเหตุการตาย 10 อันดับแรกของประชากร อ.เมืองตรัง ปี 2556 แหล่งข้อมูล : จากมรณบัตร ข้อมูลด้านสาธารณสุข สสจ.ตรัง เมื่อ 6 มิ.ย.56 ;http://www.tro.moph.go.th/data2data.htm

  5. สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอก อำเภอเมืองตรัง จำแนกตามกลุ่มโรค 21 กลุ่มโรค (รง.504) ปีงบประมาณ 2556

  6. กราฟเปรียบเทียบ 5 อันดับโรคผู้ป่วยนอกที่มารักษาที่ รพ.ตรัง และ อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมืองตรัง ปี 2556 (จำแนกตาม ICD 10) แหล่งข้อมูล : จาก ICD 10 : งานเวชสารสนเทศ รพ.ตรัง

  7. กราฟเปรียบเทียบ 5 อันดับโรคผู้ป่วยในที่เข้ารับการรักษาเป็นโรคหลัก (Type 1) ณ รพ.ตรัง และ อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมืองตรัง ปี 2556 (จำแนกตาม ICD 10) แหล่งข้อมูล : จาก ICD 10 : งานเวชสารสนเทศ รพ.ตรัง

  8. กราฟเปรียบเทียบ 5 อันดับโรคผู้ป่วยในที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตมากที่สุด ของ รพ.ตรัง และ อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมืองตรัง ปี 2556 (จำแนกตาม ICD 10) แหล่งข้อมูล : จาก ICD 10 : งานเวชสารสนเทศ รพ.ตรัง

  9. อัตราส่วนการใช้บริการผู้ป่วยนอกที่หน่วยบริการปฐมภูมิ กับ ที่ รพ.แม่ข่าย เป้าหมาย > 0.88 • ผลงานไตรมาสที่ 1-57 ร้อยละ 0.59 • หน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์ มี 6 แห่ง คือ • รพ.สต.นาพละ • รพ.สต.นาบินหลา • รพ.สต.บ้านน้ำผุด ต.น้ำผุด • รพ.สต.น้ำผุด • รพ.สต.นาท่ามเหนือ • รพ.สต.บ้านนาท่าม ต.นาท่ามใต้

  10. เตียงผู้ป่วยใน 549 เตียง - เตียงผู้ป่วยสามัญ 447 เตียง - เตียงผู้ป่วยพิเศษ 102 เตียง ห้องผ่าตัด 8 ห้อง เตียงผู้ป่วยหนัก 22 เตียง (ICU surg 8 ,ICU Med 8 ,NICU 7) จำนวนเตียง ปีงบฯ 57 = 549 เตียง ปีงบฯ 56 = 535 เตียง ปีงบฯ 55 = 535 เตียง ปีงบฯ 54 = 511 เตียง ปีงบฯ 53 = 472 เตียง

  11. 1. การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพตามกลุ่มวัย 5 กลุ่ม - กลุ่มสตรีและเด็ก (0-5 ปี) - กลุ่มเด็กวัยเรียน - กลุ่มวัยรุ่น - กลุ่มวัยทำงาน - กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ กระบวนการและผลลัพธ์การดำเนินงานปัญหาสุขภาพ ในพื้นที่

  12. 1.1 กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ; • การตายด้วยโรคมะเร็ง, โรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคหลอดเลือดในสมอง • เป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ต่อเนื่องมาอย่างน้อย 5 ปี • 2) การป่วยด้วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มสูงขึ้น (ความแออัด รพ.ตรัง) • 3) การบาดเจ็บ-ตายด้วยอุบัติเหตุจราจร (สาเหตุการตายลำดับ 3 ต่อเนื่อง 5 ปี) • มารดาตายคลอด 1-2 คน/ปี ต่อเนื่องทุกปี, แม่ตั้งครรภ์ก่อนอายุ 20 ปี • เกินเกณฑ์มาตรฐาน ความครอบคลุมของการดูแลก่อนคลอดต่ำกว่าเกณฑ์ • เด็กมีปัญหาฟันผุ และโรคอ้วน(เพิ่มสูงขึ้น) มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ • ระดับเพชรไม่ครอบคลุม • 6) การป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสูงกว่าเกณฑ์ • 7) การระบาดของโรคมือเท้าปากสูงกว่าเกณฑ์

  13. 1.1 กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • ผลการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา • โรคหัวใจและหลอดเลือด • โรคมะเร็ง • โรคเบาหวาน • โรคความดันโลหิตสูง • อุบัติเหตุจราจร • โรคไข้เลือดออก • เอดส์ • แม่ตั้งครรภ์ก่อนอายุ 20 ปี • โรคมือเท้าปาก • มารดาตายคลอด • วิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของปัญหาตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข • ขนาดของปัญหา • ความรุนแรงของปัญหา • ความยากง่ายในการแก้ปัญหา • ความยอมรับในการแก้ปัญหาของประชาชน

  14. แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เครือข่ายบริการสุขภาพ รพ.ตรัง

  15. แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เครือข่ายบริการสุขภาพ รพ.ตรัง

  16. แผนการใช้งบประมาณส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ได้รับการสนับสนุนจากเทศบาลแผนการใช้งบประมาณส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ได้รับการสนับสนุนจากเทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบล อ.เมืองตรัง

  17. 1.1 กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • การบริหารจัดการระบบข้อมูล : ใช้โปรแกรม Hosxp PCU • การนำแผนสู่การปฏิบัติ ; ชี้แจงแผนงาน, กระตุ้นให้ Project Manager จัดทำโครงการ • การกำกับติดตามประเมินผล ; ใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารยุทธศาสตร์จังหวัดตรัง (อยู่ระหว่างการบันทึกแผนงาน/โครงการและกำหนดรหัสผู้ประสานงานโครงการ) และการรายงานผลการดำเนินงานต่อที่ประชุม CUP Board

  18. 1.2 ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพตามกลุ่มวัย 5 กลุ่ม 1.2.1กลุ่มสตรีและเด็ก (0-5 ปี) แผน 1) พัฒนาทักษะการดูแลโรคทางอายุรกรรม 2) กำหนดแนวทางปรึกษาแพทย์อายุรกรรม

  19. 1.2 ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพตามกลุ่มวัย 5 กลุ่ม 1.2.1กลุ่มสตรีและเด็ก (0-5 ปี) แผน 1) พัฒนางานโรงเรียนพ่อแม่ในคลินิกสุขภาพเด็กดีให้ครบทุกช่วงวัย

  20. 1.2.1 กลุ่มสตรีและเด็ก (0-5 ปี) หน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์แล้ว 12 แห่ง หน่วยงานที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ 10 แห่ง ปัญหาการบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน และวันให้บริการวัคซีนบางหน่วยบริการน้อย

  21. 1.2.2 กลุ่มเด็กวัยเรียน 5-14 ปี

  22. 1.2.3 กลุ่มวัยรุ่น (15-21 ปี) แผน 1) ให้ความรู้ และทักษะชีวิต การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แก่นักเรียน 2) โครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารก เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ และคลอดก่อนกำหนด

  23. 1.2.3 กลุ่มวัยรุ่น (15-21 ปี)

  24. 1.2.4 กลุ่มวัยทำงาน (15-59 ปี)

  25. 1.2.4 กลุ่มวัยทำงาน (15-59 ปี) แผน 1) โครงการ Health promotion 2) เปิดบริการห้องตรวจสวนหัวใจ 3) อายุรแพทย์หัวใจเป็นผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจทั้งหมด

  26. 1.2.5 กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ(60 ปีขึ้นไป) ผู้พิการผู้สูงอายุไม่สะดวก ถนัด ใช้ขาเทียม ; ขาข้างเดียวก็ใช้ชีวิตอยู่ได้แล้ว

  27. 2. การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถ เข้าถึงบริการได้ ผลการดำเนินงาน Service Plan การจัดบริการร่วม ผลการจัดบริการเฉพาะ

  28. 2.1 ผลการดำเนินงาน Service Plan (10 สาขา) 2.1.1การพัฒนาระบบบริการโรคหัวใจ

  29. 2.1.2 การพัฒนาระบบบริการโรคมะเร็ง

  30. 2.1.3 การพัฒนาระบบบริการอุบัติเหตุ

  31. 2.1.4 การพัฒนาระบบบริการทารกแรกเกิด แผน 1) พัฒนามาตรฐานการดูแล เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการใช้ Early Nasal CPAP, การใช้สารลดแรงตึงผิว, ทักษะการใช้เครื่องช่วยหายใจความถี่สูง 2) พัฒนาการส่งต่อ, fast track newborn

  32. 2.1.4 การพัฒนาระบบบริการทารกแรกเกิด

  33. 2.1.4 การพัฒนาระบบบริการทารกแรกเกิด

  34. 2.1.5 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช

  35. 2.1.6 การพัฒนาระบบบริการ 5 สาขาหลัก

  36. 210. ร้อยละของอำเภอที่มี DHS ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ใช้ SRM หรือเครื่องมืออื่น ๆ ในการทำแผนพัฒนาสุขภาพ 2.1.7 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวม คณะทำงาน DHS อ. เมืองตรังได้ทำการประชาคมและคัดเลือกเรื่อง อำเภอเมืองตรังอ่อนหวาน สำหรับขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพตาม ODOP ปัญหาอุปสรรค 1) การนัดเพื่อดำเนินการทำได้ยาก เนื่องจากคณะกรรมการมีภารกิจประจำมาก 2) ภาคส่วนอื่นๆ เข้ามามีบทบาทน้อยมาก 3) งบประมาณไม่เพียงพอ ทำให้ต้องลดกลุ่มเป้าหมายลง (ได้รับงบประมาณบางส่วนจากเทศบาลนครตรัง)

  37. 1) 2.1.8 การพัฒนาระบบบริการทันตกรรม

  38. 2.1.9.1 การพัฒนาระบบบริการโรคไต

  39. 2.1.9.2 การพัฒนาระบบบริการโรคตา ปัญหา : - เครื่องถ่ายภาพจอประสาทตามี 2 เครื่อง (หมุนเวียน รพช.) แผน : - ผ่าตัดตาเคลื่อนที่

  40. 2.1.10การพัฒนาระบบบริการ NCD แผน 1) ให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ. 2 ส. 2) กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มผู้ป่วย 3) โครงการคัดกรองโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ

  41. 2.1.10การพัฒนาระบบบริการ NCD

  42. 2.1.10 การพัฒนาระบบบริการ NCD

  43. 218. ผลการจัดบริการร่วม, ผลการจัดบริการเตียงร่วม และ ผลการจัดบริการเครื่องมือแพทย์ร่วม ; 2.2 การจัดบริการร่วม ระดับเขต : Neurosurg รพ.ตรัง รับ refer จากจังหวัดพัทลุง และจังหวัดสตูล ระดับจังหวัด : 1) ใช้เครื่องมือร่วมกันในการคัดกรองสายตา 2) จักษุแพทย์ รพ.บ้านแพ้ว ช่วยผ่าตัดตา 3) CT MRI Mammogram 4) รพศ.ตรังเป็น center Lab ทุกรพช. 5) 3 zonining ในการทำหมัน 6) บริการล้างไตที่รพ.เอกชน วัฒนแพทย์ รวมแพทย์ ระดับอำเภอ : แพทย์ พยาบาล เภสัช ทันตกรรม ทันตภิบาล หมุนเวียน ในรพสต.

  44. 218. ผลการจัดบริการร่วม, ผลการจัดบริการเตียงร่วม และ ผลการจัดบริการเครื่องมือแพทย์ร่วม ; 2.2 การจัดบริการร่วม แผนบริการร่วมอนาคต ระดับเขต : PCI ผู้ป่วยสามารถตรวจสวนหัวใจเพิ่มขึ้นอีก1แห่งในเขต12 (เดิมมีรพ.มอ.หาดใหญ่ กรุงเทพ หาดใหญ่) ระดับจังหวัด : 1) Incubator 3 zoning 2) Sub acute ward จิตเวชที่รพ.นาโยง 3) ศูนย์กายภาพบำบัดที่รพ.นาโยง 4) ศูนย์ล้างไตที่รพ.ห้วยยอด

  45. 2.3.1 ผลการจัดบริการเฉพาะ ปัญหา ; สถานที่/ยาสมุนไพรแพงกว่ายาแผนปัจจุบัน แผน 1) เปิดให้บริการ สปาหน้า ช่วงเที่ยง ตั้งแต่ พ.ค.57, ตั้งสูตรยาสมุนไพร 2) นับบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาการแพทย์แผนไทยที่ห้องตรวจโรคทั่วไป ซึ่งเปิดให้บริการตั้งแต่เมษายน 2556 (เดิมนับรวมในผู้ป่วยนอก แผนปัจจุบัน)

  46. 2.3.1 ผลการจัดบริการเฉพาะ

  47. 2.3.1ผลการจัดบริการเฉพาะ2.3.1ผลการจัดบริการเฉพาะ

  48. 2.3.1ผลการจัดบริการเฉพาะ2.3.1ผลการจัดบริการเฉพาะ

  49. 228. ร้อยละของอำเภอที่มีทีม SRRT คุณภาพ 2.3.1 ผลการจัดบริการเฉพาะ ผลการประเมินโดย สคร.12 สงขลา เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2555 SRRT อำเภอเมืองตรัง ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับพื้นฐาน ผลการประเมิน มีอายุ 3 ปี • แผนพัฒนา • พัฒนาศักยภาพทีม SRRT ในการสอบสวนโรคและ • ฝึกทักษะการเขียนรายงานการสอบสวนโรค • 2) ซ้อมแผนเตรียมรับการระบาดของโรคติดต่อ

  50. 2.3.1 ผลการจัดบริการเฉพาะ

More Related