1 / 32

พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543

พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543. ขอบเขตเนื้อหา. 1. ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี 1.1 ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีได้แก่ใครบ้าง 1.2 หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีมีอะไรบ้าง 2. ผู้ทำบัญชี 2.1 ผู้ทำบัญชีคือใคร 2.2 คุณสมบัติและเงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชีมีอะไรบ้าง

zaria
Download Presentation

พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติการบัญชีพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543

  2. ขอบเขตเนื้อหา 1. ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี 1.1 ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีได้แก่ใครบ้าง 1.2 หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีมีอะไรบ้าง 2. ผู้ทำบัญชี 2.1 ผู้ทำบัญชีคือใคร 2.2 คุณสมบัติและเงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชีมีอะไรบ้าง 2.3 หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทำบัญชีมีอะไรบ้าง 3. การจัดทำบัญชีให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี 4. บทกำหนดโทษ

  3. กำหนดผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ม.8 คือ ผู้มีหน้าที่จัดให้มีการทำบัญชี ประกอบด้วย ๏ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ๏บริษัทจำกัด ๏บริษัทมหาชนจำกัด ๏นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจ ในประเทศไทย ๏กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ๏สถานที่ประกอบธุรกิจเป็นประจำ ๏บุคคลธรรมดา , ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิได้จดทะเบียน ตามที่ รัฐมนตรีประกาศ

  4. หน้าที่ของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีหน้าที่ของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี การทำบัญชี เอกสารที่ต้อง ใช้ประกอบ การลงบัญชี เก็บรักษา บัญชีและ เอกสาร - ปิดบัญชี - งบการเงิน ผู้ทำบัญชี • จัดให้มีผู้ทำบัญชีที่มี • คุณสมบัติตาม • ม.7(6) และ • จัดให้มีการทำบัญชี • ตามที่ ก.ม. กำหนด • ม.8 และทำบัญชี • ตาม ม.7(1)- (4) • ปิดบัญชีภายในเวลาที่ • ก.ม. กำหนด ม.10 • จัดทำเอกสารฯ ตามที่ • ก.ม. กำหนด ม.7(4) - เก็บบัญชีฯ ณ สถานที่ ทำการ ม.13 • จัดทำและนำส่ง • งบการเงิน ต่อ • กรมทะเบียนการค้า • ภายในระยะเวลา • ที่กำหนด ม.11 - เก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี ม.14 • จัดให้มีผู้ทำบัญชี • ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ • พ.ร.บ. มีผลใช้บังคับ • (ขยายได้ไม่เกิน 1 ปี) • ม. 45 ๏ ชนิดของบัญชีที่ต้อง จัดทำ ๏ ข้อความและรายการ ที่ต้องมีในบัญชี ๏ ระยะเวลาที่ต้องลง รายการในบัญชี ๏ เอกสารที่ต้องใช้ ประกอบการลงบัญชี • ส่งมอบเอกสารฯ ให้ • ผู้ทำบัญชีให้ถูกต้อง • ครบถ้วน ม.12 - กรณีสูญหายให้แจ้ง ภายใน 15 วัน ม.15 - 16 (อาจสันนิษฐานได้ว่า มีเจตนาหากไม่ได้เก็บ ในที่ปลอดภัย/ ไม่ได้ ใช้ความระมัดระวัง) ๏ มีรายการย่อตามที่ ก.ม. กำหนด • ควบคุมดูแลผู้ทำบัญชี • ให้จัดทำบัญชีตรง • ต่อความจริงและ • ถูกต้อง ม.19 ๏ ตรวจสอบโดย ผู้สอบบัญชี รับอนุญาต - กรณีเลิก โดยมิได้ชำระ บัญชี ให้ส่งมอบภายใน 90 วัน ม.17 • เริ่มทำบัญชีนับแต่วันที่ได้รับ • การจดทะเบียน/วันเริ่มประกอบ • กิจการ ม. 9

  5. คุณวุฒิของผู้ทำบัญชี ม. 7 (6) คุณวุฒิผู้ทำบัญชี กลุ่ม ประเภท 1 บุคคลธรรมดา ทำเอง- ไม่กำหนดคุณสมบัติ จ้าง - มีคุณวุฒิเช่นเดียวกับกลุ่ม 3,4 2 ห้างหุ้นส่วนไม่จดทะเบียน ต้องมีคุณวุฒิเช่นเดียวกับกลุ่ม 3,4 3 ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน และบริษัทจำกัด ที่มี ปวส. (บัญชี) - ทุน ไม่เกิน 5 ล้านบาท อนุปริญญา (บัญชี) - สินทรัพย์รวม ไม่เกิน 30 ล้านบาท - รายได้รวม ไม่เกิน 30 ล้านบาท 4 - ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน อย่างต่ำปริญญาตรี (บัญชี) - บริษัทจำกัด - บริษัทมหาชนจำกัด - นิติบุคคลต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย - กิจการร่วมค้า - สถาบันการเงิน - ประกันภัย, ประกันชีวิต - ธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมจาก BOI ทุน ,สินทรัพย์ ,รายได้ มากกว่ากลุ่มที่ 3

  6. หน้าที่ของ “ ผู้ทำบัญชี ” ลงรายการบัญชีเป็นภาษาไทย หากลงรายการเป็นภาษา ต่างประเทศ ให้มีภาษาไทย กำกับ หรือลงรายการเป็นรหัสบัญชีให้มีคู่มือคำแปล รหัสบัญชีที่เป็นภาษาไทยไว้ {ม.21(1)} เขียนด้วยหมึก ดีดพิมพ์ หรือตีพิมพ์ หรือทำด้วยวิธีอื่นใดที่ได้ผลใน ทำนองเดียวกัน {ม.21(2)} จัดทำบัญชีเพื่อให้แสดง ผลการดำเนินงานฐานะ การเงิน หรือการ เปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของ“ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ” ที่เป็นอยู่ตามความเป็นจริงและตามมาตรฐานการบัญชี โดยมีเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีให้ ถูกต้องครบถ้วน (ม. 20)

  7. คำแนะนำในการปฏิบัติของผู้ทำบัญชีคำแนะนำในการปฏิบัติของผู้ทำบัญชี • แจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูลของผู้ทำบัญชี ภายใน 60 วัน • การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ ในทุกรอบสามปี - ในแต่ละรอบจะต้องมีจำนวนชั่วโมงไม่น้อยกว่า 27 ชั่วโมง - ต้องมีเนื้อหาเกี่ยวกับการบัญชี ไม่น้อยกว่า 18 ชั่วโมง - ในแต่ละปีผู้ทำบัญชีจะต้องพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง • การสมัครเป็นสมาชิกหรือขึ้นทะเบียนกับสภาวิชาชีพ

  8. ชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำ • บัญชีรายวัน • บัญชีแยกประเภท • บัญชีสินค้า • บัญชีรายวัน บัญชีแยกประเภทอื่น • บัญชีแยกประเภทย่อย

  9. หลักในการจัดทำบัญชี 1.ถูกต้อง - ตามกฎหมายบัญชี (พ.ร.บ.การบัญชี พ.ศ.2543 - ตามหลักการบัญชี (มาตรฐานการบัญชี) 2.ครบถ้วน - ทุกรายการที่เกิดขึ้นจากการประกอบกิจการ ได้นำมาบันทึกบัญชี 3. เชื่อถือได้ - ต้องมีรายการเกิดขึ้นจริง - ต้องมีเอกสารหลักฐานสนับสนุนรายการ

  10. การจัดทำบัญชี การซื้อ/ขายสินค้า,บริการ ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ 1.รายการค้า รวบรวมเอกสาร/หลักฐาน ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับสินค้า ใบสำคัญจ่าย 2.หลักฐาน/ข้อเท็จจริงทางการบัญชี วิเคราะห์รายการ บัญชีตามที่กฎหมายกำหนด 3.บันทึกรายการในบัญชี 4.งบการเงิน / รายงานทางการเงิน งบดุล งบกำไรขาดทุน ฯลฯ

  11. เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี 1.เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยบุคคลภายนอก 2.เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี เพื่อออกให้แก่บุคคลภายนอก 3. เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี เพื่อใช้ภายในกิจการ

  12. การจัดทำ และนำส่งงบการเงิน (ม.11) ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน จัดทำ และยื่นงบการเงิน นิติบุคคลต่างประเทศ ภายใน 5 เดือน กิจการร่วมค้า นับแต่วันปิดบัญชี บริษัทจำกัด จัดทำ และยื่นงบการเงิน บริษัทมหาชนจำกัด ภายใน 1 เดือน นับแต่วันที่งบการเงิน ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่

  13. บทกำหนดโทษ หมวด 5 ม.27-41 • มีโทษผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี หรือผู้ทำบัญชีโดยเฉพาะ • โทษ ทั้งปรับ ทั้งจำ และรุนแรงขึ้น • อธิบดีฯ มีอำนาจเปรียบเทียบปรับได้ กรณีการกระทำผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว หรือโทษปรับและ จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน (ม.41)

  14. WEBSITE กรมพัฒนาธุรกิจการค้า WWW.DBD.GO.TH E-MAIL ADDRESS สำนักกำกับดูแลธุรกิจ MONITORING@THAIREGISTRATION.COM

  15. การจัดทำบัญชีและงบการเงินการจัดทำบัญชีและงบการเงิน (1) รายการค้า • แผนภูมิสรุปการจัดทำบัญชีและงบการเงิน (3.1) บัญชีรายวัน (2) เอกสารประกอบการลงบัญชี (3.2) บัญชีแยกประเภท (3) บันทึกรายการในบัญชี (3.3) บัญชีสินค้า การจัดทำบัญชีประจำวัน การปิดบัญชี (4.1) งบดุล (4.2) งบกำไรขาดทุน (4.3) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของหรืองบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (4) งบการเงิน (4.4) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน

  16. ผังบัญชี (Chart of Accounts)

  17. ความหมาย ผังบัญชี คือ ผังที่แสดงรายชื่อบัญชีแยกประเภทของแต่ละกิจการทุกบัญชีโดยจัดเรียงตามลำดับหมวดหมู่บัญชี คือ หมวดบัญชีสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย พร้อมทั้งกำหนดเลขที่บัญชีของแต่ละบัญชีด้วย ในการกำหนดเลขที่บัญชีนั้น เลขตัวแรกจะใช้เป็นเลขประจำหมวดบัญชี และตามด้วยตัวเลขอีก 2 หรือ 3 ตัวก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของกิจการว่าจะมีบัญชีมากน้อยเท่าใด ถ้าเป็นกิจการขนาดเล็กก็จะกำหนดผังบัญชีเพียง 2 หลัก เช่น เงินสด เลขที่บัญชี 11 ลูกหนี้การค้า เลขที่ 12 เป็นต้น ประโยชน์ของเลขที่บัญชี จะใช้อ้างอิงการผ่านรายการจากสมุดรายวันไปยังบัญชีแยกประเภท และเพื่อความสะดวกในการค้นหาบัญชีต่างๆ

  18. การกำหนดเลขที่ประจำหมวดบัญชีเป็นดังนี้การกำหนดเลขที่ประจำหมวดบัญชีเป็นดังนี้ หมายเลข 1 แทนหมวดบัญชีสินทรัพย์ หมายเลข 2 แทนหมวดบัญชีหนี้สิน หมายเลข 3 แทนหมวดบัญชีส่วนของเจ้าของ หรือทุน หมายเลข 4 แทนหมวดบัญชีรายได้ หมายเลข 5 แทนหมวดบัญชีค่าใช้จ่าย

  19. ความหมายของสมุดบัญชีแยกประเภทความหมายของสมุดบัญชีแยกประเภท สมุดบัญชีแยกประเภทจัดเป็นสมุดบัญชีขั้นปลายที่จะใช้บันทึกรายการค้าต่าง ๆโดยในสมุดบัญชีแยกประเภทนี้จะช่วยแยกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกต่อการนำข้อมูลไปใช้ในการสรุปผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงินของกิจการโดยทั่วไปสมุดบัญชีแยกประเภทจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ1.สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger)    2.  สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger)

  20. สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป(General Ledger) บัญชีแยกประเภททั่วไปแบ่งออกได้ดังนี้  1.1 บัญชีประเภทสินทรัพย์ (Assets) หมายถึง บัญชีที่แสดงสินทรัพย์ที่กิจการเป็นเจ้าของแยกตามประเภทสินทรัพย์ เช่น บัญชีเงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินค้าคงเหลือ บัญชีวัสดุสำนักงาน บัญชีเครื่องใช้สำนักงาน บัญชีธนาคาร บัญชีที่ดิน เป็นต้น    1.2  บัญชีประเภทหนี้สิน (Liabilities) หมายถึง บัญชีที่แสดงมูลค่าของหนี้สินที่กิจการต้องชำระให้กับบุคคลภายนอก เช่น บัญชีเจ้าหนี้การค้า บัญชีเงินกู้ธนาคาร บัญชีค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บัญชีตั๋วเงินจ่าย เป็นต้น    1.3 บัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ (Owner’s equity) หมายถึง บัญชีที่แสดงส่วนของเจ้าของที่เพิ่มหรือลดลง ได้แก่ บัญชีทุน บัญชีถอนใช้ส่วนตัว บัญชีรายได้ บัญชีค่าใช้จ่าย

  21. สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) 2.1 สมุดแยกประเภทลูกหนี้เพื่อแยกลูกหนี้เป็นรายบุคล2.2 สมุดแยกประเภทเจ้าหนี้ เพื่อแยกเจ้าหนี้เป็นรายบุคคล

  22. ความหมายและรูปแบบของบัญชีแยกประเภทความหมายและรูปแบบของบัญชีแยกประเภท บัญชีแยกประเภท (Ledger Accounts) หมายถึง รูปแบบซึ่งรวบรวมการบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นไว้เป็นหมวดหมู่ ต่อจากสมุดรายวันทั่วไปรูปแบบบัญชีแยกประเภทที่นิยมใช้ มี 2 รูปแบบ       1. แบบตัว ที (T) ในภาษาอังกฤษ       2. แบบมีช่องยอดคงเหลือ

  23. รูปแบบของบัญชีแยกประเภทรูปแบบของบัญชีแยกประเภท มี 2 แบบคือ            (1) ชื่อบัญชี                                       (2) เลขที่บัญชี • แบบบัญชีมาตรฐาน (Standard Ledger Account Form)

  24. รูปแบบของบัญชีแยกประเภทรูปแบบของบัญชีแยกประเภท แบบบัญชีแสดงยอดคงเหลือ (Balance Ledger Account Form)   (1) ชื่อบัญชี                                     (2) เลขที่บัญชี

  25. ส่วนต่าง ๆ ของบัญชีแยกประเภท ส่วนต่าง ๆ ของบัญชีแยกประเภท มีดังนี้ • ชื่อบัญชี (Account Name) • เลขที่บัญชี (Account Number) • วันที่ (Date) • รายการ (Explanation) • หน้าบัญชี (Post reference) • เดบิต (Debit) • เครดิต (Credit) • ยอดคงเหลือ (Balance)

  26. การจัดหมวดบัญชี หมวดที่ 1     บัญชีหมวดสินทรัพย์หมวดที่ 2     บัญชีหมวดหนี้สินหมวดที่ 3     บัญชีหมวดส่วนของเจ้าของหมวดที่ 4     บัญชีหมวดรายได้หมวดที่ 5     บัญชีหมวดค่าใช้จ่าย

  27. ตัวอย่างแบบผังบัญชี

  28. ความหมายของการผ่านรายการความหมายของการผ่านรายการ การผ่านรายการ (Posting) คือการนำรายการค้ามาบันทึกในสมุดรายวันทั่วไปและผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้อง

  29. ขั้นตอนของการผ่านรายการขั้นตอนของการผ่านรายการ • ขั้นที่ 1  นำจำนวนเงินในสมุดรายวันทั่วไปไปใส่ช่องจำนวนเงินในบัญชีแยกประเภทให้ถูกต้อง • ขั้นที่ 2  กรอกรายการช่องวันที่ในบัญชีแยกประเภทโดยเขียนปี พ.ศ. ไว้ตอนบนแล้วเขียนชื่อเดือนตามด้วยวันที่ให้ตรงกับวันเดือนปีในสมุดรายวันทั่วไป • ขั้นที่ 3  ในช่องรายการในบัญชีแยกประเภทให้เขียนชื่อบัญชีตรงกันข้ามเป็นรายการอ้างอิงซึ่งกันและกัน • ขั้นที่ 4  ช่องหน้าบัญชีในบัญชีแยกประเภทให้เขียนตัวอักษรย่อของสมุดรายวัน คือ ร.ว. ภาษาอังกฤษ ใช้  J. แล้วตามด้วยเลขหน้าบัญชีของสมุดรายวันซึ่งรายการค้านั้น ๆ ได้บันทึกอยู่ในสมุดรายวันหน้านั้น • ขั้นที่ 5  กลับไปที่สมุดรายวันตรงช่องเลขที่บัญชีแยกประเภทเขียนเลขที่ของบัญชีแยกประเภทของรายการนั้น ๆ ลงในช่องเลขที่บัญชีของสมุดรายวัน

  30. ตัวอย่าง

  31. ศัพท์บัญชี

More Related