300 likes | 469 Views
หยุดคอร์รัปชั่น หยุด “วิกฤตพลังงาน”. ชื่นชม สง่าราศรี กรีเซน เสวนาเรื่อง “วิกฤตไฟฟ้า วิกฤตพลังงาน เรื่องจริงหรืออิงมายา” 11 มีนาคม 2556 สำนักงานกลางนักเรียนคริสเตียน กทม. ก๊าซจากยาดานาและเยตะกุนหายไปทำให้โรงไฟฟ้าหายไป 4100 MW จริงหรือ. กำลังผลิตที่ได้รับผลกระทบ.
E N D
หยุดคอร์รัปชั่นหยุด“วิกฤตพลังงาน”หยุดคอร์รัปชั่นหยุด“วิกฤตพลังงาน” ชื่นชม สง่าราศรี กรีเซน เสวนาเรื่อง “วิกฤตไฟฟ้า วิกฤตพลังงาน เรื่องจริงหรืออิงมายา” 11 มีนาคม 2556 สำนักงานกลางนักเรียนคริสเตียน กทม.
ก๊าซจากยาดานาและเยตะกุนหายไปทำให้โรงไฟฟ้าหายไป 4100 MW จริงหรือ
กำลังผลิตที่ได้รับผลกระทบกำลังผลิตที่ได้รับผลกระทบ ที่มา: กฟผ. เอกสารประกอบการบรรยาย “การดำเนินงานและมาตรการรองรับแหล่งยาดานาหยุดจ่ายก๊าซ5-14 เมษายน 2556” ที่จ.อุบลราชธานี วันที่ 8/3/2556 RB-T Unit 1&2 (1,440 MW) สามารถเปลี่ยนเป็นน้ำมันเตาล้วน ประเมินความสามาถเปลี่ยนเชื้อเพลิง Combine Cycle ที่ค่าสถิติ 50% WN-CC3 (649 MW) HHV ที่เดินเครื่องได้ 890-980 BTU/SCF
North Bangkok No. 1 ที่มา http://www.egat.co.th/images/stories/interest/flap/north-no1.pdfAccessed on 10/3/2556.
Wang Noi ที่มา http://www.egat.co.th/images/stories/interest/flap/wangnoi_powerplant.pdf Accessed on 10/3/2556.
โรงไฟฟ้า IPP ทั้ง 3 มีเชื้อเพลิงสำรองอยู่แล้ว:ข้อเท็จจริงตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า • ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (ระหว่าง กฟผ. และ ราชบุรี/TECO/ ราชบุรีเพาเวอร์)ข้อที่ 9.4.2 และ 9.4.4: • โรงไฟฟ้าราชบุรี ราชบุรีเพาเวอร์และ Teco สามารถใช้เชื้อเพลิงสำรอง (high-speed diesel) ซึ่งต้องมีเก็บสำรองอยู่แล้วตามเงื่อนไขสัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่ทำไว้กับ กฟผ. • คลังเชื้อเพลิงสำรองมีปริมาตรความจุเพียงพอสำหรับการผลิตที่กำลังผลิตสูงสุดเป็นเวลาอย่างน้อย 3 วัน และ กฟผ. สามารถที่จะจัดหาเชื้อเพลิงสำรองเพิ่มเติมทดแทนส่วนที่พร่องไปเพื่อให้โรงไฟฟ้าผลิตไฟฟ้าได้ต่อเนื่องแม้ก๊าซพม่าจะหยุดส่งเกิน 3 วัน
ตัวอย่างบางส่วนของ PPA (Power Purchase Agreement) ระหว่าง กฟผ. และผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนที่ใช้ก๊าซเป็นเชื้อเพลิง
กำลังผลิตที่ได้รับผลกระทบกำลังผลิตที่ได้รับผลกระทบ ??? Incompetence or intent on building more plants? ข้อมูล กฟผ. ขัดแย้งกันเอง ที่มา: กฟผ. เอกสารประกอบการบรรยาย “การดำเนินงานและมาตรการรองรับแหล่งยาดานาหยุดจ่ายก๊าซ5-14 เมษายน 2556” ที่จ.อุบลราชธานี วันที่ 8/3/2556 RB-T Unit 1&2 (1,440 MW) สามารถเปลี่ยนเป็นน้ำมันเตาล้วน ประเมินความสามาถเปลี่ยนเชื้อเพลิง Combine Cycle ที่ค่าสถิติ 50% WN-CC3 (649 MW) HHV ที่เดินเครื่องได้ 890-980 BTU/SCF
Peak Load ช่วงหยุดจ่ายก๊าซ • วันหยุดต่อเนื่อง 3 วัน 6-8 เม.ย • 6 เม.ย. วันจักรี • 8 เม.ย. วันหยุดชดเชยวันจักรี คาดการณ์ Peak Load 26,500 MW ณ 4 เม.ย. 56 ที่มา: กฟผ. เอกสารประกอบการบรรยาย “การดำเนินงานและมาตรการรองรับแหล่งยาดานาหยุดจ่ายก๊าซ5-14 เมษายน 2556” ที่จ.อุบลราชธานี วันที่ 8/3/2556
กำลังผลิตสำรอง ช่วงหยุดจ่ายก๊าซ 5- 14 เมษายน 2556 1,200 MW 700 MW 767 • ประเมินความสามาถเปลี่ยนเชื้อเพลิง Combine Cycle ที่ค่าสถิติ 50% 11
กำลังผลิตไฟฟ้าพร้อมจ่ายช่วงหยุดจ่ายก๊าซ เมษายน 2556 • กำลังผลิตติดตั้ง 33,056 MW • Derate - 1,890 MW • Non-Dispatch - 670 MW • เหลือกำลังผลิตพร้อมจ่าย 30,496 MW • Peak Load ช่วงหยุดจ่ายก๊าซ 26,500 MW • เหลือกำลังผลิตสำรอง 4,000 MW • กำลังผลิตสำรอง = 15%
ข้อสรุป “ไฟจะไม่พอเมื่อก๊าซพม่าหยุดส่ง?” • เรามีกำลังผลิตเพียงพอต่อการรักษาความมั่นคงของระบบ
จำเป็นไหมที่จะต้องหยุดซ่อมช่วงพีค?จำเป็นไหมที่จะต้องหยุดซ่อมช่วงพีค? • ไม่จำเป็น และจริงๆควรหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้กระทบความมั่นคงระบบและภาระค่าไฟฟ้ามากนัก 4000 MW ที่มา: EPPO, http://doc-eppo.eppo.go.th/DivStrategy/Electricity/PeakEGAT.ppt
การหยุดซ่อมช่วงพีคของแหล่งก๊าซพม่าไม่ได้เกิดขึ้นครั้งนี้เป็นครั้งแรก: ตัวอย่างที่เกิดขึ้นเมื่อปีที่แล้ว • ระหว่างวันที่ 8-17 เมษายน 2555 แหล่งก๊าซเยตากุน สหภาพพม่าหยุดซ่อม ทำให้ก๊าซพม่าทั้งหมดต้องหยุดส่งไทยรวม 1,100 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ทำให้ปริมาณสำรองไฟฟ้าของไทยต่ำกว่าปกติ และต้องใช้น้ำมันเตาและน้ำมันดีเซลเพิ่มขึ้น มีผลให้ค่าไฟฟ้า Ft รอบบิลกันยายน-ธันวาคม ปรับขึ้นอย่างน้อย 5 สตางค์ต่อหน่วย นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ปลัดกระทรวงพลังงานกล่าว* *ที่มา พม่าป่วนหยุดส่งก๊าซไทย'กฟผ.'ขึ้นค่าไฟทันที5ส.ต. มติชน ฉบับวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2555
ทำไมไม่เจรจาเลื่อนเป็นช่วงหน้าหนาว?ทำไมนิ่งเงียบกว่า 10 เดือนแล้วจู่ๆก็มาประกาศภาวะฉุกเฉิน(พร้อมงบ PR 65 ล้าน)? นายภาณุ สุทธิรัตน์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานจัดหาและตลาดก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า "พม่าแจ้งขอหยุดซ่อมช่วงเดือนมี.ค.ล่วงหน้ากว่า 1 ปี” (กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2556)
วิกฤตธรรมาภิบาล • “วิกฤตพลังงาน” = “ดราม่า”เกินจริงที่ดูเหมือนจะจงใจสร้าง? • วิกฤตจริง = วิกฤตธรรมาภิบาลและการคอร์รัปชั่น(เชิงนโยบาย) อย่าง“ไร้รอยต่อ” (หรือไม่ก็เป็น วิกฤตจากความด้อยสมรรถภาพหรือความเพิกเฉยอย่างรุนแรง)
วิกฤตในภาคพลังงาน เพื่อนำไปสู่การสร้างกำไร/โอกาสทางธุรกิจของคนเฉพาะกลุ่ม
EGAT “ยิ่งไร้ประสิทธิภาพ ยิ่งได้สร้างโรงไฟฟ้า ยิ่งมีกำไร” Return on Invested Capital ใช้ผลตอบแทนจากเงินลงทุนเป็นเกณฑ์หลักในการกำหนดค่าไฟฟ้า ทำให้ยิ่งลงทุนมาก ยิ่งกำไรมาก • ให้ข้อมูลขัดแย้ง • “Derate” • ไม่รักษาผลประโยชน์ตามสัญญา PPA,GSA • ผูกขาด “เสือนอนกิน” • ค้ากำไรผ่านบริษัทลูก ซึ่งขายไฟให้ กฟผ. (ผลประโยชน์ทับซ้อน) 5.8%
PTT/ • PTTEP ผลประโยชน์ทับซ้อน • สัญญา Yadana Export Gas Sales Agreement* ระหว่าง ปตท.กับผู้รับสัมปทานแหล่งก๊าซยาดานา (ซึ่งมีบริษัทลูก ปตท. คือ ปตท.สผ. เป็นผู้ร่วมทุน 25.5%) • การหยุดซ่อม มี 3 กรณี • Preventative Maintenance (≤1 ครั้งต่อปี) • Exceptional major works: “consist in the installation of compressors or tie-in of other fields into the pipeline systems.” • Force Majeure (เหตุสุดวิสัย) • “Preventative maintenance” ข้อ 6.14(iv): ในช่วงที่หยุดซ่อม จะต้องจัดส่งก๊าซให้กับไทยไม่ต่ำกว่า 50% ของปริมาณจัดส่งตามสัญญา • ข้อ 15.2: “หากไม่สามารถส่งก๊าซได้ตามสัญญา ปตท.ได้สิทธิ์ซื้อก๊าซเฉพาะในส่วนที่ขาดหายไปภายหลังได้ในราคาที่ลดลง 25% *อ่านสัญญาฉบับเต็มได้ที่: http://www.earthrights.org/sites/default/files/documents/1010.pdf
ปี 2555 • เยตะกุนหยุดซ่อม (เม.ย.) • บงกชขัดข้อง (ต.ค.), ท่อ JDA รั่ว (ธ.ค.) ที่มา: กฟผ. และ http://www.bangkokbiznews.com/home/media/2012/07/23/attachfile/news_attach_462876_3.pdf
บิดเบือนข้อเท็จจริง • “ดราม่า” สร้างความตื่นตระหนก กระทบชื่อเสียงประเทศ • ใช้ภาษีประชาชน PR ทำการตลาดให้ธุรกิจพลังงาน • ก. พลังงาน
กกพ./สกพ. = ตรายางราคาแพง? • อนุมัติขึ้นค่า Ft โดยไม่ตรวจสอบสัญญาต่างๆ ? • อนุมัติเก็บค่าผ่านท่อโดยไม่ตรวจสอบงบบำรุงรักษาท่อและกำหนดมาตรฐานคุณภาพบริการ ? • มาตรฐานความโปร่งใสและการเปิดเผยข้อมูลแย่ลงกว่าก่อนที่ไม่มีองค์กรกำกับ • ปกป้อง ปตท. มากกว่าผู้บริโภค? • กกพ./สกพ.
ประเทศพึ่งพาก๊าซมากไป...ประเทศพึ่งพาก๊าซมากไป... • แต่ทำไม“ล็อคสเปค” ประมูล IPP • เฉพาะ IPP ก๊าซ • ก๊าซเสี่ยง มีไม่พอใช้ แต่มุ่งจะนำเข้า LNG จากตะวันออกกลางราคาแพงเท่าตัว • ทำไมไม่เปิดโอกาสให้ทางเลือกที่มีความหลากหลาย ได้มีโอกาสแข่ง • Energy Efficiency ถูกที่สุด • Renewable energy สะอาดกว่าและราคาแข่งขันได้ (คำนึงถึงต้นทุนระบบส่งด้วย) • Cogeneration/CHP ประสิทธิภาพดีกว่า • การต่ออายุโรงไฟฟ้าเก่า/สัญญา PPA • ถ่านหินและนิวเคลียร์ (ต้องรวมต้นทุนสุขภาพ สวล. และค่าประกันความเสี่ยง การจัดการกากเชื้อเพลิงอย่างถาวร) • ทำไมไม่ชะลอการประมูลจนกว่า PDP ใหม่จะเสร็จ • “ล็อคสเปค” ประมูล IPP
ทำไมปิดกั้น RE แต่เปิดช่องทางในการทุจริตคอร์รัปชั่น • การแต่งตั้ง คกก. 2 ชุดไม่ช่วยแก้ปัญหา • คณะกรรมการบริหารมาตรการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน • ประชุมครั้งสุดท้ายวันที่ 24 พฤศจิกายน 2554* • คณะกรรมการกลั่นกรองการพิจารณาอนุญาตโรงงานบางประเภทที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม • ไม่เปิดเผยเกณฑ์ในการพิจารณา • ปิดกั้นพลังงานหมุนเวียน *ที่มา: http://www.eppo.go.th/power/renew/index.html
ธรรมาภิบาลของการพิจารณาจัดทำแผน PDP 2013? • แผน PDP ใหม่ ที่มา: กฟผ. เอกสารประกอบการบรรยาย “การดำเนินงานและมาตรการรองรับแหล่งยาดานาหยุดจ่ายก๊าซ5-14 เมษายน 2556” ที่จ.อุบลราชธานี วันที่ 8/3/2556
ข้อเสนอหยุดวิกฤตธรรมาภิบาล หยุดวิกฤตพลังงาน • Reality Show หรือเปิดเผยข้อมูล Real-time ศูนย์ควบคุมของ กฟผ. • ชะลอการประมูล IPP จนกว่า PDP ใหม่จะเสร็จ และเปิดโอกาสให้ทางเลือกที่หลากหลายได้แข่งขัน • เปิดเผยและตรวจสอบข้อมูลต้นทุน Ft, สัญญาต่างๆ (เฉพาะส่วนที่ไม่กระทบความลับทางการค้า), งบดุล รายรับรายจ่ายธุรกิจก๊าซฯ ปตท. • ยกเลิก คกก. พลังงานหมุนเวียนทั้ง 2 ชุด • ยกเลิกเกณฑ์ ROIC, กลไกค่า Ft • สังคายนาผลประโยชน์ทับซ้อน • ปลดล็อคการผูกขาดของ ปตท. และการไฟฟ้า