1 / 51

Industrial Robotics

Industrial Robotics. Chapter 8. Introduction. Industrial robot คือ เครื่องจักรที่สามารถโปรแกรมได้ ซึ่งมีลักษณะคล้ายมนุษย์ The most anthropomorphic characteristic คือ แขนกล ซึ่งใช้ทำงานหลายๆ อย่างในอุตสาหกรรม

zenobia
Download Presentation

Industrial Robotics

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Industrial Robotics Chapter8 Industrial Robotics

  2. Introduction • Industrial robot คือ เครื่องจักรที่สามารถโปรแกรมได้ ซึ่งมีลักษณะคล้ายมนุษย์ • The most anthropomorphic characteristic คือ แขนกล ซึ่งใช้ทำงานหลายๆ อย่างในอุตสาหกรรม • Other human-like characteristics คือ มันสามารถตอบสนองต่อข้อมูลนำเข้า และสื่อสาร กับเครื่องจักรชนิดอื่น และตัดสินใจได้ด้วย Industrial Robotics

  3. Introduction • การพัฒนาของเทคโนโลยี Robotic ก้าวตามการพัฒนาของ Numerical control • และเกี่ยวกับการควบคุม Coordinated ของหลายๆแกน (multipleaxes;axes คือ ข้อต่อของ Robotics) • Typical production application เช่น การเชื่อมจุด, การขนส่งวัสดุ, การ load งานเข้าเครื่องจักร, การพ่นสี และงานประกอบ Industrial Robotics

  4. Introduction • Reason for application robot in industrial • Robot สามารถทำงานแทนคนในที่สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมหรืออันตราย • Robot สามารถทำงานในแต่ละ work cycle ที่ซ้ำกันโดยให้ผลการทำงานใกล้เคียงหรือเท่ากันในแต่ละรอบ • Robot สามารถทำการโปรแกรมได้ เมื่อกระบวนการผลิตในปัจจุบันเสร็จสมบูรณ์แล้ว robot สามารถป้อนโปรแกรมใหม่เพื่อทำงานที่แตกต่างได้ • Robot ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเชื่อมต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ระบบอื่น เพื่อเป็น computer integrated. Industrial Robotics

  5. Robot anatomy and related attributes • Industrial robot สร้างมาจาก series of joint และ links • Robot anatomy สัมพันธ์กับ ชนิด และขนาดของ joint และ links เหล่านี้ • นอกจากนี้ยังมีโครงสร้างทางกายภาพในด้านอื่นๆ ของหุ่นยนต์อีกด้วย Industrial Robotics

  6. Joint and links • Joint ofindustrial robot คล้ายกับข้อต่อในร่างกายมนุษย์ ทำให้เกิดการเคลื่อนที่สัมพันธ์ระหว่าง 2 ชิ้นส่วนของร่างกาย • แต่ละ joint เรียกว่า degree-of-freedom (d.o.f.) ของการเคลื่อนที่ (เพียง 1 d.o.f. สัมพันธ์กับ 1 joint) • Robot ถูกแยกประเภทตามจำนวนของ d.o.f. • การเชื่อมต่อของแต่ละ joint มี 2 links คือ input link และ output link Industrial Robotics

  7. Joint and links • การทำงานของ Joint เพื่อให้มีการควบคุมความสัมพันธ์ระหว่าง input link และ output link • Robot ส่วนมากแล้วจะยึดติดกับฐานที่อยู่กับที่และมีความมั่นคงซึ่งยึดติดกับพื้น • ฐาน ซึ่งเชื่อมต่อกับ joint แรก เป็น link 0 มันเป็น input link ให้กับ joint 1 • Output link ของ joint 1 คือ link 1 และ link 1 เป็น input link ให้กับ joint 2 ไปเรื่อยๆ ดังรูป Industrial Robotics

  8. Joint and links Industrial Robotics

  9. Joint and links • The five joint types are: • Linear joint (type L joint)การเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่าง input link และ output link เป็นแบบสไลด์เลื่อนไปมา ซึ่งแกนทั้ง 2 link ขนานกัน Industrial Robotics

  10. Joint and links • The five joint types are: • Orthogonal joint (type O joint)การเคลื่อนที่เป็นแบบสไลด์เลื่อน แต่ input link และ output link อยู่ในลักษณะตั้งฉากกันในขณะมีการเคลื่อนที่ Industrial Robotics

  11. Joint and links • The five joint types are: • Rotational joint (type R joint) ข้อต่อแบบนี้จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่ซึ่งมีการหมุน โดยแกนของการหมุนตั้งฉากกับแกนของ input link และ output link Industrial Robotics

  12. Joint and links • The five joint types are: • Twisting joint (type T joint) เป็นการเคลื่อนที่แบบหมุนเช่นกัน แต่แกนของการหมุนขนานไปกับแกนของ link ทั้งสอง Industrial Robotics

  13. Joint and links • The five joint types are: • Revolving joint (type V joint) แกนของ input link ขนานกับแกนการหมุนของข้อต่อ และแกนของ output link ตั้งฉากกับแกนของการหมุน Industrial Robotics

  14. Common robot configuration • Robot สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนสำคัญ: body-and-arm assembly และ ส่วน wrist (ข้อมือ) โดยมากส่วนลำตัวและแขนจะมี 3 d.o.f. • ข้อมือ เป็นเครื่องมือที่ต้องมีความสัมพันธ์กับงาน เครื่องมือนี้ เรียกว่า end effector โดยปกติเป็นทั้ง • Gripper สำหรับจับถือ workpart หรือ • เครื่องมือสำหรับใช้ในกระบวนการผลิตบางอย่าง Industrial Robotics

  15. Common robot configuration • body-and-arm configuration • เมื่อมีข้อต่อ 5 แบบ เราจะได้การ joint ที่แตกต่างกัน 5x5x5=125 ซึ่งเป็นการออกแบบ robot ที่มี body-and-arm สำหรับ 3 d.o.f. • นอกจากนี้ยังมีการออกแบบความแตกต่างสำหรับ joint แต่ละชนิ • รูปร่างของ robot ที่ใช้กันในอุตสาหกรรมมีอยู่ 5 ชนิด Industrial Robotics

  16. Common robot configuration • Polar configurationประกอบด้วย arm ที่สไลด์ได้ (L joint),body หมุนรอบแกนดิ่ง (T joint) และแกนระดับ (R joint) คือ TRL Industrial Robotics

  17. Common robot configuration • Cylindrical configurationประกอบด้วย เสากลมวางในแนวแกนตั้งซึ่งหมุนได้ (T joint),arm สามารถเลื่อนขึ้นลงได้(L joint), arm สามารถเคลื่อนเข้าออกได้ (O joint) คือ TLO Industrial Robotics

  18. Common robot configuration • Cartesian coordinate robotอาจเรียกว่า rectilinear robot และ x-y-z robot เป็นการรวม joint ซึ่งสไลด์ได้ ทั้ง 3 joint โดยจะมี 2 joint เป็นแบบ orthogonal เช่น LOO Industrial Robotics

  19. Common robot configuration • Jointed-arm robotจะมีลักษณะคล้ายแขนคน ประกอบด้วย ฐานเป็นแบบหมุน (T joint) joint ต่อไปเป็น shoulder joint, R joint (ข้อต่อบ่า) และ elbow joint, R joint (ข้อศอก) คือ TRR Industrial Robotics

  20. Common robot configuration • SCARAคล้าย jointed arm robot ยกเว้น shoulder and elbow หมุนในแกนตั้ง ทำงานเกี่ยวกับการใส่ของเข้าไปในที่ว่างในสายงานประกอบ คือ VRO Industrial Robotics

  21. Common robot configuration • Wrist configuration • ข้อมือของ robot ประกอบด้วย 2 หรือ 3 d.o.f.ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นรูปแบบการประกอบข้อมือของ robot แบบ 3 d.o.f. • Roll ใช้ T joint เพื่อจะหมุนวัตถุรอบแกนของแขน • Pitch เกี่ยวกับการหมุนขึ้น-ลงของวัตถุ (R joint) • Yaw เกี่ยวกับการหมุนซ้าย-ขวาของวัตถุ (R joint) Industrial Robotics

  22. Common robot configuration Industrial Robotics

  23. Common robot configuration • Joint nation system • เราสามารถใช้อักษรแทน joint ทั้ง 5 ชนิด (L, O, R, T and V) เพื่อกำหนด joint nation system • ใช้ในการอธิบายชนิดของ joint สำหรับการประกอบ body-and-arm ของ robot • ตัวอย่าง TLR:TR แสดง 5 d.o.f • body-and-arm, twisting joint(joint 1=T),linear joint (joint 2=L),rotational joint (joint 3=R) • ข้อมือ ประกอบด้วย 2 joint, twisting joint (joint 4=T) and rotation joint (joint 5=R) Industrial Robotics

  24. Common robot configuration • Work volume (work envelope) • หมายถึง กรอบหรือเนื้อที่ซึ่งปลายข้อมือ ของ robot เหยียดไปถึงได้ • ถูกกำหนดโดยจำนวนและชนิดของ joint • รูปร่างของ work volume ขึ้นกับโครงร่างของ robot เช่น Polar configuration robot เป็น รูปทรงกลมCylindrical robot เป็นรูปทรงกระบอก และ Cartesian coordinate robot เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า Industrial Robotics

  25. Joint drive systems • Robot joint มีระบบขับเคลื่อนได้ดังต่อไปนี้ • Electric ใช้มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นตัวขับเคลื่อน เป็น robot ที่ผลิตมาขายในปัจจุบัน เพราะการควบคุมแบบนี้จะต่อเข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ควบคุม และมีความแม่นยำในการทำงานมาก • Hydraulic ใช้ใน robot ที่มีการทำงานซับซ้อน ในด้านของความเร็วและกำลัง ดีกว่าชนิดอื่น • Pneumatic ใช้กับ robot ขนาดเล็ก ทำงานขนส่งวัสดุแบบง่ายๆ Industrial Robotics

  26. Robot control system • Hardware ของระบบควบคุมในปัจจุบันใช้ controller ที่มีส่วนประกอบของ microprocessor • โครงสร้างของตัวควบคุมจะถูกออกแบบให้เป็นลำดับชั้นดังรูป Industrial Robotics

  27. Robot control system • การควบคุมที่แตกต่างกันสำหรับการใช้งานที่แตกต่าง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท • Limited sequence control • ใช้กับงานที่มีรอบการเคลื่อนที่แบบง่าย เช่น pick and place • ใช้งานโดยการตั้งจุดหยุด หรือ จุดหยุดทางกล ให้แก่แต่ละ joint และจัดลำดับการทำงานของ joint • Robot ที่ขับเคลื่อนด้วย pneumatic ส่วนมากจะเป็นชนิดนี้ Industrial Robotics

  28. Robot control system • Playback with point-to-point control • Play back control หมายถึง controller มีหน่วยความจำสำหรับบันทึกลำดับการเคลื่อนที่และตำแหน่งของการเคลื่อนที่ ใน work cycle • ในการควบคุม point-to-point (PTP) แต่ละตำแหน่งของ robot arm ถูกบันทึกในหน่วยความจำ • มีการนำเอาการควบคุมป้อนกลับมาใช้ระหว่างรอบการเคลื่อนที่ของ Robot ด้วย Industrial Robotics

  29. Robot control system • Playback with continuous path control • เหมือนแบบที่แล้วแต่จุดที่ประกอบเป็นเส้นทางมีความละเอียดมากขึ้น • Robot เคลื่อนที่เรียบขึ้น • Intelligent control • Robot ที่สามารถแสดงพฤติกรรมออกมาว่าดูเสมือนว่าฉลาด Industrial Robotics

  30. Robot control system • ลักษณะที่แสดงว่ามันฉลาด คือ • มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม • สามารถตัดสินใจถ้ามีสิ่งบกพร่องระหว่าง work cycle • สื่อสารกับมนุษย์ได้ • มีการคำนวณระหว่างรอบการเคลื่อนที่ • สามารถทำงานร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ ได้ Industrial Robotics

  31. End Effectors • เราเรียกเครื่องมือและตัวจับโหลดว่า End effectors • End effectors โดยทั่วไปเป็น robot’s wrist ซึ่งทำให้ robot สามารถทำงานเฉพาะบางอย่างได้ • เนื่องจากว่า industrial robot จะต้องทำงานที่แตกต่างกันหลายๆ ชนิด • จะต้องออกแบบ end effects ให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะนั้น • End effectors มี 2 ชนิด คือ grippers and tools Industrial Robotics

  32. Gripper • เป็น end efffector ชนิดหนึ่งใช้จับและย้ายชิ้นงานระหว่าง work cycle • Machine loading and unloading เป็นการใช้งานโดย gripper • รูปร่างของ part, ขนาด และน้ำหนัก เป็นได้หลากหลาย • ชนิดของ gripper ที่ใช้กันในอุตสาหกรรม มีดังนี้ • Mechanical gripper • Vacuum gripper • Magnetized device Industrial Robotics

  33. Gripper • Mechanical gripper ประกอบด้วยนิ้ว 2 หรือมากกว่า ซึ่ง controller ของ robot จะควบคุมให้ open and close เพื่อจับ workpart Industrial Robotics

  34. Gripper • Vacuum gripper เป็นตัวจับโหลดสุญญากาศโดยอาศัยการดูดใช้สำหรับจับวัตถุผิดเรียบ • Magnetized device อุปกรณ์ที่ถูกทำให้เป็นแม่เหล็กที่ใช้สำหรับหยิบวัตถุประเภทเหล็ก • Mechanical gripper มีการเทคโนโลยีขั้นสูงในการใช้งาน ดังนี้ • Dual gripper ประกอบด้วย 2 gripper ใน 1 end effectors ใช้เป็นเครื่องมือ loading and unloading Industrial Robotics

  35. Gripper • Interchangeable fingers สามารถใช้ gripper ที่ทำงานทางกล 1 gripper เพื่อหยิบ part ที่แตกต่างกัน • Sensory feedback นิ้วของ gripper สามารถทำงานเช่น • Sensing ว่ามี workpart อยู่หรือไม่ • จำกัดขนาดของแรงที่ใช้งานได้ (part ที่แตกหักได้ง่าย) • Multiple fingered gripper ลักษณะกายวิภาคทั่วไปเหมือนแขนมนุษย์ • Standard gripper product มีความหลาหลาย สำหรับแต่ละ robot ใช้งานต่างกัน Industrial Robotics

  36. Tool • ใช้กับงานที่ robot ต้องดำเนินการ processing กับ workpart • Robot อาจต้องหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่อย่างช้าๆ (เช่น ประกอบชิ้นส่วนย่อย) • ตัวอย่างของ tools ที่ใช้เป็น end effector คือ • Spot welding gun • Arc welding tool • Spray painting gun • Rotating spindle for drilling, routing, grinding • assemblytool • Heating torch • Water jet cutting tool Industrial Robotics

  37. Sensors in robotics • แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ • Internal ใช้ควบคุมตำแหน่งและความเร็วของ joint ต่างๆ • External ใช้ในการประสานงาน robot ให้เข้ากับอุปกรณ์อื่นๆ ที่อยู่ภายใน cell ตัวอย่างของ sensor ที่ใช้งานลักษณะนี้ • Tactile sensors ใช้เพื่อตรวจจับว่าหน้าสัมผัสระหว่าง sensor กับวัตถุอื่นอยู่ติดกันหรือไม่ • Proximity sensor เป็น sensor ที่ใช้สำหรับบ่งชี้ว่ามีวัตถุอยู่ใกล้ sensor หรือไม่ Industrial Robotics

  38. Sensors in robotics • Optical sensor ชนิดที่เป็น photocells นำมาตรวจจับว่าขณะนี้มีวัตถุอยู่หรือไม่ • Machine vision ใช้ในงานเกี่ยวกับการตรวจสอบอัตโนมัติ เช่น ตรวจสอบความบกพร่องของชิ้นงาน บ่งชี้ชิ้นงาน หรือ นำทาง • Other sensor ใช้งานด้านอื่นๆ เกี่ยวกับ robot เช่น measuring temperature, fluid pressure, fluid flow, electrical voltage, current และคุณสมบัติอื่นๆ ทางกายภาพ Industrial Robotics

  39. Industrial robot application • เริ่มต้นครั้งแรกในปี ค.ศ.1961 ซึ่ง robot ใช้ในการ load and unload ชิ้นงานที่ทำการหล่อ เพราะสิ่งแวดล้อมการทำงานไม่เหมาะกับมนุษย์ • การใช้งาน robot ทดแทนมนุษย์ใช้ในงานต่อไปนี้ • Hazardous work environment for human ลักษณะงานไม่ปลอดภัย ส่งผลร้ายต่อสุขภาพ เช่น Forging, spray painting, continuous arc welding and spot welding • Repetitive work cycle ลำดับการทำงานใน work cycle มีลักษณะที่เหมือนกันและมีการเคลื่อนที่แบบง่ายๆ Industrial Robotics

  40. Industrial robot application • Different handling for human งานที่เกี่ยวกับการขนย้ายชิ้นงานหรือเครื่องมือที่มีน้ำหนักมาก หรือยากแก่การขนย้าย • Multishift operation สามารถทำงานได้คงเส้นคงวามากกว่ามนุษย์ในการทำงานกะดึก • Infrequent operation เมื่อเป็นกระบวนการผลิตแบบ batch or job shop ซึ่งต้องการการติดตั้งเครื่องจักรใหม่ก่อนที่จะผลิตชิ้นงานต่อไป • Part position and orientation are established in the work cell Industrial Robotics

  41. Material handling application • Robot ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายวัสดุหรือชิ้นส่วนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยใช้ gripper เป็น end effector • ต้องออกแบบให้เหมาะสมกับ part ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างกัน • การใช้งานในส่วนนี้เป็นได้ 2 กรณี • Material transfer • Machine loading and/or unloading Industrial Robotics

  42. Material handling application • Material transfer • หมายถึง pick-and-place operation ต้องการ robot ที่มีลักษณะ low-technology • มี joint 2,3 หรือ 4 เท่านั้น • ส่วนมากจะเป็น robot ที่ขับเคลื่อนด้วย pneumatic • ซับซ้อนมากขึ้น คือ การขนย้ายวัสดุ เป็นแบบ palletizing หรือ depalletizing Industrial Robotics

  43. Material handling application • Machine loading and/or unloading มีอยู่ 3 กรณีที่เป็นไปได้ • (1) machine loading, • (2) machine unloading • (3) machine loading and unloading • ใช้ในกระบวนการผลิตต่อไปนี้ die casting, plastic molding, metal machining operation, forging, pressworking และ heat treating Industrial Robotics

  44. Processing operations • หมายถึง การนำ robot ไปทำงานต่างๆ ที่ก่อให้เกิดการทำงานบนชิ้นงาน • บาง processing อาจมีการใช้งาน tool มากกว่า 1 ในระหว่าง work cycle • ตัวอย่าง robot ที่ใช้งานเกี่ยวกับกระบวนการต่างๆ คือ spot welding, continuous are welding and spray coating และการใช้งานอื่นๆ Industrial Robotics

  45. Robot programming • หมายถึง การกำหนดเส้นทางในอากาศให้ robot ต้องเดินตาม รวมทั้ง peripheral actions เพื่อให้เกิดการทำงานทั้ง work cycle • peripheral actions ได้แก่ opening and closing the gripper, การตัดสินใจในขั้นตอนต่างๆ และการสื่อสารกับอุปกรณ์อื่นๆ ภายใน cell • Robot จะถูกป้อนด้วยคำสั่งที่อยู่ในรูปของ program เข้าไปยัง controller memory Industrial Robotics

  46. Robot programming • Programming method • Leadthrough programming • Computer-like robot programming languages • Off-line programming Industrial Robotics

  47. Leadthrough programming • เป็นการสอนนำโปรแกรม และการใช้โปรแกรมของ robot จากการควบคุมของหน่วยความจำ • โดยวิธีการนี้ คือ ภาระงาน และการเคลื่อนที่ต่างๆ จะถูกสอนไปที่ robot โดยวิธีแสดงให้ดู ผ่านการเคลื่อนที่ในแต่ละ cycle • โดยการกดปุ่มเพื่อให้ robot arm ไปยังตำแหน่งที่กำหนดในลำดับ และบันทึกตำแหน่งเข้าไปในหน่วยความจำ Industrial Robotics

  48. Leadthrough programming • ใช้วิธีการควบคุมแบบ point-to-point ซึ่งใช้งานกับ teach pendent (hand-held control box) Industrial Robotics

  49. Computer-like robot programming languages • เป็นวิธีการโปรแกรม robot โดยใช้ computer ในการควบคุมการทำงานต่างๆ ของ robot • เหตุที่เรียกว่า on-line/off-line เพราะ robot จะต้องถูกสอนให้รู้จักกับ ตำแหน่งต่างๆ ผ่านวิธี leadthrough method • เหมาะกับงานที่ซับซ้อนและงานที่ต้องมีการตัดสินใจ ซึ่งวิธีการ leadthrough method ไม่สามารถทำได้ Industrial Robotics

  50. Computer-like robot programming languages • วิธีการนี้สามารถทำงานได้ต่อไปนี้ได้ คือ • เพิ่มการใช้งาน sensor รวมทั้งสัญญาณแบบ analog /digital input และ output • ปรับปรุงในเรื่อง output เพื่อไปควบคุมการทำงานของอุปกรณ์อื่นๆ ภายนอกตัว robot • Program logic ที่มีความซับซ้อนและ leadthrough method ไม่สามารถทำได้ • มีการคำนวณต่างๆ และข้อมูลของ กระบวนการ คล้ายกับ computer programming languanges • สื่อสารกับระบบ computer อื่นๆ ได้ Industrial Robotics

More Related