1 / 23

Business Continuity Planning : BCP แผนประคองกิจการภายในองค์กร

Business Continuity Planning : BCP แผนประคองกิจการภายในองค์กร. Dr. Rungreng Kitpati Director of Bureau of Emerging Infectious Diseases, Department of Disease Control , 13 October 2011. ประเด็นการนำเสนอ. ความหมาย แนวคิด และ ขั้นตอนการจัดทำแผน BCP BCP ในประเทศไทย และ ต่างประเทศ

willis
Download Presentation

Business Continuity Planning : BCP แผนประคองกิจการภายในองค์กร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Business Continuity Planning : BCP แผนประคองกิจการภายในองค์กร Dr. Rungreng Kitpati Director of Bureau of Emerging Infectious Diseases, Department of Disease Control , 13 October 2011

  2. ประเด็นการนำเสนอ • ความหมาย แนวคิด และ ขั้นตอนการจัดทำแผน BCP • BCP ในประเทศไทย และ ต่างประเทศ • BCP VS Human Influenza Research • What next ???

  3. แผนประคองกิจการ คืออะไร ? แผนประคองกิจการ หรือ Business Continuity Plan (BCP) แผนงานที่จัดทำขึ้นอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร โดยกำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน เพื่อรองรับหรือเรียกคืนการดำเนินงานให้กลับสู่ภาวะปกติ เพื่อสร้างความมั่นใจว่า การปฏิบัติงานปกติ สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อมีเหตุการณ์ที่ทำให้การปฏิบัติงานปกติต้องหยุดชะงัก เช่น ภัยธรรมชาติ อัคคีภัย หรือ การเกิดโรคระบาดร้ายแรงฯลฯ

  4. ทำไม?ต้องจัดทำแผนประคองกิจการภายในองค์กรทำไม?ต้องจัดทำแผนประคองกิจการภายในองค์กร จัดการหรือบรรเทาความรุนแรง จากเหตุการณ์/ภัย ลดผลกระทบต่างๆ เช่น การเงิน กฎหมาย ชื่อเสียง และอื่นๆ การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ในการกำหนดนโยบาย มาตรฐานและการทำงานของให้กลับคืนสู่ภาวะปกติอย่างรวดเร็ว องค์การสามารถปฏิบัติงานต่อไป โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ องค์กรสามารถปรับแนวทางปฏิบัติ ให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ได้

  5. ภัยธรรมชาติ อุทกภัย วาตภัย โคลนถล่ม ภัยแล้ง แผ่นดินไหว อาคารถล่ม ไฟป่า หมอกควัน อากาศหนาวจัด โรคระบาดในพืช โรคระบาดในสัตว์ ภัยร้ายแรงจากโรคระบาดในคน ภัยสึนามิ สาธารณภัยตามแผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 • ภัยจากน้ำมือมนุษย์ • อัคคีภัย • ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย • อุบัติเหตุร้ายแรง

  6. โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด • มาลาเรีย • ไข้เลือดออก • ไข้ปวดข้อยุงลาย (chik.) • ไข้สมองอักเสบ • โรคเท้าช้าง • วัณโรค • ไข้รากสาด • ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดเทียม • อาหารเป็นพิษ • อุจจาระร่วง จากเชื้อต่างๆ • โรคฉี่หนู (leptospirosis) • โรคติดต่อ อื่นๆ • ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ • ไข้สมองอักเสบ นิปาห์ • HFMD (EV71) • ไข้หวัดนก • โรคซารส์ • กาฬโรค • ลิชมาเนีย • อาวุธชีวภาพ • วัณโรคดื้อยา • เชื้อแบคทีเรียดื้อยา • ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ • โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อื่นๆ

  7. ประสบการณ์การระบาดไข้หวัดใหญ่ 2009 Health Commercial Labour Multi Sectors Education Finance Security Essential service Other

  8. คงกิจการได้ ให้บริการสังคม อยู่รอดปลอดภัย ความเสียหายน้อย การเตรียมความพร้อม หน่วยงานทุกภาคส่วน ภาคเอกชน ภาครัฐ ภาคบริการพื้นฐาน

  9. ก่อนระบาดใหญ่ เตรียมพร้อมไว้ ไม่ประมาท แต่ละบริษัทมีคนรู้ดี สอนได้ ประสานได้ จัดการได้ จัดทำแผนเหมาะสมกับองค์กร (แผน วิธีปฏิบัติ) เตรียมตัวได้ตามแผน (สอน/แนะนำ เตรียมข้าวของ ระบบงาน ข้อมูล) ซักซ้อมแผนเป็นระยะ เมื่อระบาดใหญ่ ไม่ตกใจ ทำได้ตามแผน คนที่ไม่จำเป็นต้องมาที่ทำงาน ให้ทำงานที่บ้าน ส่งงานทางโทรคมนาคม ให้ผู้ป่วยพักงาน จัดหาคนทำงานแทน ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่และครอบครัวที่ประสบภัย ได้อย่างเหมาะสม คงการ สื่อสาร บริการแก่ลูกค้า ตามสถานการณ์ หลังระบาดใหญ่ ฟื้นตัวไว ไม่อับจน แนวคิดการประคองกิจการภายในองค์กร มิใช่เฉพาะภาคธุรกิจ นะ ต้องทุกองค์กร ทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนด้วย 29 May 08

  10. 7 ขั้นตอนการประคองกิจการภายในองค์กร ขั้นที่ 7 ฝึกซ้อมและปรับปรุงแผน ขั้นที่2 ค้นหาความเสี่ยง ขั้นที่ 6 ประชาสัมพันธ์แผน ให้ผู้อื่นทราบ ขั้นที่3 ลดผลกระทบจาก ความเสี่ยง ขั้นที่ 5 เตรียมการ และปฏิบัติตามแผน ขั้นที่ 4 ระบุมาตรการสำหรับ ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ขั้นที่ 1 ทำความเข้าใจใน กิจการของท่าน

  11. ตัวอย่างภาคเอกชน : ธนาคาร • ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้ออกแนวปฏิบัติเรื่องการจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BCP) สำหรับกรณีการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2551 เพื่อให้ธนาคารต่างๆ ได้ปฏิบัติ โดยเน้นการจัดระบบงานเพื่อรองรับภัยและฟื้นตัวได้เร็วหลังเกิดโรคระบาด • สมาคมธนาคารไทยร่วมสนับสนุนและผลักดันให้มีการเตรียมการของภาคธนาคาร • ธนาคารทหารไทยเป็นตัวอย่างที่ริเริ่มการจัดทำแผน BCPและเป็นวิทยากรพี่เลี้ยงให้กับธนาคารอื่นๆ ด้วย

  12. กรมควบคุมโรค • จัดอบรมให้หน่วยงานในสังกัดจากส่วนกลางและภูมิภาค • สนับสนุนและให้คำแนะนำการจัดทำแผนประคองกิจการในองค์กรแก่หน่วยงานต่างๆ • หน่วยงานสังกัดกรมควบคุมโรคได้จัดทำแผน BCP โดยระบุกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็น พร้อมทั้งวิธีการปฏิบัติงาน ปรากฏใน web site สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

  13. สถาบันบำราศนราดูร • จัดทำแผน BCP โดย • จัดระบบงานที่สำคัญและจำเป็นเมื่อเกิดการระบาดใหญ่โดยใช้ประสบการณ์การเกิดโรคซาร์ส ไข้หวัดนก ,ไข้หวัดใหญ่ และ โรคติดต่ออื่นๆ • จัดการหมุนเวียน กำลังสำรองบุคลากร • ทบทวนการจัดระบบข้อมูลข่าวสาร จัดการความรู้การป้องกันการติดเชื้อ การสื่อสารประชาสัมพันธ์ และการประสานงาน โดยระบุทั้งกิจกรรมและแนวทางปฏิบัติงานอย่างชัดเจน

  14. จังหวัดเชียงราย และ ตาก • ในปี 2552 จัดทำแผน BCP โดยหน่วยงานทุกภาคส่วนในจังหวัด • ปรับใช้จาก 7 ขั้นตอนการจัดทำแผนประคองกิจการ กรมควบคุมโรค • แบ่งกลุ่มจัดทำแผนตามภารกิจ ได้แก่ สสจ./รพ./ ปศุสัตว์ / รัฐวิสาหกิจ/สสอ. / ศึกษา / เอกชนและ ด่าน • สามารถระบุกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็น และวิธีการปฏิบัติเพื่อให้กิจกรรมนั้นดำเนินงานต่อไปได้ • มีแผนการปรับปรุงให้ดีขึ้นต่อไป

  15. ตัวอย่างรัฐวิสาหกิจ : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • จัดทำแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ ปี 2547 ควบคู่ไปกับแผนเตรียมความพร้อม และร่วมจัดทำแนวทางการเตรียมความพร้อมภาคธุรกิจรับการระบาดใหญ่ฯ ของกระทรวงสาธารณสุข • เน้นการจัดการด้านวัตถุดิบ และการขนส่ง ระบบการติดต่อสื่อสารทั้งภายในและภายนอก และ ส่งเสริมการให้ความรู้พนักงานและการปฏิบัติงาน • ฝึกซ้อมและปรับปรุงแผนอย่างสม่ำเสมอ • ถ่ายทอดแนวทางและคู่มือฯ ไปยังหน่วยงานภูมิภาคเพื่อปรับใช้

  16. ปี 2551-52 โรงไฟฟ้าบางปะกงได้จัดทำแผนเตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมระบบการสั่งการ (ICS) รับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ที่สอดคล้องกับส่วนกลาง โดยผู้บริหารระดับสูงสนับสนุนและเข้าร่วมการซ้อม ปี 2552 ได้ริเริ่มวางแผนการจัดทำแผน BCP ควบคู่กันไป ปี 2553จัดทำแผน BCPโดยการปรับใช้กระบวนการ 7 ขั้นตอนการประคองกิจการเนื่องจากเป็นขั้นตอนที่เข้าใจง่าย จนได้แผนที่มีความสมบูรณ์ครบถ้วนมากขึ้น ตัวอย่างหน่วยงานภูมิภาค - โรงไฟฟ้าบางปะกง

  17. แผนประคองกิจการ 7 ขั้นตอน กระทรวงแรงงาน ร่วมกับองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization : ILO) • ตั้งแต่พบการระบาดของไข้หวัดนก กระทรวงแรงงานร่วมกับ ILO ได้เตรียมความพร้อมในสถานประกอบการ กลุ่ม SME(ขนาดกลางและขนาดย่อม) โดยให้ความรู้ จัดระบบงานและสถานที่ ติดตามประเมินผลตามคู่มือและแบบสำรวจ • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างภาครัฐ / สหภาพแรงงานและลูกจ้าง /องค์กรนายจ้าง / เกษตรกร /สหประชาชาติ / องค์กรระหว่างประเทศ / ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน / ผู้ปฏิบัติงาน จาก 4 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว มาเลเซีย และ เวียดนาม • ปรับปรุงคู่มือการจัดทำแผน BCP ในสถานประกอบการ โดยปรับใช้จาก 7 ขั้นตอนการจัดแผนประคองกิจการ

  18. ความร่วมมือ BCP ในต่างประเทศ APEC SMEWG Pandemic Influenza Train the Trainers WorkshopChina - 8 June 2010 ASEAN Consultative Meeting on Promoting Business Continuity Planning (BCP) within a Multi-sectoral Pandemic Preparedness and Response (PPR) Ha Noi , 6 - 7 July 2010 PUBLIC-PRIVATE MULTISECTORAL COLLABORATION WORKSHOP AND TABLE-TOP EXERCISE Jakarta , 13 – 15 September 2011

  19. BCP ต่างประเทศ • สิงคโปร์ - กลไกจัดการในภาวะฉุกเฉินคือ Homefront Crisis Management System (HCMS) เพื่อจัดทำแผนพัฒนาระดับชาติที่ต่อเนื่อง • ให้บริษัทข้ามชาติ ได้จัดตั้งศูนย์ BCP ระหว่างประเทศ • พัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ • พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพและทักษะด้าน BCP • จัดทำกฎระเบียบที่เอื้อต่อการจัดทำ BCP ระหว่างประเทศ ออสเตรเลีย - พัฒนาและเผยแพร่คู่มือ Building Resilience Through Business Continuity And Pandemic PlanningWorkbook ฟิลิปปินส์เตรียมความพร้อมและวางแผนรับผลกระทบแผน BCP ยังไม่ได้รับการพัฒนาและรวบรวมไว้ด้วยกัน จึงมุ่งเน้นไปที่แผน BCP ในอนาคต มาเลเซีย กัมพูชา เวียตนาม – ส่วนใหญ่เป็นแผนการเตรียมความพร้อม แต่พยายามส่งเสริม/สนับสนุนการจัดทำแผน BCP/ฝึกซ้อมในหน่วยงาน

  20. BCP VSHuman Influenza Research เฝ้าระวังโรค ป้องกันควบคุมโรค จัดการความรู้ :งานวิจัย (Human Influenza Research) สื่อสารความเสี่ยง การบริหารจัดการแบบบูรณาการ Preparedness BCP Preparedness and Response

  21. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย(ผลประชุมหน่วยงานทุกภาคส่วน วันที่ 7 มิถุนายน 54) กลไกการขับเคลื่อน BCP ภาครัฐ ยกร่างเป็นแผนยุทธศาสตร์ระดับประเทศแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยทุกกระทรวงมีการกำหนดนโยบาย และฝึกซ้อมแผนเป็นระยะ ภาครัฐวิสาหกิจ จัดทำแผนจัดการบริหารความเสี่ยง/ตั้งศูนย์วิกฤต/จัดระบบงานการสื่อสาร และจัดระบบประสานกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กำหนดกฏหมาย ข้อมูลข่าวสารประสานงานจัดลำดับความสำคัญ แนวทางการขยายเครือข่ายและฝึกอบรม BCP ภาครัฐ กระทรวงสาธารณสุข ควรเป็นแกนหลักประสาน/วิเคราะห์ความเสี่ยง/ขยายเครือข่าย / จัดทำทะเบียนเครือข่าย และรฝึกอบรม ภาครัฐวิสาหกิจ จัดให้อยู่ในเครือข่ายสุขภาพผลักดันให้เกิดวาระแห่งชาติและ มีคณะกรรมการระดับชาติรับผิดชอบ ภาคเอกชนเชื่อมต่อการขยายเครือข่ายกับภาครัฐ

  22. What next? พัฒนากลไกและขยายเครือข่าย BCP สู่ทุกภาคส่วน ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ภาคเอกชน ภาครัฐ ภาคบริการพื้นฐาน

  23. Thank you

More Related