350 likes | 761 Views
การบัญชีต้นทุน (3). 563255 การบริหารเภสัชกิจเบื้องต้น 2 ผศ.ดนิตา ภาณุจรัส SLIDE TIME 42 MIN. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม. 5. อธิบายต้นทุนในมุมมองประเภทต่างๆ 6 .อธิบายการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของธุรกิจ. แผนผังองค์กร. PRESIDENT. CENTRAL CORPORATE STAFF. MANUFACTURING DIVISION. PRODUCTION
E N D
การบัญชีต้นทุน(3) 563255 การบริหารเภสัชกิจเบื้องต้น 2 ผศ.ดนิตา ภาณุจรัส SLIDE TIME 42 MIN.
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม • 5.อธิบายต้นทุนในมุมมองประเภทต่างๆ • 6.อธิบายการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของธุรกิจ
แผนผังองค์กร PRESIDENT CENTRAL CORPORATE STAFF MANUFACTURING DIVISION PRODUCTION DEPARMENT (หรือ OPD/IPD) MAINTENANCE DEPARMENT STOREROOM DEPARMENT ในภาพนี้ องค์กรประกอบด้วย แผนกผลิต (สีฟ้า) และ แผนกบริการ
งานICU งานCCU งานผู้ป่วยใน งานผู้ป่วยนอก ฝ่ายเภสัชกรรม ฝ่ายกายภาพบำบัด ฝ่ายทันตกรรม ฝ่ายชันสูตร(LAB, X-RAY) งานการเงิน งาน ห้องบัตร งาน ซักรีด งาน บริหาร งาน ช่าง งาน รปภ. แผนผังองค์กร-โรงพยาบาล • งาน ICU CCU IPD OPD เปรียบเสมือน PRODUCTION DEPARMENT ใน MANUFACTURING DIVISION และ ส่วนแผนกอื่นเป็น แผนกบริการ (SERVICE DEPARTMENT)
ต้นทุนตามความสัมพันธ์กับหน่วยหรือแผนกที่ก่อให้เกิดต้นทุน ของกิจการ • 1.ต้นทุนทางตรง (DIRECT COST) • เป็นต้นทุนที่เกิดจากหน่วยต้นทุน (COST OBJECT) ที่ทำกิจกรรมหลักของธุรกิจ ในที่นี้คือแผนกผลิตในโรงงานผลิตสินค้า • ตัวอย่างได้แก่ • ค่าแรงงาน • ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ • ค่าวัสดุ • ค่าน้ำค่าไฟ
ต้นทุนตามความสัมพันธ์กับหน่วยหรือแผนกที่ก่อให้เกิดต้นทุน ของกิจการ • 2.ต้นทุนทางอ้อม (INDIRECT COST) • เป็นต้นทุนที่เกิดจากหน่วยต้นทุน (COST OBJECT) ที่ไม่ได้ทำกิจกรรมหลักของธุรกิจ คือแผนกบริการ • ตัวอย่างได้แก่ • ค่าแรงงาน • ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ • ค่าวัสดุ • ค่าน้ำค่าไฟ
ต้นทุนสินค้า 1 ชิ้น หรือ บริการ 1 ครั้ง • 1.COST TRACINGการจัดสรรต้นทุนทางตรง /1 ชิ้น • 2.COST ALLOCATION เป็นวิธีการจัดสรรต้นทุนทางอ้อมจากแผนกบริการตาม เกณฑ์ที่ใช้จัดสรร (ALLOCATION BASE) คำนึงถึงสัดส่วนที่แผนกผลิตได้ใช้ประโยชน์จากแผนกบริการแต่ละแผนก • เช่น แผนกคลังสินค้าจัดสรรตามจำนวนครั้งการเบิกสินค้าใน 1เดือน แผนกทำความสะอาดจัดสรรตามพื้นที่ในการความสะอาด COST ASSIGNMENT
ALLOCATE ต้นทุนจากแผนกบริการไปแผนกผลิต(งาน คจ. / งานประกอบชิ้นส่วน) ต้นทุนทั้งแผนก(อ้อม)งาน ค.จ.งานประกอบ คลังสินค้า 2,00070 ครั้ง30 ครั้ง บาท70%30% 1400 บ.600บ. แผนกทำความสะอาด พื้นที่ 4,000บาท450 ตรม.150 ตรม. 75%25% 3000 บ.1000บ. ALLOCATION METHOD
การประยุกต์ใช้คำนวณต้นทุนคนไข้นอกโรคหวัดการประยุกต์ใช้คำนวณต้นทุนคนไข้นอกโรคหวัด • DIRECT COST : คือต้นทุนแผนก OPD คนไข้นอกโรคหวัดทั้งหมดใน 1 เดือน • INDIRECT COST : คือต้นทุนของแผนกเภสัชกรรม งานรปภ. งานห้องบัตร งานซักรีด งานบริหาร งานการเงิน งานช่าง ใน 1 เดือน (ดูตามแผนภูมิองค์กรโรงพยาบาล) นำมาจัดสรร ใช้เกณฑ์ที่ใช้จัดสรร (ALLOCATION BASE) คำนึงถึงสัดส่วนที่แผนก OPD ได้ใช้ประโยชน์จากแผนกบริการแต่ละแผนก
ต้นทุนของสังคมโดยรวม(SOCIETAL PERSPECTIVE)
PROVIDER COST ผู้ให้บริการ เช่น โรงพยาบาล • PROVIDER COST ต้นทุนในการรักษาโรค โรคใด โรคหนึ่ง เช่นค่าแรง ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ ค่าวัสดุ ค่าน้ำค่าไฟ ของ OPD/IPD/CCU/ICU รวมทั้งต้นทุนในแผนกบริการได้แก่ ต้นทุนของแผนกเภสัชกรรม และ ROUTINE SERVICE COST (ต้นทุนของหน่วยสนันสนุนอื่นๆ เช่น งานรปภ. งานห้องบัตร งานซักรีด งานบริหาร งานการเงิน งานช่าง) (ดูตามแผนภูมิองค์กรโรงพยาบาล)
BAYER หรือ PATIENT COST • ต้นทุนที่ผู้ซื้อหรือคนไข้ จ่ายค่าสินค้า ค่ารักษาพยาบาลแบบ OUT-OF-POCKET COST ของคนไข้ ที่จ่ายเพิ่มในบางรายการ, ค่าจ้าง CAREGIVER, FEE-FOR-SERVICE COST ของโรงพยาบาลเอกชน, ค่าเสียโอกาสของคนไข้, INTANGIBLE COST เช่น ค่าความทุกข์ทรมาน ซึ่งในทางบัญชีไม่คิดมูลค่า
ค่ารักษาที่รัฐบาล จ่ายหรือ บางครั้งมีบริษัทประกันจ่ายร่วม หรือ การเสียโอกาสใช้เงินนี้ทำโครงการอื่นเพื่อสังคม PAYERCOST
ต้นทุนในส่วนอื่น ที่ไม่ใช่ 3 ข้อด้านบน คือไม่ใช่ผู้ผลิต ผู้ซื้อหรือผู้ใช้บริการ และไม่ใช่รัฐบาล • เช่น ผลกระทบที่มีต่อครอบครัว ผลกระทบที่มีต่อคนอื่น ต่อสังคม เช่น ค่าใช้จ่ายของครอบครัวที่เพิ่มขึ้นจากการป่วย การทำให้คนอื่นเสียโอกาสในการรับบริการ การถูกเก็บภาษีทั้งที่ไม่ใช่ผู้ใช้บริการ หรือการที่บุคคลอื่นไม่สามารถเข้าถึงบริการรักษาพยาบาล SOCIETAL COST
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ต้นทุน-ปริมาณ-กำไรวิเคราะห์ความสัมพันธ์ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร ช่วยตัดสินใจวางแผนในด้าน • ผลกระทบที่จะมีต่อต้นทุนสินค้า • ปริมาณสินค้าที่จะผลิตและจำหน่าย • กำไรที่ต้องการ
ต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทุนต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทุน • 1.ต้นทุนผันแปร(VARIABLE COSTS)คือต้นทุนรวมเปลี่ยนตามปริมาณการผลิต • เช่น ผลิตเสื้อ 1 ตัว จะต้องใช้ผ้ารวม 2 หลา เป็นค่าผ้าทั้งสิ้น 100 บาท • ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางตรงจ่ายตามชั่วโมงหรือจ่ายตามชิ้นงาน ค่านายหน้าขาย
ต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทุนต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทุน • 2.ต้นทุนคงที่ (FIXED COSTS) คือต้นทุนรวมที่ไม่เปลี่ยนตามระดับการผลิต ในช่วงการผลิตระดับหนึ่ง แต่ต้นทุนคงที่ต่อหน่วยจะเปลี่ยนแปลงในทางลดลงถ้าปริมาณการผลิตเพิ่มมากขึ้น • เช่น ค่าเช่าโรงงาน ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์(ซึ่งคิดค่าเสื่อมราคาวิธีเส้นตรง) ค่าโฆษณา ค่าใช้จ่ายการค้นคว้าวิจัย ค่าดอกเบี้ยจ่าย ค่าเบี้ยประกันภัย
ต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทุนต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทุน • 3.ต้นทุนผสม (MIXED COSTS) มีลักษณะของต้นทุนคงที่และผันแปรรวมอยู่ด้วยกัน • ค่าไฟฟ้าโรงงาน ในการเตรียมให้เครื่องจักร หรือ โรงงานพร้อมผลิต ถือเป็นต้นทุนคงที่ และผลิตจะเกิดค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ซึ่งผันแปรตามปริมาณผลิต • ถ้าไม่สามารถแยกส่วนที่เป็นต้นทุนคงที่ และส่วนที่เป็นต้นทุนผันแปรออกจากกัน ก็มักจะถูกจัดให้เป็นต้นทุนผันแปร
บาท รายได้รวม ต้นทุนรวม 5,000 จำนวนหน่วยสินค้า 200 ข้อสมมติฐานในการวิเคราะห์ • 1.ต้นทุนทั้งหมดจะต้องสามารถจำแนกได้เป็นต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่เท่านั้นค่าไฟฟ้า=10,000 บาท +10 สตางค์ต่อ ชม. • 2.รายได้ และต้นทุนทั้งหมด เป็นเส้นตรง ไม่ว่าจะผลิตมากเท่าไร
ข้อสมมติฐานในการวิเคราะห์ข้อสมมติฐานในการวิเคราะห์ • 3.ปริมาณเป็นปัจจัยเดียวที่มีผลกระทบต่อต้นทุน • 4.ในกรณีที่เป็นการขายสินค้าหลายชนิด ส่วนผสมของการขายจะคงที่ในทุกๆ ระดับของการขายเช่น กิจการเมื่อขายสินค้า ก 10 หน่วย จะขายสินค้า ข ได้ 5 หน่วยเสมอ เป็นต้น
ข้อสมมติฐานในการวิเคราะห์ข้อสมมติฐานในการวิเคราะห์ • 5.ไม่มีการเปลี่ยนแปลงระดับสินค้าคงเหลือต้นงวดและปลายงวด คือสมมติว่าปริมาณการขายเท่ากับปริมาณการผลิตพอดี • 6.ช่วงระยะเวลาของการวิเคราะห์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในด้านของมูลค่าของเงิน เช่นไม่เกิดภาวะเงินเฟ้อรุนแรง หรือไม่มีการปรับค่าเงิน
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนด้วยแผนภาพการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนด้วยแผนภาพ • ตัวอย่างบริษัทแอนสปาจำกัด ราคาขายน้ำมันนวดขวดละ 200 บาทต้นทุนผันแปรขวดละ 100 บาท ต้นทุนคงที่รวมทั้งสิ้น 10,000 บาท
บาท รายได้รวม ต้นทุนรวม ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ 10,000 จำนวนหน่วยสินค้า 100 COST-VOLUME-PROFIT GRAPH • วิเคราะห์ด้วยแผนภาพ พบจุดคุ้มทุนของกิจการมียอดขายอยู่ที่ 100 หน่วย หรือ 20,000 บาท
กำไรส่วนเกินรวม (TCM) • วิเคราะห์ส่วนเกินระหว่าง รายได้รวม กับ ต้นทุนผันแปรรวม ซึ่ง ณจุดคุ้มทุน ที่จะไปชดเชยเท่ากับต้นทุนคงที่ • ใช้วิเคราะห์จุดคุ้มทุน ประมาณรายได้ และวางแผนกำไร
อักษรย่อในการคำนวณ • TCM = กำไรส่วนเกินรวม • R = รายได้รวม • p = ราคาขายต่อหน่วย • a = ต้นทุนคงที่รวม • b = ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย • X = จำนวนหน่วยของสินค้าที่มีการผลิต&ขาย
กำไรส่วนเกินรวม=รายได้รวม -ต้นทุนผันแปรรวม TCM= pX – bX TCM = (p-b)X TCM/ (p-b)= X กำไรส่วนเกินรวม (TCM)
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน X = TCM / (p-b) ณ จุดคุ้มทุน, X = a / (p-b) ปริมาณขาย=ต้นทุนคงที่ . ราคาต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน • ณ จุดที่มีกำไร Y, X= (a+Y) / (p-b) ปริมาณขาย=ต้นทุนคงที่ + กำไร . ราคาต่อหน่วย-ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย อัตรากำไรจากการดำเนินงาน = (กำไร X 100) / รายได้รวม
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน • ตัวอย่างบริษัทแอนสปาจำกัด • ราคาขายน้ำมันนวดขวดละ 200 บาท • ต้นทุนผลิตคงที่ 7,500 บาท • ค่าใช้จ่ายในการขาย&บริหารคงที่ทั้งหมด 2,500 บาท
การคำนวณหาต้นทุนผันแปรต่อหน่วยการคำนวณหาต้นทุนผันแปรต่อหน่วย • 1.วัตถุดิบทางตรง 15 • 2.ค่าแรงงานทางตรง 40 • 3.ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 20 • 4.ค่าใช้จ่ายการขาย&บริหารผันแปร 25 • รวมต้นทุนผันแปรต่อหน่วย100บาท
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน • ณ จุดคุ้มทุน, X = a / (p-b) • ปริมาณขาย =10,000 . 200-100 = 100 หน่วย
กิจการไม่ทราบราคาขาย เช่น ขายสินค้าหลายชนิดรวม ๆ กัน และไม่ทราบต้นทุนผันแปรต่อหน่วย • ทราบรายได้ปัจจุบัน ทราบต้นทุนคงที่รวม และทราบต้นทุนผันแปรรวมจะหาจุดคุ้มทุนที่เป็นจำนวนเงินได้ โดยใช้สูตร • รายได้ ณ จุดคุ้มทุน =.ต้นทุนคงที่ .(รายได้ - ต้นทุนผันแปรรวม)/รายได้ การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน(รายได้)
รายได้ ณ จุดคุ้มทุน • รายได้ ณ จุดคุ้มทุน =.ต้นทุนคงที่ . (รายได้ - ต้นทุนผันแปรรวม)/รายได้ = . 10,000 . (30,000 - 15,000) / 30,000 = 20,000 บาท • อัตรากำไรจากการดำเนินงาน = (กำไร X 100) / รายได้รวม = (30,000-25,000) X 100/30,000 = 16.7 %