1 / 59

D isease C ontrol

D isease C ontrol. กลุ่มงานควบคุมโรค. ระบบควบคุมโรค สภาพปัญหา 1. ระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพตามระบบรายงาน 506 ยังไม่ครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา 2. ระบบรายงานเหตุการณ์ผิดปกติเพื่อปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่ทันต่อเหตุการณ์

Download Presentation

D isease C ontrol

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Disease Control กลุ่มงานควบคุมโรค

  2. ระบบควบคุมโรค สภาพปัญหา 1.ระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพตามระบบรายงาน 506 ยังไม่ครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา 2.ระบบรายงานเหตุการณ์ผิดปกติเพื่อปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่ทันต่อเหตุการณ์ 3.ศักยภาพของ SRRT (ขาดหัวหน้าทีม เปลี่ยนบ่อย) 4.ระบบเฝ้าระวังโรคที่ช่องทางเข้าออกประเทศและพื้นที่ชายแดนขาดประสิทธิภาพในการตรวจจับโรคและภัยสุขภาพ (ชายแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านมีระยะทาง 194 กิโลเมตร) 5.ขาดการบูรณาการระบบสุขภาพภายใต้สุขภาวะหนึ่งเดียว (One Health)

  3. มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน มาตรการ 1.ระบบเฝ้าระวังได้มาตรฐานและครอบคลุมทุกระดับ (อำเภอ/ตำบล) 2.ความรวดเร็วในการตอบโต้สถานการณ์/ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 2.1SRRT คุณภาพ 2.2ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (ICS) เป้าหมาย 1.ร้อยละของอำเภอสามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ 2.ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ 3.ร้อยละของ SRRT ระดับอำเภอสอบสวนและควบคุมโรคในโรคและกลุ่มอาการที่มีความสำคัญสูงระดับประเทศ วิธีการวัด ประเมินโดยกลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.เลย และ สคร.6 ขอนแก่น ผลลัพธ์อำเภอควบคุมโรคติดต่อสำคัญของประเทศ และควบคุมโรคติดต่อระหว่าง ประเทศได้ มาตรการระบบการควบคุมโรคและภัยพื้นที่ด่านท่าลี่ได้ตามมาตรฐาน IHR 2005

  4. โรคที่มีความสำคัญสูง (Priority disease) ประเทศไทย โรคที่มีความสำคัญสูง (Priority disease) โรคที่มีแนวโน้มเป็นภัยคุกคามในระดับประเทศ และ/หรือ ระดับนานาชาติ เนื่องจากเป็นโรคที่มีความรุนแรง มีอัตราป่วยหรือ อัตราป่วยตายสูง หรือแพร่กระจายได้รวดเร็ว อาจทำให้มีผลกระทบ ทางสังคมและเศรษฐกิจสูง ต้องการรายงานทันทีเพื่อแจ้งเตือน รวมทั้งออกสอบสวนและควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง หลังจาก ได้รับแจ้งผู้ป่วยสงสัย/เหตุการณ์สงสัย โดยไม่ต้องรอผลการตรวจ ทางห้องปฏิบัติการยืนยัน 1.อหิวาตกโรค 2.โบทูลิซึ่ม 3.การระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ (Food poisoning out break) 4.พิษสุนัขบ้า 5.ไข้เลือดออก 6.หัด 7.คอตีบ

  5. โรคที่มีความสำคัญสูง (Priority disease) (ต่อ) 8.กลุ่มอาการกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกเฉียบพลัน (Acute Flaccid paralysis :AFP) 9.บาดทะยักในทารกแรกเกิด 10.ไข้กาฬหลังแอ่น 11.ไข้สมองอักเสบและไข้สมองอักเสบเจแปนนิส (Encephalitis and Japanese Encephalitis) 12.ปอดอักเสบเฉียบพลันรุนแรง (Severe acute pneumonia) 13.อาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Adverse Event Following immunization : AEFI) 14.เสียชีวิตไม่ทราบสาเหตุขากโรคติดต่อร้ายแรง 15.เหตุการณ์การระบาดเป็นกลุ่มก้อน (Cluster of illnesses)

  6. ตัวชี้วัด KPI แหล่งข้อมูล 1.ร้อยละ ของอำเภอสามารถควบคุมโรค ประเมินโดย คร. ติดต่อที่สำคัญของพื้นที่ได้ 2.ร้อยละ ของอำเภอชายแดนสามารถ ประเมินโดย คร. ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญของพื้นที่ชายแดน 3.ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ประเมินโดย คร./ แบบยั่งยืนภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ สคร. 6ขก. (DHS)

  7. ตัวชี้วัด (ต่อ) KPI แหล่งข้อมูล 4.ร้อยละ ของ SRRT ระดับอำเภอ ประเมินโดย คร. สอบสวนและควบคุมโรคในโรคและ กลุ่มอาการที่มีความสำคัญสูงระดับ ประเทศ 5.ร้อยละของ รพ.ชายแดนและ รพ.เลย ประเมินโดย คร. มีฐานข้อมูลผู้ป่วยต่างด้าวตาม รง.506 6.ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ ประเมินโดย สคร.6/ ท่าลี่ผ่านเกณฑ์ประเมินตาม IHR 2005 กลุ่มงาน คร.

  8. แผนพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และสอบสวนโรค แผนการลดโรค (การควบคุมโรค) อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แผนลดโรค

  9. แผนพัฒนาระบบเฝ้าระวังระดับอำเภอแผนพัฒนาระบบเฝ้าระวังระดับอำเภอ สถานการณ์ ผลการดำเนินงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดเลย ในปี 2557 1.ความครอบคลุมการรายงานผู้ป่วยตามเกณฑ์ ร้อยละ 78.57 2.การสรุป/วิเคราะห์สถานการณ์โรคและเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 71.42 3.การสอบสวนควบคุมโรคได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ 85.71 4.ทีม SRRT ระดับอำเภอผ่านการประเมินรับรองมาตรฐาน ร้อยละ 100 (ผลงานสะสม 3 ปีเนื่องจากผลการรับรองฯมีอายุ 3 ปี) เป้าประสงค์ (Goal) มีระบบการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ อย่างมีประสิทธิภาพระดับอำเภอ โครงการ โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังป้องกันโรคและภัยสุขภาพ

  10. แผนงานเฝ้าระวังระดับอำเภอแผนงานเฝ้าระวังระดับอำเภอ มีระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ Setting วิธีการดำเนินงาน 1.ศูนย์ระบาดวิทยาระดับอำเภอดำเนินการดังนี้ 1.1 ส่งรายงานผู้ป่วย(รง.506)ต่อเนื่องอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 1.2 ส่งรายงานผู้ป่วย(รง.506)ทันเวลาภายใน 6 วันนับจากวันรับการรักษา 1.3 สรุปข้อมูล/วิเคราะห์สถานการณ์โรคติดต่อและเผยแพร่อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2.ทีมSRRTระดับอำเภอดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรคและกลุ่มอาการที่มีความสำคัญสูงระดับประเทศอย่างน้อย 1 เรื่องต่อปี Outcome Indicator 1.อำเภอมีทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)คุณภาพ 2.ความสำเร็จของการรายงานโรคเฝ้าระวังของศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ 3.ความสำเร็จของการสอบสวนและควบคุมโรคและกลุ่มอาการที่มีความสำคัญสูงระดับประเทศ Service Impact Process Indicator • 1.จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ผู้รับผิดชอบงานระดับอำเภอ • 2.จัดประชุมนำเสนอผลการสอบสวนโรคของSRRTและภาคีเครือข่าย • 3. จัดอบรมการสอบสวนโรคแก่ทีมSRRTระดับอำเภอ ศูนย์ระบาดวิทยาระดับอำเภอ/ทีมSRRT อำเภอ • ร้อยละของอำเภอที่มีทีม SRRT คุณภาพ ร้อยละ 100 • ร้อยละความครอบคลุมการรายงานโรคเฝ้าระวังของศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ ครอบคลุม ร้อยละ 80 • ร้อยละของการรายงานโรคเฝ้าระวังของศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอทันเวลาร้อยละ 80 • ร้อยละของศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอมีการสรุปข้อมูล/วิเคราะห์สถานการณ์โรคเฝ้าระวังและเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 • ร้อยละของทีมSRRTระดับอำเภอมีการสอบสวนและควบคุมโรคและกลุ่มอาการที่มีความสำคัญสูงระดับประเทศร้อยละ 60 มีการติดตามกำกับการส่งรายงานของศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ และประเมินรับรองมาตรฐานทีม SRRT ระดับอำเภอทุกปี

  11. แผนพัฒนาระบบเฝ้าระวังระดับตำบลและพื้นที่ชายแดน สถานการณ์ 1.ปี 2557 จ.เลยได้พัฒนาจัดตั้งทีม SRRT ระดับรพ.สต.ทุกแห่ง จำนวน 127 ทีม (เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการขับเคลื่อนอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน) 2.ผลการประเมินมาตรฐานทีมSRRT ระดับรพ.สต.ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 85.71 (ตัวแทนอำเภอ) เป้าประสงค์(Goal) มีระบบการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพระดับตำบล และ รพ.สต. ชายแดน โครงการ โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

  12. แผนงานเฝ้าระวังระดับตำบลและพื้นที่ชายแดนแผนงานเฝ้าระวังระดับตำบลและพื้นที่ชายแดน มีระบบเฝ้าระวังแลป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพระดับตำบล และ รพ.สต.ชายแดน วิธีการดำเนินงาน ทีม SRRTรพ.สต.ดำเนินการเฝ้าระวังดังนี้ 1.รายงานโรคและส่งรายงาน -- - ผู้ป่วยทุกรายที่เข้าได้กับนิยามโรคทางระบาดวิทยาให้รายงาน 506 ส่งศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ ภายใน 5 วัน นับจากวันที่พบผู้ป่วย 2.วิเคราะห์ข้อมูล มีการวิเคราะห์ข้อมูล อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน เพื่อตรวจสอบการความผิดปกติ 3.แจ้งข่าวการระบาด กรณีเป็นกลุ่มก้อนหรือเสียชีวิต ไปที่ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ 4.เฝ้าระวังและรายงานเหตุการณ์ผิดปกติผ่านระบบออนไลน์เครือข่าย SRRT ตำบลของสำนักระบาดวิทยา Outcome Indicator ระดับตำบลมีทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ( SRRT ) มีคุณภาพ Impact Process Indicator Service Setting 1.จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ผู้รับผิดชอบงานระดับอำเภอ 2. จัดประชุมชี้แจงการเฝ้าระวังและการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติแก่แกนหลักทีม SRRT ระดับรพ.สต. (บูรณาการกับประชุมสัญจร คร.) รพ.สต.ทุกแห่ง • ร้อยละ 60ของทีม SRRT ระดับรพ.สต./พื้นที่ชายแดน ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน • ร้อยละ 60 ของทีม SRRT ระดับรพ.สต./พื้นที่ชายแดน มีการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุขผ่านระบบออนไลน์ของสำนักระบาดวิทยา • ร้อยละ 80 แกนหลักทีม SRRT ระดับรพ.สต.ได้รับการประชุมชี้แจงเรื่องการเฝ้าระวังและการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ -มีการประเมินมาตรฐานทีม SRRT ,การรายงานการเฝ้าระวังเหตูการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุข และติดตามการขับเคลื่อนอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ระดับรพ.สต.

  13. แผนพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคพื้นที่ชายแดน (ผู้ป่วยลาว) สถานการณ์ โรงพยาบาลเลยและโรงพยาบาลตามแนวชายแดน (นาแห้ว ด่านซ้าย ท่าลี่ เชียงคาน ปากชม) มีการรายงาน 506 ครอบคลุมร้อยละ 100 โรคที่พบจำนวนผู้ป่วยสูงสุด 5 อับดับแรกได้แก่ อุจจาระร่วง ,ไข้ไม่ทราบสาเหตุ,ปอดบวม,ไข้เลือดออกและอาหารเป็นพิษ เป้าประสงค์(Goal) มีระบบการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ป่วยลาวอย่างมีประสิทธิภาพ โครงการ โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

  14. แผนงานเฝ้าระวังโรคพื้นที่ชายแดน (ผู้ป่วยลาว ) มีระบบเฝ้าระวังแลป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพพื้นที่ชายแดนอย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการดำเนินงาน Service Setting - รพ.เลยและรพ.ตามแนวชายแดน มีการรายงานผู้ป่วย ที่เข้าได้กับนิยามผู้ป่วยที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง. 506 ผู้ป่วยลาว )ส่งศูนย์ระบาดวิทยาจังหวัด สัปดาห์ละ 1 ครั้ง (ทุกวันจันทร์) กรณีสัปดาห์ที่ไม่มีผู้ป่วยให้ส่งรายงาน Zero Report Outcome Indicator ความสำเร็จของการเฝ้าระวังโรคติดต่อตามแนวชายแดน (ผู้ป่วยลาว) Impact Process Indicator - จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ผู้รับผิดชอบงานระดับอำเภอ และ รพ.(ประชุมสัญจร กลุ่มงาน คร.) รพ.เลยและรพ.ตามแนวชายแดนทุกแห่ง ร้อยละ 100 ของรพ.เลยและรพ.ตามแนวชายแดนมีระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง.506) ผู้ป่วยลาว และส่งรายงาน 506 ผู้ป่วยลาวทันเวลา

  15. แผนการลดโรค (ควบคุมโรค) 1.โรคตามนโยบายจังหวัด ต้องดำเนินการทุกโรค 1.1 โรคไข้เลือดออก 1.2 โรควัณโรค 1.3 โรคหัด 1.4 โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 1.5 โรคพยาธิใบไม้ตับ 2.โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ เลือกดำเนินการ 3 โรค 2.1 โรคไข้หวัดใหญ่ 2.2 โรคมือเท้าปาก 2.3 โรคพิษสุนัขบ้า 2.4 โรคไม่ติดต่อ

  16. โรคไข้เลือดออก สถานการณ์: ระดับประเทศ จำนวนผู้ป่วยสะสม DHF+DF+DSS ณ วันที่ 21 ต.ค. 2557 (สัปดาห์ที่ 41)จำนวนผู้ป่วย 29,925 รายจำนวนผู้ป่วยตาย 27 รายอัตราป่วยต่อแสนประชากร 46.31 รายอัตราตายต่อแสนประชากร 0.04 รายอัตราป่วยตาย (ร้อยละ) 0.09 ระดับจังหวัด จำนวนผู้ป่วยสะสม DHF+DF+DSS ณ วันที่ 26 ต.ค. 2557 (สัปดาห์ที่ 41)จำนวนผู้ป่วย 88 ราย อัตราป่วย 13.95 เป้าประสงค์(Goal) ทุกระดับมีระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก อย่างมีประสิทธิภาพ โครงการ:ควบคุมป้องกันโรคเลือดออก จังหวัดเลย ปี 2558

  17. แผนงานไข้เลือดออก อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากปี2557 อำเภอความคุมโรคเข้มแข็งอย่างยั้งยืน วิธีการดำเนินงาน Service Setting • 1.ระดับอำเภอ คปสอ.วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยาระดับตำบล (บุคคล สถานที่ เวลา) • 2.ดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกตามแนวทางการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานIntegrated Vector Management (IVM) • 3. การกำกับ ติดตามและประเมินผล • 4.รายงาน Outcome Indicator 1. อัตราป่วยน้อยกว่าร้อยละ8เทียบค่ามัธยฐาน 5ปี ย้อนหลัง(2552-52556) 2. อัตราป่วยตายเท่ากับ 0 Impact Process Indicator สสจ.สนับสนุน ความรู้ทางวิชาการ/วัสดุ/อุปกรณ์ ในการดำเนินงานควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ในกรณี จำเป็นหรือเร่งด่วน บ้านเรือนประชาชน/โรงเรียน/วัด/ศพด. 1.ร้อยละ100ของพื้นที่ทุกระดับ มีค่าHI น้อยกว่าหรือเท่ากับ10 และค่าCI เท่ากับ 0 2.ร้อยละ 100ของผู้ป่วยได้รับการสอบสวนโรคเฉพาะราย 3.ร้อยละ100ของพื้นที่ทุกระดับไม่มีผู้ป่วย secondary generation

  18. โรควัณโรค สถานการณ์วัณโรค ระดับประเทศ: ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนรักษาปี 2555 จำนวน 59,325 ราย อัตราป่วย 119 /แสน ระดับจังหวัด: -ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนวัณโรคใหม่ทั้งหมด ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2556 ถึง 30 กันยายน 2557 มี จำนวน 514 ราย อัตราป่วย81.49 /แสน -รายใหม่เสมหะพบเชื้อ จำนวน 262 ราย คิดเป็นร้อยละ 50.97 (41.54 ต่อประชากรแสนคน) -กระจายอยู่ทุกอำเภอ - กลุ่มอายุที่พบมากที่สุดคือ 65 ปีขึ้นไป ร้อยละ 23.28 รองลงมาคือ 45-54 ปีและ 35-44 ปี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 22.90 และร้อยละ 19.85 ตามลำดับ -เป็นผู้ป่วยใหม่เสมหะลบ จำนวน 128 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.90 -ผู้ป่วยกลับเป็นซ้ำ จำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.50 - ผู้ป่วยไม่มีผลเสมหะ 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.19 - ผู้ป่วยวัณโรคนอกปอด จำนวน 105 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.43

  19. โรควัณโรค ผลการรักษา (TreatmentOutcome) ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อขึ้นทะเบียนรักษาตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 – 30 กันยายน 2556 จำนวน 253 ราย รักษาหายและรักษาครบ จำนวน 223 ราย คิดเป็นร้อยละ 88.14 ผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 16 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.32 ขาดยา จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.37 อำเภอที่ผลการรักษาหายและรักษาครบที่สูงกว่าเป้าหมาย มี 6 อำเภอ คือ อำเภอด่านซ้าย (100%) อำเภอเมือง(97.78%) อำเภอเชียงคาน (95.83%) อำเภอปากชม(92.86%) อำเภอท่าลี่ (90%) และอำเภอผาขาว(89.66%) อำเภอที่มีผลการรักษาหายและรักษาครบต่ำกว่าเป้าหมาย มี 8 อำเภอ ได้แก่ อำเภอ ภูหลวง(88.89%) อำเภอนาด้วง(85.71%) อำเภอหนองหิน(85.71%) อำเภอภูเรือ(83.33%) อำเภอภูกระดึง(80.95%) อำเภอเอราวัณ(80%) อำเภอวังสะพุง(79.59%) และอำเภอนาแห้ว (71.43%)

  20. โรควัณโรค เป้าประสงค์ (Goal)  มีระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และ ภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ

  21. โรควัณโรค โครงการ  โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมวัณโรค ปี 2558 กิจกรรมดังนี้ 1. ประชุม DOT meeting 1.1 ติดตามการดำเนินงานวัณโรครายไตรมาส 1.2 ติดตามการใช้โปรแกรม TBCM 1.3 ติดตามการดำเนินงานคลินิกวัณโรคคุณภาพ 1.4 ให้ความรู้เรื่องวัณโรคในเด็กโดยกุมารแพทย์ 2. ประเมินมาตรฐานคลินิกวัณโรคคุณภาพ 2.1 ประชุมคณะทำงานประเมินมาตรฐานคลินิกวัณโรคคุณภาพ 2.2 คลินิกวัณโรคประเมินตนเอง 2.3 ประเมินมาตรฐานคลินิกวัณโรคคุณภาพโดยทีม สคร.6 ขอนแก่น/ทีมจังหวัด 3. ติดตามการดำเนินงานวัณโรคตามแนวชายแดน

  22. แผนการควบคุมวัณโรค อัตราป่วยโรควัณโรคลดลงจากปี 2557 วิธีการดำเนินงาน Service Setting ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการขึ้นทะเบียน ทุกราย 2. Risk Management 3. รักษาตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ พ.ศ. 2556 (NTP guidelines) 4. Non family DOT 5. เยี่ยมบ้านตามเกณฑ์คุณภาพ 6. คัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรคปอด 7. สรุปรายงาน Outcome Indicator 1. อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อ ร้อยละ 90 ขึ้นไป 2. อัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อ น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 5 3. อัตราการขาดการรักษาในผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อ น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 1 Impact Process Indicator 1. คัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรคปอด 2. DOT 3. เยี่ยมบ้าน 4. DOT meeting • -คลินิกวัณโรค • รพ. • รพ.สต. • ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรค ได้รับการกำกับติดตาม ร้อยละ 100 • ร้อยละของคลินิกวัณโรคผ่านมาตรฐานคลินิกวัณโรคคุณภาพ ร้อยละ 100

  23. โรคหัด • สถานการณ์ • - จำนวนผู้ป่วยโรคหัดจังหวัดเลย ปี 2548-2557(27 ตค 2557) • - ความครอบคลุมวัคซีนป้องกันโรคหัดจังหวัดเลยปี 2557

  24. โรคหัด(ต่อ) เป้าประสงค์ (Goal) มีระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุม โรคหัดอย่างมีประสิทธิภาพ โครงการ พัฒนาการดำเนินงานสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรคจังหวัดเลยปี 2558

  25. แผนงานโรคหัด อัตราป่วยด้วยโรคหัดไม่เกินมัธยฐาน 5 ปี วิธีการดำเนินงาน Service Setting • รพ./รพ.สต. ดำเนินการ • 1.ให้บริการวัคซีนป้องกันโรคหัดแก่เด็กอายุ 9-12 เดือน • 2.รณรงค์ให้วัคซีน MMR2 แก่เด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน ถึง 6 ปี • 3. ให้วัคซีน MMR นักเรียนป.1 ทุกคน • ให้ความรู้ในการเฝ้าระวังป้องกันโรคแก่ประชาชน • เฝ้าระวังโรค หากรพ.สต.พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด ให้ส่งไปรพ.เพื่อตรวจ Lab • รพ.เก็บตัวอย่างผู้ป่วยสงสัยส่งตรวจทุกรายและบันทึกข้อมูลในฐานสำนักระบาด • 7. สอบสวนและควบคุมโรคหัด กรณีเกิดโรคทุกราย Outcome Indicator อัตราป่วยโรคหัดไม่เกิน 0.16 ต่อประชากรแสนคน Impact Process Indicator 1.จังหวัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน 2.จังหวัด/ อำเภอ ติดตามกำกับข้อมูลความครอบคลุมวัคซีนกลุ่มเป้าหมาย 3.ประสานนำส่งตัวอย่างทางห้องปฏิบัติการ 4.จังหวัด/อำเภอ ติดตามสอบสวนและควบคุมโรค ทุกราย รพ./รพ.สต./โรงเรียน/หมู่บ้าน • ร้อยละของเด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีน MMR1 ร้อยละ95 ขึ้นไป รายตำบล • ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน ถึง 6 ปี ได้รับวัคซีน MMR2 ร้อยละ 95 ขึ้นไป รายตำบล • ร้อยละของนักเรียนป.1 ได้รับวัคซีน MMR ร้อยละ 95 ขึ้นไปรายโรงเรียน • ร้อยละของอำเภอสามารถสอบสวนและควบคุมโรคหัดไม่ให้เกิด genalation 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

  26. โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สถานการณ์ - จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนจังหวัดเลย ปี 2548 – 2557(27 ตค 57)

  27. โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน • สถานการณ์ • ข้อมูลความครอบคลุมวัคซีนพื้นฐานจังหวัดเลย ปี 2557

  28. โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน(ต่อ)โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน(ต่อ) เป้าประสงค์ (Goal) มีระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่ป้องกันได้ ด้วยวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพ โครงการ พัฒนาการดำเนินงานสร้าง เสริมภูมิคุ้มกันโรค จังหวัดเลย ปี 2558

  29. แผนงานโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนแผนงานโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ลดอัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน วิธีการดำเนินงาน Service Setting 1.สำรวจและบันทึกข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย(เด็ก 0- 5 ปี , หญิงตั้งครรภ์,นักเรียน) ในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม 2.ให้บริการวัคซีนตามเทคนิคให้บริการ 3.มีระบบนัดหมายและติดตามผู้ไม่มาตามนัด 4.บันทึกข้อมูลวัคซีนในฐาน รวมทั้งติดตามประวัติ กรณีได้รับจากที่อื่น 5.ส่งฐานข้อมูลความครอบคลุมให้จังหวัดทุกสัปดาห์ 6.ตรวจความครอบคลุมวัคซีนกลุ่มเป้าหมายในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม เดือนละครั้ง และติดตามเก็บตกรายที่ไม่ได้รับให้ครบทุกราย 7.พัฒนามาตรฐานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 8.สอบสวนควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนทุกราย Outcome Indicator 1.กวาดล้างโรคโปลิโอ 2.ไม่พบผู้ป่วยโรคคอตีบ ,โรคไอกรน, ไข้สมองอักเสบเจอีและบาดทะยักในทารกแรกเกิด Impact Process Indicator 1.จังหวัดประชุมชี้แจงการดำเนินงาน จังหวัด/อำเภอ มีการติดตามกำกับข้อมูลความครอบคลุมวัคซีน 2.จังหวัด/อำเภอ มีการติดตามกำกับข้อมูลความครอบคลุมวัคซีน 3. ประเมินมาตรฐานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค - จังหวัด ประเมิน รพ.ทุกแห่ง /สุ่ม รพ.สต. 30 % - คปสอ.ประเมิน รพ.สต.ทุกแห่ง 3.สอบสวนควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนทุกราย รพ./รพ.สต./โรงเรียน/หมู่บ้าน 1.ร้อยละของเด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีน BCG,HB1, DTP-HB3, OPV3 ร้อยละ90 ขึ้นไป รายตำบล 2.ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ได้รับวัคซีน DTP4 ,OPV4 ,JE2 ร้อยละ 90 ขึ้นไป รายตำบล 3.ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ได้รับวัคซีน JE3 ร้อยละ 90 ขึ้นไป รายตำบล 4.ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5 , OPV5 ร้อยละ 90 ขึ้นไป รายตำบล 5.ร้อยละของสถานบริการฯ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

  30. โรคพยาธิใบไม้ตับ/มะเร็งตับ/ท่อน้ำดี สถานการณ์ 1.ความชุก OV ปี 2537, 2550, 2552, 2554, 2556 17.19, 21.21, 5.2, 13.18, 15.16 2.อัตราตาย ปี มะเร็งท่อน้ำดี มะเร็งตับ 2552 3.55 21.94 2553 5.11 21.99 2554 7.87 28.91 2555 6.38 28.22 2556 6.50 30.44

  31. เป้าประสงค์ (Goal) 1.อัตราความชุกโรคพยาธิใบไม้ตับ (OV) ไม่เกินร้อยละ 10 2.อัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งตับลดลง (จากปีที่ผ่านมาร้อยละ 5) แบบคัดกรองหากลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งตับและท่อน้ำดี 1.อายุ 40 ปี ขึ้นไป 2.เคยตรวจพบพยาธิใบไม้ตับ (OV+) 3.บุคคลในครอบครัวที่มีประวัติป่วยหรือเสียชีวิตด้วยมะเร็งตับ หรือมะเร็งท่อน้ำดี 4.มีประวัติป่วยเป็นไวรัสตับอักเสบบี 5.เป็นผู้ป่วยกลุ่มพิษสุราเรื้อรัง การแปลผล ถ้าใช่ข้อ 2-5 ข้อใดข้อหนึ่ง ถือเป็นกลุ่มเสี่ยง ให้ส่งตรวจ Ultrasound

  32. สรุปผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี (มิถุนายน-กรกฏาคม2557) อำเภอ เสี่ยง (คน) (เป้าหมายทำ U/S) เมือง 2594 นาด้วง 75 เชียงคาน 38 ปากชม 444 ด่านซ้าย 686 นาแห้ว 201 ภูเรือ 220 ท่าลี่ 30 วังสะพุง 2395

  33. สรุปผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี (มิถุนายน-กรกฏาคม2557) อำเภอ เสี่ยง (คน) (เป้าหมายทำ U/S) ภูกระดึง 28 ภูหลวง 499 ผาขาว 1627 เอราวัณ 1129 หนองหิน 249 รวม 10,215 โครงการลดโรคพยาธิใบไม้ตับ มะเร็งตับ/ท่อน้ำดี

  34. แผนงานลดโรคพยาธิใบไม้ตับ มะเร็งตับ/ท่อน้ำดี อัตราความชุกของ OV ไม่เกินร้อยละ 10 และอัตราตายด้วยโรคมะเร็งตับลดลง ร้อยละ 5 ในปี 2558 วิธีการดำเนินงาน Service Setting คัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้วย U/S 1.อำเภอวางแผนการนำกลุ่มเสี่ยงมาตรวจ U/S 2.อำเภอวางแผนการจัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงระดับอำเภอ/รพ./รพ.สต. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1.ตำบลต้นแบบ 2.มีการใช้หลักสูตรพยาธิใบไม้ตับ มะเร็งตับ/ท่อน้ำดีในโรงเรียน การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง Outcome Indicator 1. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับต่อประชาการแสนคน ลดลงร้อยละ 5 เปรียบเทียบกับปี 2557 2. อัตราความชุกของ OV ไม่เกิน ร้อยละ 10 (จังหวัดใช้ข้อมูลในปี 2557) Impact Process Indicator • - ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงได้รับข้อมูลเรื่องสุขภาพ • วิเคราะห์จำแนก เพื่อดูแลรักษา/ ส่งต่อ/Pall. • พัฒนระบบ/ ฐานข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง • การดูแลตัวเองและสนับสนุนกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รพ./รพ.สต. • ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองด้วย Ultrasoundไม่น้อยกว่า 60 • มีตำบลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคพยาธิใบไม้ตับ มะเร็งตับ/ท่อน้ำดี จำนวน 1 ตำบล ต่อ 1 อำเภอ • 3. มีการใช้หลักสูตรพยาธิใบไม้ตับ มะเร็งตับ/ท่อน้ำดี จำนวน 1 โรงเรียน ต่อ 1 รพ.สต. หรือ 1 รพ. • 4. ทุกโรงพยาบาลมีระบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับ/ท่อน้ำดีในระยะสุดท้าย (เก็บข้อมูลจากกลุ่มพัฒนาคุณภาพ) - ประเมินเพื่อการดูแลระยะยาวตามสุขภาพและร่วมมือกับท้องถิ่นเพื่อดูแลสังคม - พัฒนาเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูล

  35. โรคไข้หวัดใหญ่ สถานการณ์ ระดับประเทศ: ณ 26 ส.ค.58 ผู้ป่วย 321 ราย อัตราป่วย51.37 /แสน ระดับจังหวัด:ตั้งแต่ 1 ม.ค.-28 ส.ค.57 มีผู้ป่วย 325 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 51.53 /แสน เป้าประสงค์ (Goal) พื้นที่ทุกระดับมีระบบเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่อย่างมีประสิทธิภาพ โครงการ:โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

  36. แผนงานลดโรคไข้หวัดใหญ่แผนงานลดโรคไข้หวัดใหญ่ Service Setting วิธีการดำเนินงาน มีระบบตอบโต้โรคไข้หวัดใหญ่อย่างมีประสิทธิภาพ ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ดำเนินการตามระบบเฝ้าระวังดังนี้ 1.ระบบบริหารจัดการ 2.ระบบปฏิบัติการ 3.ระบบสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Outcome Indicator ร้อยละ 25ของประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ Impact Process Indicator 1.เฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่(ILI) 2.ให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประชากรและบุคลากรกลุ่มเสี่ยง 1.ร้อยละ 100 ของ รพ. มีการสำรองวัสดุอุปกรณ์ในการควบคุมโรค 2.ร้อยละ100ของอำเภอมีศูนย์ปฏิบัติการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 3.ร้อยละ100ของอำเภอมีการซ้อมแผนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 4.ร้อยละ100 ของอำเภอมีข้อมูลกลุ่มเป้าหมายและบุคลากรกลุ่มเสี่ยง

  37. โรคมือ เท้า ปาก สถานการณ์ระดับประเทศ ณ วันที่ 23 กันยายน 2557 จำนวนผู้ป่วย 53,519 ราย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วย 83.52/แสน. อัตราป่วยตายร้อยละ0.001 ระดับจังหวัด ณ 29 กันยายน 2557 ผู้ป่วย 804 ราย อัตราป่วย127.47/แสน เป้าประสงค์ (Goal)พื้นที่ทุกระดับมีระบบเฝ้าระวัง ควบคุม ป้อง กันโรคมือ เท้า ปากอย่างมีประสิทธิภาพ โครงการ:โครงการควบคุมป้องกันโรคมือเท้าปาก

  38. แผนงานลดโรคมือ เท้า ปาก เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปากลดลง วิธีการดำเนินงาน Service Setting 1.การดำเนินการล่วงหน้า 2.การควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ 3.การเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคอย่างมีส่วนร่วม 4.การสนับสนุนการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข Outcome Indicator อัตราป่วยโรคมือเท้าปากในเด็กต่ำกว่า 5 ปี ต่ำกว่าปีที่ผ่านมา 1.สอบสวน/ควบคุมโรคภายใน24-48 ชม. 2.เก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์กรณีมีผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน โรงเรียน/ศพด. ทุกแห่ง Impact Process Indicator ร้อยละ100ของโรงเรียน/ศพด.มีการดำเนินงานตามมาตรการ กรณีป่วยทุกเหตุการณ์ต้องได้รับการสอบสวน/ควบคุมโรคอย่างถูกต้อง

  39. จำนวนผู้เสียชีวิตโรคพิษสุนัขบ้าของประเทศไทยและจังหวัดเลย ปี 2546-2557 ประเทศ จ.เลย ปี พ.ศ. หมายเหตุ ทั่วโลก 50,000 ราย

  40. จำนวนผู้ป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้าจังหวัดเลย ปี 2537-2551 ปี พ.ศ. จำนวน (คน) 2537 1 2538 2 2539 0 2540 0 2541 0 2542 0 2543 0

  41. ปี พ.ศ. จำนวน (คน 2544 0 2545 0 2546 1 2547 0 0 0 0 1 -ปัจจุบัน 0

  42. จังหวัดเลย ด้านสัตว์ 1.หัวสัตว์ตรวจพบเชื้อ จำนวน 15 หัว (ด่านซ้าย 4 หัว และท่าลี่ 11 หัว 2.ฐานประชากรสุนัขและแมวไม่เป็นปัจจุบัน 3.ความครอบคลุมวัคซีนในประชากรสุนัขและแมวไม่ถึง ร้อยละ 80 ด้านคน 1.ประชาชนผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้ายังล้างแผลไม่ถูกต้อง 2.ประชาชนยังขาดความเข้าใจในเรื่องการเฝ้าระวังอาการ สุนัขและแมวที่สัมผัสโรค 3.ประชาชนยังขาดความเข้าใจเรื่องการไปพบแพทย์ 4.ขาดการส่งต่อข้อมูลเรื่องสุนัข (ปศุสัตว์) การนัดไปฉีดวัคซีน (รพ. ผู้ให้บริการ กับพื้นที่สัมผัสโรค) 5.ขาดการใช้ประโยชน์จาก ร.36 ข้อมูลผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 6.การมีและใช้แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2556

  43. แผนงานลดโรคพิษสุนัขบ้าแผนงานลดโรคพิษสุนัขบ้า ไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า พื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า วิธีการดำเนินงาน Service Setting โรงพยาบาล ใช้แนวทางเวชปฏิบัติ จัดทำฐานข้อมูลผู้สัมผัสตาม ร.36 ให้ความรู้ ปชช. (ล้างแผล ขังหมา หาหมอ) ส่งต่อข้อมูล ปศุสัตว์/สสอ./รพ.สตติดตามผู้สัมผัสมารับวัคซีน สสอ.ผลักดัน/ร่วมมือจัดทำ MOU กำกับให้มีการดำเนินงานตาม MOU รพ.สต. ร่วมบริหารจัดการในการสำรวจประชากรสุนัขและแมว ร่วมมือสร้าง RFZ ให้สุขศึกษา และติดตามผู้สัมผัส Outcome Indicator ผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าตามแนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2556 ทุกราย Impact โรงพยาบาล/สสอ./รพ.สต./อปท. 1.การเข้าถึงวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในกลุ่มผู้สัมผัสโรค 2.การเข้าถึงวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของประชากรสุนัขและแมว Process Indicator ความสำเร็จของการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าระดับอำเภอ (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ร้อยละ 51-60 ได้ 1 คะแนน ร้อยละ 61-70 ได้ 2 คะแนน ร้อยละ 71-80 ได้ 3 คะแนน ร้อยละ 81-90 ได้ 4 คะแนน ร้อยละ 91-100 ได้ 5 คะแนน ร่วมวางแผนจัดบริการเชิงรุกสู่ชุมชนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

  44. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง สถานการณ์ ปี 2554 2555 2556 2557 ภูหลวง เมือง ผาขาว เอราวัณ ด่านซ้าย ปากชมภูเรือ

  45. เป้าประสงค์ (Goal) อัตราป่วยและตายด้วยโรคตามนโยบายจังหวัดลดลง ไข้เลือดออก วัณโรค หัด โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคพยาธิใบไม้ตับ มะเร็งตับ/ท่อน้ำดี อัตราป่วยและตายด้วยโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ลดลง (เลือก ดำเนินการ 3 โรค) ไข้หวัดใหญ่ มือ เท้า ปาก พิษสุนัขบ้า โรคไม่ติดต่อ

  46. แผนงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนแผนงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน อัตราป่วยและตายด้วยโรคตามนโยบายจังหวัดและโรค ที่เป็นปัญหาของพื้นที่ลดลง อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน วิธีการดำเนินงาน Service Setting 1.คณะกรรมการระดับอำเภอประเมินตนเอง ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) 5 ด้าน 5 ระดับ ต้องผ่านระดับ3 2.แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนอำเภอควบคุม โรคเข้มแข็ง 3.คณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงาน และ ประเมินผลสำเร็จ 2 ครั้ง กพ.พค. 4.จังหวัด/สคร.6 ขอนแก่น ประเมินรับรอง Outcome Indicator อัตราป่วยและตายด้วยโรคตามนโยบายจังหวัดและโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ลดลงตามเกณฑ์ตัวชี้วัดผลสำเร็จของการควบคุมโรค ภายใต้กรอบแนวคิดอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน Impact 1.ระดับอำเภอ คณะกรรมการควบคุมโรคระดับอำเภอ 2.ระดับตำบล รพ.สต. อปท. 3.ระดับชุมชน อสม. 1.จังหวัดออกชี้แจง 2.อำเภอดำเนินการขับเคลื่อนตามคุณลักษณะแก่เครือข่ายทุกภาคส่วน Process Indicator อำเภอมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งอย่างน้อย 80 คะแนนขึ้นไป จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ร่วมวางแผนงานขับเคลื่อนอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนตามคุณลักษณะที่กำหนด

  47. งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

  48. เป้าหมายหลัก กวาดล้างโรคโปลิโอ กำจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด ลดอัตราป่วย/ตายของโรคหัด ----> กำจัดโรคหัด รักษาระดับความครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90 ดูแลรักษาระบบลูกโซ่ความให้มีประสิทธิภาพ ฝึกอบรมบุคลากรด้านสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระดับต่างๆ เฝ้าระวังและรายงานอาการภายหลังได้รับวัคซีน

  49. ยุทธศาสตร์ งานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค • เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนครบชุด ทุกชนิดในประชากรกลุ่มเป้าหมายให้เกินกว่าร้อยละ 90 ในทุกพื้นที่ • (ยกเว้น MMR เกินกว่าร้อยละ 95) • ยกระดับมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมฯ ในสถานบริการทุกระดับ (ทั้ง 3 ด้าน คือ มาตรฐานการให้บริการ, มาตรฐานการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น และมาตรฐานการบันทึกข้อมูล)

  50. Current EPI Schedule

More Related