1 / 84

การใช้โปรแกรม Minitab เพื่อการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานวิจัยทางอุตสาหกรรมเกษตร

1205 381 Stat QA. ( 2558/2). การใช้โปรแกรม Minitab เพื่อการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานวิจัยทางอุตสาหกรรมเกษตร. ผศ.ดร. วีรเวทย์ อุทโธ. 1. คุณสมบัติที่โดดเด่นบาง ประการของ Minitab. มี Interface ที่ใช้ง่าย ไม่ซับซ้อน ใช้งานได้หลากหลาย และคลอบคลุมในหลายการวิเคราะห์

ymorris
Download Presentation

การใช้โปรแกรม Minitab เพื่อการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานวิจัยทางอุตสาหกรรมเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1205 381 Stat QA. (2558/2) การใช้โปรแกรม Minitab เพื่อการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานวิจัยทางอุตสาหกรรมเกษตร ผศ.ดร. วีรเวทย์ อุทโธ 1

  2. คุณสมบัติที่โดดเด่นบางประการของ Minitab • มี Interface ที่ใช้ง่าย ไม่ซับซ้อน • ใช้งานได้หลากหลาย และคลอบคลุมในหลายการวิเคราะห์ • สามารถเขียน macro ได้ง่าย (ด้วยระบบที่ไม่ซับซ้อน) • ราคาที่ไม่สูง

  3. การเริ่มต้นการใช้งาน • เลือกไอคอน Minitab บน Desktop ของคอมพิวเตอร์ แล้ว double click หรือ • เลือก Start menu แล้วเลือกโปรแกรม

  4. เมื่อเปิดโปรแกรม Menu Window session Worksheet (Data) session

  5. รายละเอียดโดยทั่วไปของ Minitab • ไฟล์ของ Minitab จะเป็น Project file • Window output (แสดงผลการวิเคราะห์) • Graphs • Worksheets • Column • Row • Heading • สามารถเปิด worksheets หลายๆอันได้ใน project ซึ่งจะ save ไว้ใน Project เดียวกัน

  6. ชื่อไฟล์ของ Minitab จะมี คำต่อท้ายหลัง สัญลักษณ์ “ . “ (file extension) • MTW (mtw) คือ ไฟล์ของ worksheet เช่น การเตรียม/จัดการข้อมูลก่อนวิเคราะห์ • MTP (mtp) คือ ไฟล์ของ Project ซึ่งเป็นไฟล์ที่รวม ทุกๆองค์ประกอบที่ดำเนินการวิเคราะห์ในไฟล์นั้น

  7. การเปิดไฟล์ (File opening)

  8. ตอนที่ 1การจัดการข้อมูลใน Column และ worksheet

  9. ใช้ข้อมูลของ worksheet ‘Tree.mtw’ • เปิด worksheet ‘Tree.mtw’ จากโปรแกรมเพื่อใช้เป็นตัวอย่าง • File/Open Worksheet/Tree.mtw (ไฟล์จะอยู่ในโฟล์เดอร์ ที่เป็น default Data folder อยู่แล้ว) • เป็นไฟล์ของการเก็บข้อมูลต้นเชอรี่จำนวน 31 ต้น

  10. ข้อมูลใน worksheet • Diameter (เส้นผ่านศูนย์กลาง ต้นไม้) • Height (ความสูง ต้นไม้) • Volume (ปริมาตร ต้นไม้)

  11. การเพิ่ม variable ใน Column ใหม่ • สร้างข้อมูลใน Column ใหม่ โดยใช้ข้อมูลจาก Column ที่มีอยู่ • เช่น ต้องการสร้างข้อมูลใน Column C4 • ข้อมูลใน Column C4 นี้เป็น อัตราส่วนระหว่าง Diameter และ Volume • ซึ่งจะเป็นการนำเอาข้อมูลใน Column C2 หารด้วย ข้อมูลใน Column C4

  12. เป้าหมายคอลัมใหม่ • การเพิ่มข้อมูลดังกล่าวจะในคำสั่ง Cal > Calculator Functions ในการคำนวน เครื่องหมายในการคำนวน

  13. ข้อมูลใน คอลัมน์ใหม่ ชื่อของ คอลัมน์ใหม่ พิมพ์ลงในช่องว่าง

  14. เตรียมข้อมูลใน Excel worksheet • Excel worksheet ช่วยในการจัดข้อมูลที่อาจจะง่าย และ เป็นที่คุ้นเคย • การจัดเรียง หรือ การคำนวน จะคล่องตัวมากกว่า • ข้อพึงระวัง • แถวบนสุด (Row 1) ของ Excel จะกลายมาเป็นชื่อของ Column ใน worksheet ของ Minitab • ข้อมูลในแถวนี้จะไม่ถูกนำไปใช้ในการวิเคราะห์

  15. ตัวอย่าง worksheet ใน Excel เลือกส่วนที่จะแสดงไฟล์ Excel

  16. เลือกไฟล์ แสดงไฟล์ที่เป็น Excel ข้อมูลที่อยู่แถวบนสุดของ Excel ไฟล์

  17. ตอนที่ 2Basic statistics

  18. การใช้ Minitab เพื่อสถิติเชิงพรรณา(Descriptive Analysis) • สรุปภาพรวมของข้อมูล • ใช้ข้อมูลของไฟล์ trees.mtw • เช่น ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐาน • สามารถวิเคระห์โดยใช้คำสั่งที่อยู่ใน เมนู คือ • Stat > Basic Statistics > Display Descriptive analysis

  19. การดำเนินการวิเคราะห์การดำเนินการวิเคราะห์ • เลือกปัจจัย (หรือสิ่ง) ที่จะทำการวิเคราะห์ โดยการ Double click • เช่น Double click ตรง Diameter • จากนั้น Diameter จะปรากฏในช่อง Variables • เคาะเว้นวรรคหนึ่งครั้ง • ทำการ Double click ปัจจัยอื่นๆที่จะทำการวิเคราะห์

  20. การดำเนินการวิเคราะห์ (ต่อ) • ทำการเลือกผลที่จะแสดง ณ ปุ่ม ‘Statistics’ • เลือกตามความต้องการของผู้วิเคราะห์ • ความหมายหรือรูปแบบของการนำเสนอสามารถดูได้โดยใช้ Help

  21. ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ตัวอย่างผลการวิเคราะห์

  22. การทดสอบ t-TEST เพื่อหาความแตกต่างระหว่าง 2 ประชากร

  23. 2-SAMPLE T-TEST • การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม ที่เป็นอิสระต่อกัน ที่เราเรียกว่า Independent Sample test

  24. ผลการทดสอบ 2-Sample T-test  เมื่อค่า P-Value น้อยกว่า a (0.05) จึงปฏิเสธ สมมติฐาน หลัก H0:mu (diameter) = mu (height) นั่นคือจากผลการทดลองสรุปว่า เส้นผ่านศูนย์กลางและความสูงต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 

  25. Pair T-test • การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่มที่มีความสัมพันธ์กัน หรือเป็นการทดสอบจากประชากรเพียงกลุ่มเดียว แต่จะทำการทดสอบซ้ำ 2 ครั้ง Paired-Samples Test หรือที่เรารู้จักกันในนาม dependent Sample test

  26. ผลการทดสอบ Pair T-test

  27. การวิเคราะห์ Correlation เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่สนใจ

  28. ตัวอย่างการวิเคราะห์ Correlation • จากเมนูเลือก Stat > Basic Statistics > Correlation • ลองเลือก Height และ Volume • ทำการทดสอบความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์ (Correlation)

  29. ตอนที่ 3การหา Regression

  30. Regression Analysis • การวิเคราะห์แบบถดถอย หรือ การหาความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปร • ตัวประมาณการ (Predictor) และ ตัวตอบสนอง (Response) • Simple linear regression analysis การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง สองตัวแปร  และความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปรดังกล่าวจะต้องเป็นในลักษณะเชิงเส้น • Multiple linear regression analysis วิเคราะห์ความสัมพันธ์ เมื่อมีตัวแปรที่เป็น Predictor มากกว่า 1 ตัวขึ้นไป แต่ความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งสองฝั่ง ยังคงเป็นแบบเชิงเส้นตรง • Polynomial regrssion analysis : วิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นเชิงเส้นตรง รวมถึงกรณีมีตัวแปร Predictor มากกว่า 1 ด้วย

  31. ตัวอย่าง Simple Linear Regression

  32. การทำ Graph fitting • เพื่อหาเส้นสมการที่เหมาะสมสำหรับกราฟ เพื่อใช้ในการทำนายการเปลี่ยนแปลงค่า Y จากค่า X

  33. ผลลัพธ์การทำ Graph fitting

  34. ตอนที่ 4การวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance; ANOVA)

  35. การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบปัจจัยเดียว (One-way ANOVA) • ทดสอบค่าเฉลี่ยของข้อมูลสองกลุ่มขึ้นไป • ค่าเฉลี่ยนี้ได้มาจากการทดลอง ที่ใช้ Single-factor เช่น ผลของความร้อน (factor) ที่มีต่อสีผลิตภัณฑ์ • ระดับของความร้อนที่ต่างๆกัน โดยทั่วไปเรียกว่า Treatment • ดำเนินการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ โดยใช้วิธี เช่น Tukey’smultiple comparison test

  36. การวิเคราะห์ความแปรปรวนของค่าเฉลี่ยสีซอสมะเขือเทศการวิเคราะห์ความแปรปรวนของค่าเฉลี่ยสีซอสมะเขือเทศ • ซอสมะเขือเทศ ผลิตโดยใช้ความร้อน 3 ระดับ • ความร้อน = factor (single factor) • 3 ระดับ = 3 treatments • วิเคราะห์ความแตกต่างค่าเฉลี่ยของสี จาก 3 Treatments นี้โดยใช้ One-way Anova • เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย โดย Tukey’s multiple comparison

  37. จัดข้อมูลใน Excel • เรียงข้อมูลแบบ Stack • ใช้ข้อมูลที่เป็นตัวเลข เช่น อุณหภูมิ Stacked data

  38. เปิด worksheet ใน Minitab

  39. ทำการวิเคราะห์โดยคำสั่ง Stat > Anova > One-Way ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น

  40. เลือก Comparison • เลือก Tukey

  41. ANOVA table Confidential interval

  42. ผลการวิเคราะห์ Tukey’s multiple comparison ระหว่าง Treatments เมื่อนำเอาค่าเฉลี่ยของ Treatment 100 ไปลบออกจาก Treatment 200 และ 300 • ช่วงความแตกต่างผ่าน ศูนย์ (0) • แปลได้ว่า ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ • เพราะสิ่งที่ลบกันได้ เท่ากับศูนย์ ต้องเป็นค่าเดียวกัน (เหมือนกัน) เมื่อนำเอาค่าเฉลี่ยของ Treatment 200 ไปลบออกจาก Treatment 300

  43. ตอนที่ 5การวางแผนการทดลอง

  44. ตัวอย่างการวางแผนการทดลองตัวอย่างการวางแผนการทดลอง • การวางแผนแบบ Complete Randomised Design • ทีมีการจัดปัจจัยแบบ Full factorial • ศึกษา 2 ปัจจัย (Factors) คือ อุณหภูมิ (Temperature) และ ระดับการเจาะรูบนถุงพลาสติก (Perforation) • ศึกษาปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อการสูญเสียน้ำหนักของลูกแพร (Weight loss) • ระดับ (Level) ของปัจจัยเหล่านี้ มี 2 ระดับ • ในการศึกษาจะทำ 3 ซ้ำ

  45. ระดับของอุณหภูมิ คือ 5 และ 10 ºC • ระดับของการเจาะรู คือ 0.5 และ 1.5 percent • จำนวนตัวอย่างที่จะต้องเตรียม (ลูกแพร ใส่ถุงเจาะรู และ เก็บที่อุณหภูมิต่างๆ) สามารถคำนวนได้จาก สูตร • 22x 3 = 12 ตัวอย่าง • #level#factor x replicates • Minitab นำมาช่วยในการแผนการทดลอง และ สุ่ม

  46. การใช้ Minitab เพื่อการวางแผนแบบ Full factorial

  47. สองระดับ สองปัจจัย

  48. เลือก Design • เพื่อกำหนด จำนวนซ้ำ

  49. สามซ้ำ

More Related