1 / 39

เว็บไซต์ ( Website )

เว็บไซต์ ( Website ). การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์. ที่เกี่ยวข้องกับ Website. Domain Name. Web Hosting. ชื่อ website. พื้นที่ใช้งาน website. Website. Design. D evelopment. ออกแบบ website. พัฒนา website. เว็บไซต์ ( Website ).

yaholo
Download Presentation

เว็บไซต์ ( Website )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เว็บไซต์ (Website) การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์

  2. ที่เกี่ยวข้องกับ Website Domain Name Web Hosting ชื่อ website พื้นที่ใช้งาน website Website Design Development ออกแบบ website พัฒนา website

  3. เว็บไซต์ (Website) • ที่ตั้งเครือข่ายข้อมูลที่เชื่อมโยงติดต่อกันได้ทั่วทุกมุมโลก • การค้นหาข้อมูลในแต่ละเว็บไซต์จะต้องทราบชื่อเว็บไซต์ที่เราต้องการสามารถค้นหา ผ่านทางเว็บไซต์ ที่เปิดบริการให้ค้นคว้าหาข้อมูลต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาไทยได้ที่ www.google.com  www.yahoo.com  www.sanook.com  เป็นต้น

  4. Website ต่าง ๆ ค้นหา บันเทิง กีฬา การศึกษา ดูดวง กฎหมาย ชลประทาน สุขภาพ

  5. (Web Hosting)พื้นที่สำหรับ website ต้องการมีwebsite เป็นขององค์กร เรียกว่า Web Hosting เช่า Host ซื้อ ตกลงซื้อพื้นที่ Website เรียกว่า (Web servers) จดทะเบียน Domain Name มีเยอะมากพอ ที่จะแบ่งพื้นที่ Website ให้ผู้อื่นเช่าได้ ได้พื้นที่ website เป็นขององค์กร ต้องการมีwebsite เป็นของตัวเอง ให้บริการ Domain Name (ชื่อ website) มีบุคลากรที่เชี่ยวชาญดูแล จัดการระบบ website ต้นทุนสูง

  6. (Web Hosting) • โฮสติ้ง หรือ เว็บโฮสติ้ง หรือมีชื่อเรียกภาษาอังกฤษเเตกต่างกันไปเช่น (Web Hosting หรือ Hosting, Host) คือ พื้นที่การรับฝากเว็บ เพื่อออนไลน์บนอินเตอร์เน็ต หรือเรียกว่า HSP ย่อมาจาก Hosting Service Provider เป็นเทคโนโลยีสำหรับงานสร้างเว็บไซต์ เพื่อให้เว็บไซต์นั้นสามารถมองเห็นได้บนอินเตอร์เน็ต

  7. (Web Hosting) • โฮสติ้งหรือเว็บโฮสติ้ง จึงเป็นพื้นที่การใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ต สำหรับเว็บไซต์ทั่วไปแล้ว โฮสติ้งมีลักษณะที่เปรียบได้เหมือนกับ ฮาร์ดดิสก์ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรานั่นเอง โดยรูปแบบการให้บริการ จะอนุญาตให้ผู้ใช้บริการสามารถนําเว็บเพจของตนเอง นําขึ้นไปออนไลน์บนอินเตอร์เน็ต ดังนั้นเราจะพบว่าทุกเว็บไซต์ที่ออนไลน์บนอินเตอร์เน็ต จะต้องได้รับการฝากหรือเก็บไว้บนคอมพิวเตอร์พิเศษที่เรียกว่า เว็บเซิร์ฟเวอร์ Web servers ซึ่ง เซิร์ฟเวอร์ นี้ จะทําหน้าที่เป็นตัวติดต่อซึ่งกันและกันและทุกหนทุกแห่งตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้เว็บไซต์ของเรา สามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ทุกเวลาในโลกที่มีการต่อเชื่อม การเข้าชมเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ตง่ายๆ ก็คือการพิมพ์ชื่อเว็บไซต์ หรือชื่อโดเมน (Domain Name) ที่เรารู้จัก ยกตัวอย่างเช่นwww.keepidea.net , www.evohosting.in.th

  8. (Web Hosting) (ต่อ) • โดยผู้ให้บริการได้ทําการติดตั้งระบบทั้งหมดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อมีบุคคลที่พิมพ์ชื่อเว็บไซต์ดังกล่าว ชื่อนั้นจะถูกส่งตามเส้นทาง จากเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีกเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปเรื่อยๆจนกระทั่งไปพบเครื่องเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่เว็บไซต์นั้นได้ฝากเว็บไซต์ไว้ (Host computer) ภายในไม่กี่เสี้ยววินาทีก็จะสามารถเปิดเว็บดังกล่าวได้ ดังนั้นการที่จะนําเว็บไซต์ของเราออนไลน์บนอินเตอร์เน็ต สิ่งแรกที่จําเป็นจะต้องมี นั่นก็คือเว็บเซิร์ฟเวอร์นั่นเอง แต่ทว่าการติดตั้งระบบ เว็บเซิร์ฟเวอร์เป็น ของตนเองนั้น เราสามารถที่จะทําได้แต่เพราะว่ามีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูงมากและที่สําคัญยิ่งไปกว่านั้น จําเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเพราะเป็นเทคนิคชั้นสูง ต้องคอยดูแลตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นด้วยเหตุจํากัดดังกล่าว บริษัทส่วนใหญ่จึงไม่สามารถดําเนินการลงทุนเพื่อเป็นเจ้าของเองได้ และนี่คือเป็นที่มาของบริการของเว็บโฮสติ้ง (Web Hosting หรือ Hosting, Host)เว็บโฮสติ้งที่ดีนั้น ดังที่กล่าวมาข้างต้น เพราะต้องมีบุคลากรที่ชํานาญการ จึงต้องให้บริการทั้งเครื่องไม้เครื่องมือ ที่สามารถอํานวยความสะดวก มีความทันสมัย และให้คําแนะนําแก่ผู้ใช้บริการอย่างทันท่วงที เพื่อให้ลูกค้าสามารถดูแลและแก้ไขเว็บไซต์ของตนเองได้ตลอดเวลา

  9. Domain Name โดเมนเนม (Domain Name) หรือ ชื่อ เว็บไซต์ ยูอาร์แอล(URL)Uniform Resource Locator หมายถึง ตัวบ่งบอกข้อมูล หรือ ที่อยู่ (Address) ของไฟล์หรือเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ต ตัวอย่างต่อไปนี้ แสดงถึงDomain Name : example.com URL: http://www.example.com

  10. โดเมนเนม (domain name) • หมายถึง ชื่อที่ใช้ระบุลงในคอมพิวเตอร์ (เช่น เป็นส่วนหนึ่งของที่อยู่เว็บไซต์หรืออีเมล์แอดเดรส) เพื่อไปค้นหาในระบบ โดเมนเนมซีสเทมเพื่อระบุถึง IP Address (Internet Protocol Address) ของชื่อนั้นๆ เป็นชื่อที่ผู้จดทะเบียนระบุให้กับผู้ใช้เพื่อเข้ามายังเว็บไซต์ของตน บางครั้ง เราอาจจะใช้ "ที่อยู่เว็บไซต์" แทนก็ได้ • โดเมนเนม หรือ ชื่อโดเมน เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ เนื่องจากไอพีแอดเดรสนั้นจดจำได้ยากกว่า และเมื่อการเปลี่ยนแปลง ไอพีแอดเดรส ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับรู้หรือจดจำไอพีแอดเดรสใหม่ ยังคงใช้โดเมนเนมเดิมได้ต่อไป

  11. หลักที่ใช้ในการตั้งชื่อ โดเมนเนม • ความยาวของชื่อ ตั้งได้ไม่เกิน 67 ตัวอักษร • สามารถใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษผสมกับตัวเลขหรือเครื่องหมายขีด(-) ได้ • ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ใช้ตัวเล็กหรือตัวใหญ่ก็ได้ • ห้ามใช้เครื่องหมายขีด (-) นำหน้าชื่อ โดเมนเนม • ห้ามเว้นวรรคในชื่อ โดเมนเนม

  12. Domain ประเภทต่าง ๆ (นามสกุล website)

  13. โดเมนเนมที่เป็นชื่อย่อของประเทศโดเมนเนมที่เป็นชื่อย่อของประเทศ เช่น . th เวบไซต์ของประเทศไทย (Thailand).hk เวบไซต์ของประเทศฮ่องกง (Hongkong).jp เวบไซต์ของประเทศญี่ปุ่น (Japan).au เวบไซต์ของประเทศออสเตรเลีย (Australia).uk เวบไซต์ของประเทศอังกฤษ (United Kingdom) .us เวบไซต์ของประเทศสหรัฐอเมริกา (United States)

  14. การจดโดเมนเนมแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มดังนี้ • โดเมนเนมสากล ได้แก่ โดเมนเนมที่มีนามสกุล .com, .net, .org, .biz และ .info ซึ่งโดเมนเนมเหล่านี้ไม่ต้องใช้เอกสารใดๆ ในการขอจดทะเบียน ราคาค่าบริการจะคิดราคาเป็นรายปี • โดเมนเนมของไทย ได้แก่ โดเมนเนมที่มีนามสกุล .co.th, .in.th, .or.th, .ac.th และ .go.thสำหรับโดเมนเนมในกลุ่มนี้ จำเป็นต้องใช้เอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับโดเมนเนมราคาค่าบริการจะคิดราคาเป็นรายปี

  15. ตัวอย่าง ราคาการจด Domain

  16. การใช้งาน Domain Name และ Hosting พื้นที่ web servers ข้อมูล Website Domain Name ที่ตั้ง Domain Name ชื่อ website /Domain Name 1.Users คือกลุ่มคนทั่วไปที่กำลังต้องการเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา โดยเมื่อพวกเขาเหล่านั้นพิมพ์ชื่อโดเมนเนมของเราแล้ว จะถูกส่งไป 2.DNS (Domain Name system ) Server ที่เราได้ขอตั้งชื่อ website ไว้ หรือที่พิกัด IP Address ที่ตั้งของ เซิฟเวอร์ ซึ่งตั้งอยู่บน 3.Host  ที่เราจัดเก็บเว็บไซต์นั่นเอง เมื่อถูกส่งไปยัง Hosting แล้วนั้น เจ้าตัว Browser หรือ โปรแกรม เช่น IE ที่เราใช้ในการเข้าชมเว็บไซต์ก็จะดึงข้อมูลเว็บไซต์ของเราจากทาง Host ที่เราได้เช่าเอาไว้ ออกมาเป็นหน้าเว็บไซต์ให้ได้เห็นกันนั่นเอง

  17. ตัวอย่าง website ที่ให้ฟรี พื้นที่ website 10 Mb และฟรี Domain Name http://www.phitsanulok.ob.tc

  18. การออกแบบ website เน้นเฉพาะเรื่อง ตามแบบลักษณะองค์กร สะท้อนภาพลักษณ์องค์กร สิ่งที่จำเป็น ความเรียบง่าย ความเป็นเอกลักษณ์ เนื้อหาชัดเจน ไม่ซับซ้อน สบายตา อยู่ตำแหน่งเดิมทุกหน้า รูปแบบเดียวกับทั้งเว็บ ระบบเมนู ใช้งานง่าย ผู้ใช้ไม่สับสน ความสม่ำเสมอ องค์ประกอบ การออกแบบ คำอธิบายชัดเจน ดีไซน์อยู่ในทิศทางเดียวกัน สะดวกในการใช้ น่ำสนใจ เนื้อหาที่เป็นประโยชน์ มีลักษณะหน้าสนใจ ใช้ภาพ ไม่ซ้ำกับ web อื่น ใช้กราฟิก เข้าถึงง่าย ใช้สีสัน ใช้งานง่าย เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลบริษัท ไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมเพิ่มเติม กิจกรรม ผลิตภัณฑ์ การติดต่อ ไม่มีรหัสผ่าน ฯลฯ

  19. การจัดการ website • สร้าง Site Map • แบ่งเฟรมพื้นที่แสดงผล สร้าง webpage กำหนดโครงสร้าง • ความต้องการองค์กร • เป้าหมายองค์กร • โปรแกรมที่ใช้ • ความสวยงาม ลงทะเบียน กำหนดเป้าหมาย • ข้อมูล • ระยะเวลา • งบประมาณ • ทรัพยากร Uploadwebpage กำหนดขอบเขต ต้องการนำเสนออะไร แล้วจะทำอย่างไร ต้องการเว็บไซต์แบบไหน

  20. เว็บโปรแกรมเมอร์ ผู้ดูแลระบบ ทีมงานพัฒนาเว็บไซต์ เว็บมาสเตอร์ ผู้กำหนดโครงสร้างข้อมูล ทีมงาน พัฒนาเว็บไซต์ ผู้ตรวจสอบเนื้อหา เว็บดีไซน์

  21. ทีมงานพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บไซต์เป็นเรื่องที่มีความหลากหลาย และแตกต่างกันไปตามขนาดของกำลังคนในแต่ละหน่วยงานแม้ว่าการสร้างเว็บไซต์ให้ดีนั้นจะต้องอาศัยทักษะและความชำนาญหลายๆ ด้าน แต่บางหน่วยงานที่มีขนาดเล็กอาจมีพนักงานเพียงคนเดียวที่รับผิดชอบงานด้านนี้สำหรับเว็บไซต์ขนาดใหญ่หรือบริษัทที่รับพัฒนาเว็บไซต์นั้นอาจมีความจำเป็นต้องใช้ทีมงานที่สมบูรณ์ครบทุกตำแหน่ง หน้าที่ และความสามารถ ซึ่งประกอบด้วย 1. เว็บมาสเตอร์ (Webmaster) เว็บมาสเตอร์ คือ ผู้ที่ดูแลเว็บไซต์ ผู้ที่จะคอยควบคุมทิศทางของเว็บไซต์นั้นๆ ว่าจะไปในทิศทางใด ตั้งแต่เนื้อหาภายในเว็บ ตลอดจนถึงหน้าตาของเว็บเพจ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเว็บมาสเตอร์อาจจะไม่ต้องทำเองทั้งหมด หรือจะไม่ทำเลยก็ได้ เพราะเว็บมาสเตอร์เปรียบเสมือนผู้บริหารองค์กรหนึ่ง คือคอยดูแล กำหนดแนวทาง

  22. 2. ผู้กำหนดโครงสร้างข้อมูล (Information Architect) ผู้กำหนดโครงสร้างข้อมูล ทำหน้าที่จัดระเบียบข้อมูลและทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ตำแหน่งนี้ควรมีความเข้าใจในการจัดระบบข้อมูลและระบบการใช้งานต่างๆและต้องคำนึงถึงแนวทางการขยายขนาดเว็บไซต์ให้ใหญ่ขึ้นในอนาคตโดยไม่สร้างความสับสนให้กับผู้ใช้รวมไปถึงแสดงการถ่ายโอนข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันออกมาเป็นไซต์แม็ป (Site Map) 3. เว็บดีไซน์ (Web Designer) เว็บดีไซน์ ทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบลักษณะหน้าตาทั้งหมดของเว็บไซต์ โดยผู้ที่รับหน้าที่นี้ควรมี ความรู้ทางศิลปะและสามารถใช้โปรแกรมกราฟิกต่างๆ ได้เป็นอย่างดี เช่น Photoshop หรือ Illustrator เป็นต้นรวมทั้งต้องรู้จักวิธีการปรับขนาดไฟล์กราฟิกในโปรแกรมต่างๆ เช่น Fireworks หรือImageReadyเป็นต้น และการใช้งานโปรแกรมช่วยสร้างเว็บ เช่น Dreamweaver เป็นต้น ได้พอสมควรอีกทั้งต้องมีความรู้เกี่ยวกับรูปแบบตัวอักษร (Typography)

  23. 4. เว็บโปรแกรมเมอร์ (Web Programmer) เว็บโปรแกรมเมอร์ ทำหน้าที่เขียนสคริปต์และโปรแกรมการใช้งานต่างๆ ภายในเว็บไซต์ ช่วยพัฒนาระบบการทำงานที่มีประโยชน์ให้กับผู้ใช้ 5. ผู้ดูแลระบบ (System Administrator) ผู้ดูแลระบบ ทำหน้าที่ควบคุม ดูและเว็บเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงฮาร์แวร์และซอฟต์แวร์อื่นที่เกี่ยวข้องสามารถวิเคราะห์และปรับตั้งระบบเพื่อการทำ งานที่มีประสิทธิภาพ 6. ผู้ตรวจสอบเนื้อหา (Content Editor / Writer) ผู้ตรวจสอบเนื้อหา ทำหน้าที่ในการจัดเตรียมเนื้อหาทั้งหมดในเว็บไซต์ โดยรวบรวมเนื้อหาที่มีประโยชน์และน่าสนใจให้กับผู้ใช้อยู่เสมอนอกจากนี้ยังต้องคอยตรวจสอบความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา

  24. กำหนดวัตถุประสงค์ การดำเนินงานพัฒนา website ออกแบบแปลนของเว็บไซต์ รวบรวมข้อมูลรูปภาพ และ ตัวอักษร Update Design หาโปรแกรม สำหรับสร้างเว็บไซต์ วางแผน การสร้าง เว็บไซต์ หา Host และ Domain Name ปรับปรุง&พัฒนา ออกแบบ กำหนดข้อมูล สร้างเว็บไซต์ เสมือนจริง ตามที่ออกแบบ ออกแบบกราฟิก

  25. สร้าง Site map • เมื่อสรุปความต้องการที่ชัดเจนได้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การเขียนแบบร่างออกมาว่าเว็บไซต์ของคุณจะมีกี่หน้า การเชื่อมโยงระหว่างแต่ละหน้าเป็นอย่างไร ซึ่งทั้งหมดนี้เรียกรวมกันว่า Site map

  26. Page1.html Page2.html Page3.html Page4.html Website (หน้าแรก)Index.html

  27. mock up การจำลองเว็บ ส่วนประกอบของเว็บ เทคนิคบนเว็บ โปรแกรมกราฟิกที่เกี่ยวข้อง โปรแกรมพัฒนาเว็บ องค์ประกอบหน้าเว็บ ข้อความ ใช้กระดาษ รูปภาพ ใช้โปรแกรม กราฟิก รายละเอียด ของเว็บไซด์ สีสัน รูปแบบ ส่วนหัวเว็บ การLink ส่วนเนื้อหา เมนู Pop Up ส่วนท้ายเว็บ Rollover Image โปรแกรม/ภาษา/ฐานข้อมูล Photoshop MySQL Flash Word press Movie Maker PHP Joomla

  28. ออกแบบและลงมือสร้าง ตามหลักในการสร้างเว็บนั้นก่อนจะลงมือสร้างจริง มักจะมีการทำเว็บจำลองหรือที่เรียกว่า mock up ขึ้นมาก่อน เพื่อดูว่าสวยงามเหมาะสม หรือต้องการแก้ไขปรับปรุงส่วนไหน โดยต้องสร้าง mock up ทุกหน้าเว็บเพจ ที่วาดไว้ใน Site map ในการสร้าง mock upมี 2 วิธี ดังนี้ วาดในกระดาษ วิธีนี้ง่ายข้อดีคือสร้าง mock up ได้รวดเร็ว แก้ไขเพิ่มเติมสิ่งที่ต้องการง่าย ข้อเสียคือกำหนดการวงองค์ประกอบต่าง ๆ ในเว็บเพจได้แค่คร่าว ๆ เท่านั้น ออกแบบผ่านโปรแกรมกราฟิก เป็นวิธีมาตรฐานของมืออาชีพ โดยโปรแกรมที่นิยมใช้ในการออกแบบ mock up ก็คือ Photoshop และ Firework หรือแล้วแต่ถนัด ข้อดีคือกำหนดส่วนประกอบในเว็บเพจได้ชัดเจน ว่าอยู่ตำแหน่งไหน มีขนาดเท่าไหร่ ข้อเสียคือต้องมีความรู้ความชำนาญในการใช้โปรแกรมกราฟิก

  29. องค์ประกอบหน้าเว็บเทคนิคบนเว็บองค์ประกอบหน้าเว็บเทคนิคบนเว็บ ข้อความและรูปภาพ ลิงค์ (Link) คือ จุดที่คุณสามารถคลิกเพื่อเปิดเข้าไปยังเว็บเพจหน้าอื่นหรือเว็บไซต์อื่นได้ จุดสังเกตของลิกค์ข้อความก็คือ เมื่อคุณนำเมาส์ไปวางบนข้อความนั้น เคอร์เซอร์ของเมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูปมือ ลิงค์รูปภาพ คือ รูปที่ทำหน้าที่เป็นลิงค์ เมื่อคลิกที่รูปจะเป็นการเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจหน้าอื่นหรือเว็บไซต์อื่น จุดสังเกตของลิกค์รูปภาพก็คือ เมื่อคุณนำเมาส์ไปวางบนรูปภาพนั้น เคอร์เซอร์ของเมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูปมือ

  30. เทคนิคบนเว็บ Rollover Image คือ ลูกเล่นรูปแบบหนึ่งที่นำมาใช้ในเว็บเพจ โดยเป็นเทคนิคการใช้รูป 2 รูป มาแสดงผลที่ตำแหน่งเดียวกัน ก่อนนำเมาส์ไปวางที่ตำแหน่งนั้นจะเป็นรูปหนึ่ง แต่เมื่อนำเมาส์ไปวางบนตำแหน่งนั้นรูปจะเปลี่ยนเป็นอีกรูปหนึ่ง เมนู Pop upเป็นเมนูพิเศษโดยซ่อนรายการตัวเลือกเอาไว้ก่อน เมื่อคุณนำเมาส์ไปวางที่ปุ่มหรือรูปภาพที่เป็นส่วนหัวของเมนู รายการตัวเลือกที่ซ่อนเอาไว้จึงจะปรากฏขึ้นมา เป็นลูกเล่นที่นิยมนำมาใช้เพื่อประหยัดพื้นที่แสดงรายการตัวเลือก

  31. Website ไม่ใช้งาน Database ใช้งาน Database • นำเสนอข้อมูล เผยแพร่ • ประชาสัมพันธ์ ด้วยข้อความ • ภาพ กราฟิก เท่านั้น • ผู้เข้าชมไม่สามารถเก็บข้อมูล • หรือติดต่อกับทางwebsite • ได้ แบบ Online • ปรับปรุงข้อมูลได้แบบ Online • เก็บข้อมูลผู้เข้าชมได้ แบบ Online • สมัครสมาชิกได้ แบบ Online • ซื้อสินค้าทาง Online • จองสินค้าทาง Online • ทำข้อสอบ Online • ประมูลสินค้า Online • ฟังเพลง Online • ดู TV Online • ค้นหาข้อมูล Online • ฯลฯ

  32. Wordpress Joomla Macromedia Dreamweaver WebPlus .... MySQL Baseportal PHP Access …. โปรแกรมสำหรับพัฒนาwebsite ฐานข้อมูล Database คือ การรวบรวมข้อมูลที่อยู่ต่างที่ มาจัดเก็บอย่าง เป็นระบบระเบียบ สามารถสืบค้น เพิ่มเติม ลบ แก้ไข ได้ตามต้องการ โปรแกรม/ภาษารองรับฐานข้อมูล

  33. ตัวอย่าง websiteที่มีการใช้งาน Database

  34. Wordpress

  35. Wordpress • คือ โปรแกรมระบบจัดการเว็บไซต์ CMS(Content Management System) ที่มีคุณสมบัติ function หลาย ๆ อย่าง เช่น • การใช้งาน ฐานข้อมูล (Database) ในเรื่อง • จัดทำ User (ผู้เข้าใช้งาน / สมาชิก) • จัดทำ Password (รหัสผ่าน) • การสืบค้นข้อมูล Online • การปรับปรุงข้อมูล Online • การใช้งาน ระบบมัลติมีเดีย • ภาพนิ่ง / ภาพเคลื่อนไหว / • เสียง • E-mail • กระดานสนทนา (Web board) • จัดการข้อมูลบนพื้นที่ website อย่างเป็นหมวดหมู่ ระบบอัตโนมัติ ใช้เมาส์ ทำงาน มีเมนู / ปุ่มคำสั่งช่วยงาน ไม่ต้องเขียน Codeเอง

More Related