570 likes | 1.11k Views
ประชากร (population). ความหมายของประชากร ( Population). กลุ่มของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่งในช่วงเวลาหนึ่ง. ลักษณะเฉพาะของประชากร ( Population Charateristics ). ขนาดประชากร ( population size) อัตราการเกิด ( birth rate) อัตราการตาย ( dead rate)
E N D
ความหมายของประชากร (Population) กลุ่มของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่งในช่วงเวลาหนึ่ง
ลักษณะเฉพาะของประชากร (Population Charateristics) • ขนาดประชากร (population size) • อัตราการเกิด (birth rate) • อัตราการตาย (dead rate) • หนาแน่นของประชากร (population density) • การแพร่กระจายของประชากร (dispersion) • โครงสร้างอายุประชากร (age structure) • อัตราส่วนระหว่างเพศ (sex ratio) • กราฟของการอยู่รอด (survivorship curve)
ขนาดของประชากร (Population size) หมายถึงจำนวนสมาชิกทั้งหมดที่มีอยู่ในประชากร เช่น จำนวนปลาตะเพียน 10,000 ตัวที่แก่งเลิงจาน
ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดของประชากรปัจจัยที่มีผลต่อขนาดของประชากร
ขนาดประชากร ปัจจัยภายนอก (Extrinsic factors) - ปัจจัยทางกายภาพและเคมี- การล่า- ตัวเบียฬ- เชื้อโรค- อาหาร (ปริมาณและคุณภาพ)- ที่อยู่อาศัย ฯลฯ ปัจจัยภายใน (Intrinsic factors)- สภาพทางสรีรวิทยา- พฤติกรรม (โดยเฉพาะพฤติกรรมทางสังคม)- กรรมพันธุ์
อัตราเกิด (Birth rate) • หมายถึง จำนวน สมาชิกที่เกิดในเขตพื้นที่หนึ่งหรือในกลุ่ม ประชากรหนึ่ง ในเวลา 1 ปี ต่อประชากร 1,000 ตัว ซึ่งมีสูตรดังนี้ จำนวนประชากรที่เกิดที่มีชีวิตอยู่ในปีนั้น x 1,000 จำนวนประชากรทั้งหมด
อัตราการเกิดของคน จำนวนทารกที่เกิด x 1000 สตรีที่อยู่ในวัยเจริญพันธุ์ (อายุ 15 – 44 ปี)
อัตราการตาย (death rate) • จำนวนสิ่งมีชีวิตที่ตาย ต่อ จำนวนสิ่งมีชีวิตนั้น จำนวน 1000 ตัว จำนวนสิ่งมีชีวิตที่ตายใน 1 ปี x 1000 จำนวนประชากรทั้งหมด
การอพยพ (migration) • การอพยพเข้า (immigration) • การอพยพออก (emigration)
วิธีการหาขนาดของประชากรวิธีการหาขนาดของประชากร • การนับจำนวนทั้งหมด (total count) : เหมาะกับสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ นับง่าย และมีจำนวน ไม่มากนัก เช่น นับจำนวนต้นไม้ใหญ่ในสวนสาธารณะ • การใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง (sampling methods) : สุ่มนับบางส่วนของประชากรเพื่อคาดคะเนจำนวนประชากรทั้งหมดในพื้นที่ที่ทำการศึกษา
วิธีการสุ่มตัวอย่าง (sampling method) ซึ่งอาจแบ่งออกใหญ่ ๆ ได้ 4 วิธีคือ • การสุ่มตัวอย่างแบบแปลงสี่เหลี่ยม(quadrat sampling) • เหมาะกับการศึกษาในสิ่งมีชีวิต ที่ไม่เคลื่อนที่หรือเคลื่อนที่ช้า • ความถูกต้องขึ้นกับการนับจำนวนถูกต้อง, ขนาด quadratเหมาะสม และมีความแน่นอน
2. การจับ-ทำเครื่องหมาย-ปล่อย-จับใหม่ (capture-recapture method) • เหมาะกับสัตว์ที่หลบซ่อนตัวเก่งและเคลื่อนที่เร็ว เช่น แมลง ปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
Snow Goose La Pérouse Bay
Goose biologist Goose leg bands
LPB Colony size Year
Mark recapture lectures • Petersen method • Schnabel method • Schumacher-Eschmeyer • Jolly Seber Closed population Open population Overview of methods to help your reading of Krebs Chp 2
Closed populations No individuals enter or leave the population between surveys Survey 2 Survey 1
Open populations Individuals enter or leave the population between surveys Survey 2 Survey 1
What makes a population closed? • Dispersal barriers • Philopatry • Large surveyed area • Slow reproductive/death rate • Short time between surveys
Petersen method: Closed population Survey 1: Survey 2: Catch several animals Catch C animals Count recaptures (R) Mark all M animals Return animals to population Return animals to population
Survey 2: Survey 1: M = 12 C = 15 R = 4
M = R P C P = M C R What is the total population size (N)? Note that the proportion marked in the population equals the proportion marked in the 2nd sample M = 12 C = 15 R = 4
ความถูกต้องของ capture-recapture method ขึ้นอยู่กับ • สัตว์ที่มีเครื่องหมายและไม่มีเครื่องหมายในประชากรจะมีโอกาสถูกจับเท่ากัน ไม่มีพฤติกรรม trap-addiction หรือ trap-shyness • ไม่มีการเพิ่มจำนวนเข้ามาโดยการเกิด หรือการอพยพเข้า • อัตราการเกิด-ตายและอัตราการอพยพเข้า-ออกไม่เปลี่ยนแปลง • เครื่องหมายที่ติดตัวสัตว์ต้องไม่สูญหาย หรือลบเลือน เกิดอันตายหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของสัตว์
3. การสุ่มจับสัตว์บางส่วนออกจากประชากร (catch per unit effort or removal method) • อัตราการลดลงของจำนวนที่เกิดการจับที่ต่อเนื่อง สามารถนำไปคาดคะเนจำนวนประชากรเริ่มแรกทั้งหมด • เหมาะกับสัตว์ที่มีจำนวนมากและอาศัยอยู่ใน ที่ปิด เช่น อ่างเก็บน้ำ ทะเลสาบ บ่อ เกาะ ฯลฯ • ความถูกต้องขึ้นกับ • สัตว์ทุกตัวจะมีโอกาสถูกจับเท่ากันในการสุ่มแต่ละครั้ง • เวลาในการจับแต่ละครั้งควรเท่ากัน • เครื่องมือและวิธีที่ใช้ต้องเหมือนกัน
4. การสุ่มนับตามแนวเส้นสำรวจ (transect) • เหมาะกับสัตว์ขนาดใหญ่ที่เห็นง่าย เคลื่อนที่เร็ว ดักจับได้ยากและอยู่ระยะไกล เช่น นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม • สัตว์ทุกตัวมีโอกาสถูกเห็นเท่ากันตามแนวเส้นสำรวจ • สามารถ identify ชนิดได้ถูกต้อง • การสำรวจควรต้องกระทำในช่วงเวลาเดียวกันของวัน
เทคนิคพื้นฐานและข้อได้เปรียบและเสียเปรียบเทคนิคพื้นฐานและข้อได้เปรียบและเสียเปรียบ
ความหนาแน่นของประชากร (population density) หมายถึง จำนวนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมาตร • การหาค่าความหนาแน่นอย่างหยาบ (crude density) จำนวนประชากร / พื้นที่ทั้งหมด (total space) • การหาค่าความหนาแน่นเชิงนิเวศ (ecological density) จำนวนประชากร พื้นที่ที่ประชากรนั้นอาศัยอยู่จริง (habitat space)
ในสถานตากอากาศบางปูซึ่งมีพื้นที่ 20 ตารางกิโลเมตร พบนกนางนวลหางดำ 200 ตัว อาศัยทำรังอยู่รอบ ๆ แหล่งน้ำที่มีพื้นที่ 5 ตารางกิโลเมตร ให้นักเรียนคำนวณหาความหนาแน่นของประชากรอย่างหยาบ และความหนาแน่นของประชากรเชิงนิเวศ
วิธีการหาความหนาแน่นสัมพัทธ์วิธีการหาความหนาแน่นสัมพัทธ์ หากไม่สามารถทราบจำนวนสิ่งมีชีวิตในประชากรที่แน่นอนได้ สามารถชี้บ่งถึงจำนวนมากน้อยในเชิงเปรียบเทียบ ดังนี้ • จำนวนรัง/พื้นที่ • จำนวนครั้งของเสียงร้อง/ชั่วโมง • จำนวนมูล/พื้นที่ • จำนวนสัตว์ที่จับได้/วัน • ร้อยละที่ปกคลุม/พื้นที่
ข้อใดต่อไปนี้ หมายถึง ประชากร (population) • มีมดแดงทำรังที่ต้นมะม่วง • ต้นสักในภาคเหนือปี 2549 มีจำนวนลดลงอย่างมาก • สระน้ำแห่งหนึ่งมีปลาหลายชนิดว่ายน้ำอยู่ที่ผิวน้ำเมื่อเช้านี้ • ประชากรหมีแพนด้าในจีนลดลง
ความหมายของประชากรในทางชีววิทยาต้อง ประกอบด้วยสิ่งใด ความหมายของประชากรในทางชีววิทยาต้อง ประกอบด้วยสิ่งใด • ชนิดของสิ่งมีชีวิต (Species) • สถานที่ที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ค. เวลา ง. จำนวน จ. ขนาด • ก, ข และ ค c. ก, ค และ จ • ก, ค และ ง d. ก, ข และ จ
นักเรียนเลือกใช้วิธีใดในการสุ่มตัวอย่างประชากรต่อไปนี้นักเรียนเลือกใช้วิธีใดในการสุ่มตัวอย่างประชากรต่อไปนี้ 1. Puffins
Reference • http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04090035_2202/multiweb/environ/population.html#a_4 • http://www.gotoknow.org/blogs/posts/428818