1 / 42

แรงงานต่างด้าว (Migrant Workers)

แรงงานต่างด้าว (Migrant Workers). เรือเอกนายแพทย์อติพงษ์ สุจิรัตน์ แพทย์ประจำบ้านอาชีวเวชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. dr_atipong@hotmail.com. เนื้อหา. แรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติ. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง. แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย. ความเสี่ยงและปัญหาของแรงงานต่างด้าว.

allie
Download Presentation

แรงงานต่างด้าว (Migrant Workers)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แรงงานต่างด้าว(Migrant Workers) เรือเอกนายแพทย์อติพงษ์ สุจิรัตน์ แพทย์ประจำบ้านอาชีวเวชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ dr_atipong@hotmail.com

  2. เนื้อหา แรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย ความเสี่ยงและปัญหาของแรงงานต่างด้าว การเข้าถึงบริการทางสุขภาพของแรงงานต่างด้าว

  3. แรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติแรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติ • Migrant workers are a key sector of the work force throughout the world • Migrant working population = mismatch between job availability and worker location • Within-country migration ; result of urbanization and industrialization • 35 million people migration / year • 125 million people live outside of their country of origin • Migrant workers ≠ Refugees

  4. แรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติแรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติ Adverse health effects • New infectious diseases • Thai & Brazil : Malaria • USA : Tuberculosis, parasitic & other infectious diarrhea and hepatitis A • Western Europe : Tuberculosis (Extrapulmonary) • Psychological and other stressors : Urbanization, life-style changes • Increase average blood pressure • Increase cardiovascular mortality • Inadequate follow-up for both infectious and chronic diseases

  5. แรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติแรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติ Adverse health effects • Children • Low rate of immunization • Poor diets • Women • Low rate of prenatal screening • Low rate of Pap smear screening • Men • Alcohol abuse • Sexual transmitted diseases • Violence

  6. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2521 • พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่2) พ.ศ. 2544

  7. พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าวพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว • มาตรา 5 “คนต่างด้าว” หมายความว่า บุคคลธรรมดาซึ่งไม่มีสัญชาติไทย “ทำงาน” หมายความว่า การทำงานโดยใช้กำลังกายหรือ ความรู้ด้วยประสงค์ค่าจ้างหรือประโยชน์อื่นใด หรือไม่ก็ตาม

  8. พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าวพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว • ประเภทของคนต่างด้าว ประเภทตลอดชีพ คนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมาย ประเภทชั่วคราว ประเภทส่งเสริมการลงทุน ชนกลุ่มน้อย คนต่างด้าวที่เข้าเมืองผิดกฎหมาย สัญชาติพม่า ลาว กัมพูชา

  9. คนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมายคนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมาย ประเภทตลอดชีพ • คนต่างด้าวที่ได้รับใบอนุญาตทำงานที่มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองและทำงานอยู่แล้วก่อนวันที่ 13 ธันวาคม 2515 เท่านั้น

  10. คนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมายคนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมาย ประเภทชั่วคราว • คนต่างด้าวที่มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร หรือได้รับอนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว(Non-Immigrant Visa) ตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองมาตรา 7โดยมิใช่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาในฐานะนักท่องเที่ยวหรือผู้เดินทางผ่าน

  11. คนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมายคนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมาย ประเภทส่งเสริมการลงทุน • คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงานในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุนหรือตามกฎหมายอื่นที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับคนต่างด้าวในลักษณะเดียวกัน ตามมาตรา 10ได้แก่ • พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 • พระราชบัญญัติการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2514 • พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522

  12. คนต่างด้าวที่เข้าเมืองผิดกฎหมายคนต่างด้าวที่เข้าเมืองผิดกฎหมาย • มาตรา 12 (1) คนต่างด้าวที่ถูกเนรเทศตามกฎหมายว่าด้วยการเนรเทศ (2) คนต่างด้าวที่เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง และอยู่ในระหว่างการส่งกลับออกนอกราชอาณาจักร แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ชนกลุ่มน้อยบนพื้นที่สูง และคนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองที่ได้รับการผ่อนผันตามมติคณะรัฐมนตรี ได้แก่ คนต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา (3) คนต่างด้าวที่เกิดในราชอาณาจักรแต่ไม่ได้รับสัญชาติไทย (4) คนต่างด้าวโดยผลของการถูกถอนสัญชาติ

  13. อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้ • คนต่างด้าวประเภทมาตรา 12:(1),(2-ชนกลุ่มน้อย),(3),(4) ทำงานได้ 27 อาชีพ • งานช่างย้อมผ้า • งานช่างตัดเย็บเสื้อผ้า ยกเว้น เสื้อสตรี • งานซักรีดเสื้อผ้า • งานทำสวนผักและผลไม้ • งานเลี้ยงสัตว์ ยกเว้น งานเลี้ยงไหม • งานขายปลีกสินค้าที่มิใช่เวชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ กล้องถ่ายภาพนิ่ง กล้องถ่ายภาพยนตร์ อาวุธปืนหรือวัตถุระเบิด และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเครื่องอะไหล่ • งานขายอาหารหรือเครื่องดื่ม • งานผลิตอาหารหรือเครื่องดื่ม • งานช่างซ่อมจักรยาน • งานช่างประกอบและซ่อมเบาะรถ • งานช่างประกอบและซ่อมตัวถัง • งานช่างประกอบและซ่อมท่อไอเสีย • งานบัดกรีโลหะแผ่นด้วยมือ • งานช่างไม้เครื่องเรือน • งานช่างไม้ก่อสร้างอาคาร • งานเลื่อยไม้ในงานแปรรูปไม้ • งานช่างปูน • งานช่างทาสี • งานช่างประกอบและซ่อมประตูหน้าต่าง • งานช่างติดตั้งมุ้งลวด

  14. อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้ • คนต่างด้าวประเภทมาตรา 12:(1),(2-ชนกลุ่มน้อย),(3),(4) ทำงานได้ 27 อาชีพ (ต่อ) • งานช่างประกอบและซ่อมรองเท้า • งานช่างซ่อมนาฬิกา ปากกา และแว่นตา • งานช่างลับมีด และของมีคมอื่นๆ • งานช่างทำกรอบรูป • งานช่างเครื่องทอง เครื่องเงิน หรือเครื่องโลหะมีค่าอื่นๆ • งานช่างทอถักไหมพรมและทอผ้าด้วยมือ ยกเว้น งานทอผ้าไหมและงานทำผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเส้นไหม • งานกรรมกร

  15. อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้ • คนต่างด้าวประเภทมาตรา 12: (2-คนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา) อนุญาตให้ทำงานได้ใน 2 อาชีพ คือ 1. งานรับใช้ในบ้าน 2. งานกรรมกร

  16. 2536 2542 2538 เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เริ่มลดลง เพิ่มอย่างรวดเร็ว 30,000 คน 700,000 คน 664,000 คน ลำดับเหตุการณ์แรงงานต่างด้าวในไทย 2532 พายุเกย์ 2540 วิกฤตเศรษฐกิจ (ประมาณ 1 ล้านคน) จดทะเบียน แรงงานข้ามชาติ 2547 2550 ขึ้นทะเบียน ปัจจุบัน 1,284,920 คน อาจถึง 2 ล้านคน

  17. แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย

  18. แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย

  19. แรงงานจากประเทศพม่า • ระยะแรกเริ่มจากงานประมง เนื่องจากชาวพม่ามีพื้นฐานการดำรงชีวิตและทำงานประมงได้เป็นอย่างดี ต่อมาอพยพเข้ามาในเขตภาคกลาง(งานด้านเกษตรกรรม) และภาคตะวันออก(งานร้านอาหาร) • แรงงานชาวพม่าในแถบภาคเหนือมักทำงานรับจ้างอิสระ(บางส่วนเดินทางไปกลับ), แรงงานสตรีมักทำงานรับใช้ตามบ้านในพื้นที่ภาคตะวันตก และกรุงเทพฯ • โรงงานอาหารทะเลแช่แข็ง • สวนยางพารา • ลูกเรือประมง • สวนกาแฟ สวนปาล์ม ไร่อ้อย • โรงงานปลาป่น • กรรมกรก่อสร้าง • เลี้ยงกุ้ง • เลี้ยงสุกร • โรงงานทำโอ่ง และทำอิฐ • งานรับใช้ในบ้าน • งานบริการตามร้านอาหาร • ขายปลีกหน้าร้าน • งานเจียระไนอัญมณี • งานในห้องเย็น • งานในเหมืองแร่ และเหมืองหิน • โรงงานรองเท้ากีฬา

  20. แรงงานจากประเทศกัมพูชาแรงงานจากประเทศกัมพูชา • ระยะแรกเป็นแรงงานจากค่ายผู้อพยพลี้ภัย หลบหนีเข้ามาหางานทำแล้วกลับเข้าไปอยู่ในค่ายเป็นครั้งคราว • บางคนอาศัยอยู่บริเวณชายแดน หรือมีสองสัญชาติเพราะมีญาติพี่น้องอยู่ทั้งฝั่งไทยและกัมพูชา • เนื่องจากแรงงานชาวกัมพูชาส่วนใหญ่ต้องเผชิญภาวะสงครามมานาน จึงไม่ค่อยเลือกงานมากนัก งานส่วนใหญ่จึงใช้แรงกาย และอยู่ในพื้นที่สกปรก • ลูกเรือประมง • ขนถ่ายสินค้าทางน้ำ • กรรมกรก่อสร้าง • เลี้ยงไก่ • โรงงานอุตสาหกรรมอาหารทะเล • โรงสีข้าว • งานรับใช้ในบ้าน • งานบริการตามร้านอาหาร • สวนยางพารา สวนผลไม้ สวนผัก

  21. แรงงานจากประเทศลาว • มีจำนวนไม่มาก เนื่องจากไม่มีปัญหาทางการเมืองเหมือนพม่าหรือกัมพูชา แต่ส่วนหนึ่งเข้ามาประเทศไทยเนื่องจากได้รับข่าวสารทางวิทยุและโทรทัศน์จึงต้องการเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวโดยอาศัยวิธีการลักลอบเข้ามาทำงานด้วย • แรงงานชาวลาวสามารถสื่อสารภาษาไทยได้ดีจึงทำให้แยกแยะกับคนไทยได้ยาก แรงงานมักทำอาชีพในจังหวัดชายแดนภาคเหนือ(งานรับจ้างทำสวน) และภาคอีสาน(งานโรงงาน และงานรับใช้ในบ้าน) • ลูกเรือประมง • งานสวนผัก ผลไม้ • งานในโรงงานอุตสาหกรรม • งานรับใช้ในบ้าน

  22. แรงงานจากประเทศบังคลาเทศ อินเดีย และปากีสถาน • ส่วนใหญ่เป็นแรงงานที่เคยเข้ามาทำงานในประเทศไทย • แรงงานจากบังคลาเทศมักทำงานเป็นลูกเรือประมงมาก่อน ส่วนแรงงานอินเดียและปากีสถานมักทำงานตามร้านขายเครื่องจักร และอุปกรณ์ในย่านคลองถม กรุงเทพฯ บางส่วนเข้ามาขายอาหารรถเข็น • มักเข้ามาทำงานแบบเป็นครอบครัว แตกต่างจากประเทศอื่นที่มักเข้ามาตัวคนเดียว • กรรมกรในร้านขายเครื่องจักร • ลูกเรือประมง • อู่ต่อเรือ • ยามเฝ้าโกดังสินค้า • ขายอาหารแบบรถเข็น

  23. แรงงานจากประเทศจีนตอนใต้แรงงานจากประเทศจีนตอนใต้ • เข้ามาทำงานในอาชีพบริการมากกว่าแรงงานประเทศอื่น และแรงงานบางส่วนถูกหลอกลวงมาจากนายหน้าหางานในประเทศจีน • มักเป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และทำงานในแถบจังหวัดที่มีการใช้ภาษาจีนมาก เช่น ในภาคใต้ และกรุงเทพฯ • แรงงานประเทศนี้ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงานได้เหมือนแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านของไทย แต่เนื่องจากรูปร่างหน้าตาใกล้เคียงคนไทย จึงทำให้ยากแก่การตรวจสอบ • นักร้อง และพนักงานบริการในร้านอาหาร • ขายของหน้าร้านค้าปลีก

  24. เหตุจูงใจแรงงานต่างด้าวเหตุจูงใจแรงงานต่างด้าว • ความแตกต่างในด้านความเจริญทางเศรษฐกิจทางด้านวัตถุ • ความแตกต่างของระดับค่าจ้างแรงงาน • ปัญหาการสู้รบบริเวณชายแดน • ความไม่สมดุลย์ระหว่างอุปสงค์และอุปทานของแรงงานในอุตสาหกรรมการผลิตบางประเภทของไทย • อิทธิพลของสื่อมวลชนทางโทรทัศน์และวิทยุ • เจ้าหน้าที่ของไทยบริเวณชายแดนมีไม่เพียงพอ • ขาดรั้วป้องกันชายแดน

  25. ผลดีในการใช้แรงงานต่างด้าวผลดีในการใช้แรงงานต่างด้าว ไม่เลือกงานทำให้นายจ้างชอบ ต้นทุนการผลิตต่ำ ผลดี บรรเทาการขาดแคลนแรงงานในบางกิจการ

  26. ผลเสียในการใช้แรงงานต่างด้าวผลเสียในการใช้แรงงานต่างด้าว การแย่งใช้สาธารณูปโภค การแย่งงานคนไทย ปัญหาด้านความมั่นคง ปัญหาด้านสาธารณสุข ผลเสีย ต่างชาติอาจใช้เป็นข้อกีดกันทางการค้า ปัญหาทางสังคม

  27. ปัญหาด้านสาธารณสุข • แรงงานต่างด้าวเป็นพาหะนำโรคต่างๆ เช่น • โรคเท้าช้าง • โรคมาเลเรีย • โรคเอดส์ • วัณโรค • เสียงบประมาณในการป้องกันและรักษาโรคเพิ่มขึ้น • ปัญหาจากการเข้าไม่ถึงบริการทางสุขภาพของแรงงานต่างด้าวและครอบครัวของแรงงานต่างด้าว • ปัญหาความเสี่ยงของโรคและอุบัติเหตุจากการทำงาน และการไม่มีกองทุนหรือสวัสดิการในกลุ่มแรงงานต่างด้าว

  28. ความเสี่ยงของแรงงานต่างด้าวความเสี่ยงของแรงงานต่างด้าว เสียสุขภาพ เสี่ยงอันตราย 4 ส. สกปรก เสียอิสรภาพ

  29. การเข้าถึงบริการทางสุขภาพของแรงงานต่างด้าวการเข้าถึงบริการทางสุขภาพของแรงงานต่างด้าว • Pimonpan Isarabhakdi (Mahidol University) • Meeting at the Crossroads: Myanmar Migrants and Their Use of Thai Health Care Services • Asian and Pacific Migration Journal, Vol. 13, No. 1, 2004 • This study assesses the use of health services among cross-border migrants from Myanmar who are now living in Kanchanaburi Province. • 3 main ethnic group : Burmese, Karen and Mon • Quantitative and qualitative data

  30. สรุปสาเหตุของการจำกัดการเข้าถึงบริการทางสุขภาพสรุปสาเหตุของการจำกัดการเข้าถึงบริการทางสุขภาพ • ภาษา • ความเชื่อในการเกิดโรค และการรักษาโรค • ความห่างไกลของที่อยู่อาศัย • ค่าใช้จ่ายในการรักษา (ทั้งทางตรง และทางอ้อม) • การเปิดให้บริการ ไม่สอดคล้องกับช่วงเวลาทำงานของแรงงานต่างด้าว

  31. ความสามารถในการเข้าถึงบริการทางสุขภาพความสามารถในการเข้าถึงบริการทางสุขภาพ องค์ประกอบ 4 ประการ คือ • การปลอดจากการเลือกปฏิบัติ • การเข้าถึงทางกายภาพ • การเข้าถึงทางเศรษฐกิจ • การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร

  32. การเข้าถึงบริการสุขภาพการเข้าถึงบริการสุขภาพ ในแรงงานต่างด้าว เพิ่มผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เคารพสิทธิมนุษยชนของแรงงานต่างด้าว ป้องกันการเกิดโรคระบาด ลดปัญหาในภาพรวมอื่นๆ ประโยชน์ในการแก้ปัญหาการเข้าถึงบริการทางสุขภาพ

  33. แนวทางในการแก้ปัญหาในปัจจุบันแนวทางในการแก้ปัญหาในปัจจุบัน • ล่ามภาษา • พนักงานสาธารณสุขต่างด้าว (พสต.) • อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว (อสต.) • ล่ามแรงงานต่างด้าว ของ NGO • การเพิ่มช่องทางสื่อสารทางสาธารณสุข • การดูแลผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • การทำ Family folder • บัตรประกันสุขภาพของคนต่างด้าว • การจัดบริการอาชีวอนามัย สำหรับกลุ่มแรงงานต่างด้าว

  34. Thank You ! dr_atipong@hotmail.com

More Related