170 likes | 406 Views
ความผิดต่อร่างกาย : ศึกษากรณี ผลที่ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น. โดย พิทักษ์ ไทยเจริญ ๕๔-๐๑-๐๓-๑๘-๑๙. ความสนใจ ยังไม่มีข้อยุติ. เหตุผลในการเลือกหัวข้อวิจัย. ศาตรา จารย์ ดร.หยุด แสงอุทัย. ศาตรา จารย์ จิตติ ติงศภัทิย์. ต้องนำ “ หลักผล ธรรมดา” มาใช้กับ มาตรา ๒๙๐. ไม่ต้อง นำ
E N D
ความผิดต่อร่างกาย:ศึกษากรณีผลที่ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้นความผิดต่อร่างกาย:ศึกษากรณีผลที่ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น โดย พิทักษ์ ไทยเจริญ ๕๔-๐๑-๐๓-๑๘-๑๙ การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
ความสนใจ • ยังไม่มีข้อยุติ เหตุผลในการเลือกหัวข้อวิจัย การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
ศาตราจารย์ ดร.หยุด แสงอุทัย ศาตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์ ต้องนำ “หลักผลธรรมดา” มาใช้กับ มาตรา ๒๙๐ ไม่ต้องนำ “หลักผลธรรมดา” มาใช้กับ มาตรา ๒๙๐ ความสำคัญของเรื่อง การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
สมมุติฐานการวิจัย การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์.คำอธิบายกฎหมายอาญาภาค ๑.พิมพ์ครั้งที่ ๖ แก้ไข เพิ่มเติม. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๒. คณิต ณ นคร. กฎหมายอาญาภาคความผิด.พิมพ์ครังที่ ๕ แก้ไขเพิ่มเติม กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๗. จิตติ ติงศภัทิย์.คำอธิบายประมวลกฎหมายอาญาภาค ๑.พิมพ์ครั้งที่ ๙ แก้ไข เพิ่มเติม. กรุงเทพ มหานคร:สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติ บัณฑิตยสภา, ๒๕๓๖ ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. กฎหมายอาญา:หลักและปัญหา. พิมพ์ครั้งที่ ๖ แก้ไข เพิ่มเติม. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๗. เอกสารอ้างอิง การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
บทนำ (Introduction) • เนื้อหา (Content) • บทสรุป-เสนอแนะ (Conclusion) เค้าโครงการวิจัย การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • วัตถุประสงค์ของการศึกษา • สมมุติฐานการศึกษา • วิธีการศึกษา • ขอบเขตของการศึกษา • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ ๑ บทนำ การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
๒.๑ ข้อความเบื้องต้น ๒.๒ การกระทำในทางอาญา เกริ่นนำ ๒.๒.๑ นิยามของการกระทำ ๒.๒.๒ งดเว้นกระทำและละเว้นกระทำ ๒.๒.๓ คดีที่ตัดสินเกี่ยวกับการกระทำ บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
๒.๓ ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล เกริ่นนำ ๒.๓.๑ ทฤษฎีเงื่อนไข ๒.๓.๒ ทฤษฎีเหตุที่เหมาะสม ๒.๓.๒.๑ เหตุแทรกแซง ๒.๓.๒.๒ ผลธรรมดา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล (ต่อ) การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
๒.๔ ผลที่ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น เกริ่นนำ ๒.๔.๑ ผลธรรมดาตามมาตรา ๖๓ ๒.๔.๒ คดีที่ตัดสินเกี่ยวกับผลธรรมดา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล (ต่อ) การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
๓.๑Introduction to Criminal homicide ๓.๒Homicide ๓.๒.๑Murder ๓.๒.๑.๑First degree ๓.๒.๑.๒Second degree บทที่ ๓ การทำให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายตามกฎหมายคอมมอนลอว์ การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
๓.๒.๒ Manslaughter ๓.๒.๒.๑Voluntary ๓.๒.๒.๒Involuntary ๓.๒.๓Suicide ๓.๒.๔Infanticide ๓.๓Case Law / Decision บทที่ ๓ การทำให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายตามกฎหมายคอมมอนลอว์ (ต่อ) การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
๔.๑ ข้อความเบื้องต้น - ความผิดอาญาที่ไม่ต้องการผล - ความผิดอาญาที่ต้องการผล บทที่ ๔ ผลที่ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักในความผิดต่อร่างกาย การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
๔.๒ การกระทำและผลในความผิดต่อร่างกาย เกริ่นนำ ๔.๒.๑ การกระทำในความผิดต่อร่างกาย ๔.๒.๒ ผลของการทำร้ายร่างกาย บทที่ ๔ ผลที่ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักในความผิดต่อร่างกาย (ต่อ) การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
๔.๓ บทบัญญัติที่ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น เกริ่นนำ ๔.๓.๑ มาตรา ๓๙๑ กับมาตรา ๒๙๕, ๒๙๗, ๒๙๐ ๔.๓.๒ มาตรา ๒๙๕ กับมาตรา ๒๙๗, ๒๙๐ ๔.๓.๓ มาตรา ๒๙๐ กับมาตรา ๒๘๘ บทที่ ๔ ผลที่ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักในความผิดต่อร่างกาย (ต่อ) การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
๕.๑ บทสรุป ๕.๒ ข้อเสนอแนะ บทที่ ๕ บทสรุปและเสนอแนะ การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา
การนำเสนอ จบแล้วครับ การนำเสนอหัวข้อบัณฑิตสัมมนา