500 likes | 891 Views
CPU. CPU :Central Processing Unit. CPU หรือ โปรเซสเซอร์ (Processor) คือวงจรประมวลผลหลักที่เป็นตัวประมวลผลตามชุดคำสั่ง หรือโปรแกรม. I/O Interface. Memory. Control Unit. Registers. ALU. CPU. ส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์.
E N D
CPU :Central Processing Unit • CPU หรือ โปรเซสเซอร์ (Processor) คือวงจรประมวลผลหลักที่เป็นตัวประมวลผลตามชุดคำสั่ง หรือโปรแกรม
I/O Interface Memory Control Unit Registers ALU CPU ส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ถูกออกแบบตามหลักการของ John Von Neumann ซึ่งจะมี 3 องค์ประกอบหลักได้แก่ • CPU • Memory • I/O Control bus Data bus Address bus
การทำงานภายใน CPU CPU ประกอบด้วยหน่วยการทำงานหลัก 2 หน่วย คือ • หน่วยควบคุม(Control Unit)ทำหน้าที่ดึงคำสั่งจากหน่วยความจำหลักมาไว้ใน register และทำการแปลงระหัส (Decoding) เรียกว่าจังหวะคำสั่ง (Instructional Cycle) แล้วจึงส่งเข้าสู่จังหวะปฏิบัติการคือ( Execution Cycle)ในหน่วยคำนวณตรรกะ • หน่วยตรรกะ (ALU :Arithmetic and Logical Unit) ทำการคำนวณผลหรือเปรียบเทียบแล้วจึงส่งผลลัพธ์เก็บไว้ใน Register ซึ่งทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลคำสั่งที่ถูกนำมา
CPU Architecture และ Clock กับการทำงาน สิ่งที่มีผลต่อความเร็วในการทำงานของ CPU ได้แก่ • Architecture ของ CPU ได้แก่โครงสร้างการทำงานภายใน, ระบบบัส, วงจรการทำงานของชุดคำสั่งต่าง ๆ (Instruction Set) • Clock Speed ถ้าเป็น CPU ที่ตัววงจรภายในเหมือนกัน ตัวที่มี Clock Speed สูงกว่า จะทำงานได้เร็วกว่า
การพัฒนา CPU CPU รุ่นใหม่ ๆ มีความเร็วในการทำงานที่สูงขึ้นได้ ต้องมีการพัฒนาปรับปรุงในหลาย ๆ ส่วน ได้แก่ • การเพิ่ม Clock Speed ในปัจจุบัน4 GHz • เพิ่มจำนวนวงจร และลดขนาดของวงจรในการผลิต เช่นจาก 0.32 ไมครอน เหลือ 0.13 ไมครอนในปัจจุบัน • ลดแรงดันไฟฟ้า เพื่อให้ความร้อนไม่สูงเกินไปนัก • เพิ่ม Cache Memory เพื่อลด Wait State ของ CPU • พัฒนา สถาปัตยกรรม และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในตัว CPU
เทคโนโลยีสำหรับ CPU รุ่นใหม่ • Superscalar : คือการ execute มากกว่า 1 operation ต่อ 1 clock เช่น การคำนวณ integer 4 operation และ 2 floating pointoperation พร้อมกัน • Pipeline เป็นการแบ่งงานออกเป็นส่วนย่อย ๆ ที่ต้องทำต่อเนื่องกันไป ทำให้สามารถเพิ่ม throughput ของระบบได้ • เช่นมี 2 งานใหญ่ ซึ่งใช้เวลาเท่ากัน ซึ่งถ้าจะทำงานที่ 2 ได้ ก็ต่อเมื่องานที่ 1 ทำเสร็จก่อน ถ้าแบ่งแต่ละงานออกเป็น 5 ส่วนย่อย เมื่อทำส่วนย่อยที่ 1 ของงานที่ 1 เสร็จ ก็สามารถเริ่มทำส่วนย่อยที่ 1 ของงานที่ 2 ได้เลย เมื่อทำงานที่ 1 เสร็จสิ้น ในเวลา 1/5ของเวลาทำแต่ละงานใหญ่ต่อมา งานที่ 2 ก็จะเสร็จตามด้วย
เทคโนโลยีสำหรับ CPU • พัฒนาระบบจัดการ Cache memory เช่น Branch Prediction ใน Cache memory เพื่อให้เฉพาะคำสั่งที่เหมาะสมเท่านั้น ที่จะถูกนำมาเก็บใน cache memory สำหรับให้ CPU นำไปประมวลผลได้โดยไม่มีการสะดุด • เพิ่มชุดคำสั่งพิเศษ เช่นชุดคำสั่งสำหรับการจัดการเกี่ยวกับ multimedia,Graphic , SSE ฯลฯ
รูปร่างของ CPU CPU แต่ละรุ่นและแต่ละผู้ผลิตจะมีรูปร่างลักษณะและโครงสร้างเช่นขนาด หรือจำนวนขา ไม่เหมือนกัน ซึ่ง CPU สำหรับ PC ในปัจจุบันแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ ๆ ได้แก่ • แบบ Cartridge จะมีรูปร่างเป็นตลับแบน ๆ หุ้มด้วยกล่องพลาสติก สำหรับเสียบในช่องเสียบแบบ slot • Slot 1 พัฒนาโดย Intel สำหรับ Pentium III รุ่นเก่า , Pentium II, Celeron รุ่นเก่า มีขาสัญญาณ 242 ขา • Slot 2 ของ Intel สำหรับ Pentium II Xeon, Pentium III Xeon ขาสัญญาณ 330 ขา • Slot A ใช้กับ CPU AMD Athlon รุ่นเก่า มีขาสัญญาณ 242 ขา
รูปร่างของ CPU • แบบ PGA (Pin Grid Array) จะมีลักษณะเป็นชิปแบน ๆ มีขาจำนวนมากอยู่ใต้ตัว CPU สำหรับเสียบลงใน Socket สามารถแบ่งย่อยได้หลายแบบเช่น • Socket 7 ใช้กับ Pentium MMX, AMD K5, K6, K6-2, K6-III มีขาสัญญาณ 321 ขา • Socket 370 ใช้กับ Pentium III, Celeron รุ่นใหม่ มีขาสัญญาณ 370 ขา • Socket 423 ใช้สำหรับ Pentium 4 • Socket A ใช้กับ AMD Athlon และ Duron มีขาสัญญาณ 462ขา
CPU จากค่ายต่าง ๆ ปัจจุบัน ผู้นำตลาด CPU สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ได้แก่ Intel Corp. ซึ่งผลิต CPU ในตระกูล X86 ซึ่งนอกจาก Intel แล้ว ยังมีผู้ผลิตอีกหลายราย ที่ผลิต CPU ที่ compatible กับ CPU Intel ได้แก่ • AMD Advance Micro Device • VIA/Cyrix • IBM • Transmeta
ทำไม CPU รุ่นใหม่ Compatible กับรุ่นเดิม ???อะไรคือการ Compatible ???
ทำไม CPU รุ่นใหม่ Compatible กับรุ่นเดิม การ Compatible กันคือ CPU รุ่นใหม่ สามารถทำงานกับโปรแกรมที่ทำงานบน CPU รุ่นเก่าได้ • มีชุด Registers ที่เหมือนกัน • รหัสคำสั่งเหมือนกัน แม้ว่าโครงสร้างการทำงานภายในของแต่ละคำสั่งอาจแตกต่างกัน • ถ้าไม่ได้ปรับปรุง Compiler ให้มีสามารถรองรับชุดคำสั่งใหม่ ๆ อาจทำให้ไม่สามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ
CPU ตระกูลต่าง ๆ ของ Intel • ตระกูล 80x86 มีพัฒนาการมาตั้งแต่ 8086 –Pentium IV ในปัจจุบัน • CPU ของ Intel ในระยะแรกจะใช้เลขรหัสแทนรุ่น แต่เนื่องจากปัญหาลิขสิทธิ์ จึงเปลี่ยนมาใช้เป็นชื่อแทน • ตระกูลที่ใช้ชุดคำสั่ง IA-64 ได้แก่ Itanium และ Itanium-2 ซึ่งจะไม่ compatible กับ x86
ตลาด CPU ของ Intel • สำหรับคอมพิวเตอร์ระดับ Server หรือ Workstation นั้น Intel แบ่งเกรดตลาดออก CPU ออกเป็น 3 ระดับ • High-End ได้แก่ CPU Itanium-2 • Midrange ได้แก่ CPU XEON • Entry-level ได้แก่ CPU Pentium IV • สำหรับเครื่อง Desktop หรือ Notebookจะใช้ CPU Pentium IV หรือ Celeron
CPU รุ่นต่าง ๆ ของ Intel Intel 80486 • 32-bit microprocessor, 32-bit data bus ,32-bit address bus. • 4GB main memory. • 20,50 ,66 , 100MHz • 80387 Math Coprocessor Build in ,Cache Memory 8 KB • About half of the instructions executed in 1 clock instead of 2 on the 386. • Variations: SX, DX2, DX4. • DX2: Double clocked version: • 66MHz clock cycle time with memory transfers at 33MHz.
CPU รุ่นต่าง ๆ ของ Intel Pentium: (1993) • 32-bit microprocessor, 64-bit data bus and 32-bit address bus. • 4GB main memory. • 60, 66, 90MHz. • Double clocked 120 and 133MHz versions. • Fastest version is the 233MHz (3-and-1/2 clocked version). • 16KB L1 cache (split instruction/data: 8KB each). • Memory transfers at 66MHz (instead of 33MHz). • Dual integer processors.
CPU รุ่นต่าง ๆ ของ Intel Pentium Pro: (1995) • 32-bit microprocessor, 64-bit data bus and 36-bit address bus. • 64GB main memory. • Starts at 150MHz. • 16KB L1 cache (split instruction/data: 8KB each). • 256KB L2 cache. • Memory transfers at 66MHz. • 3 integer processors.
CPU รุ่นต่าง ๆ ของ Intel Pentium II: (1997) • 32-bit microprocessor, 64-bit data bus and 36-bit address bus. • 64GB main memory. • Starts at 266MHz. • 32KBsplit instruction/data L1 caches (16KB each). • Module integrated 512KB L2 cache (133MHz). • Memory transfers at 66MHz to 100MHz (1998).
CPU รุ่นต่าง ๆ ของ Intel Pentium III: (1999) • 32-bit microprocessor, 64-bit data bus and 36-bit address bus. • 64GB main memory. • Up to 1 GHz. • 32KB split instruction/data L1 caches (16KB each). • On-chip 256KB L2 cache (at-speed). • Memory transfers 100MHz to 133MHz. • Dual Independent Bus (simultaneous L2 and system memory access).
CPU รุ่นต่าง ๆ ของ Intel Pentium IV: (2001) • 32-bit microprocessor, 64-bit data bus and 36-bit address bus. • 64GB main memory. • Up to 4 GHz. • Hyper Pipeline Technology 20 pipeline stages • 16KB Level 1 Execution Trace Cache. An execution Trace Cache that stores up to 12K decoded micro-ops in the order of program execution. • On-chip 256KB L2 cache (at-speed). • SSE2 Technology • Memory transfers 400MHz to 533MHz with RDRAM. http://www.rjross.com/intp4.html
CPU ของ AMD • สำหรับตลาดของ Server และ Workstation จะเป็น CPUOpteron • สำหรับตลาด Desktop และ Notebook จะเป็น Athlon และ Duron
Opteron • สำหรับตลาดของ Server และ Workstation • Base on x86 architecture โดยใช้ชุดคำสั่ง x86-64 http://www.amd.com/us-en/Processors/ProductInformation/0,,30_118_8826_8832,00.html
CPU ของ AMD AthlonXP • ออกแบบสำหรับตลาดระดับบนของเครื่อง Desktop • L1 cache 128 KB full speed • L2 cache 512 KB full speed • Support ชุดคำสั่ง 3DNow! และ SSE technology • Frontside bus 400MHz, 333MHz, 266MHz • 3.2 + GHz (2003)
CPU ของ AMD Duron • ออกแบบสำหรับตลาดล่าง • ใช้คุณสมบัติพื้นฐานของ Athlon • ลดขนาด cache ในระดับ 2 ลง • ปัจจุบัน ความเร็ว 1.3GHz and 1.2GHz
CPU ตระกูลอื่น ๆ ตระกูล TSM 9900 จาก Texas Instruments(1976) • มีการจัดการ Interrupt ที่ดี และการออกแบบ instruction set ที่ดีมาก • ข้อเสียคืออ้าง address space ได้น้อย(16 บิต) และต้องใช้งานร่วมกับหน่วยความจำความเร็วสูง • TSM9995 • TSM99000 • TSM99110 • TSM99610
CPU ตระกูลอื่น ๆ ตระกูล Motorola 680x0 • เป็น RISC CPU • อาจมีชื่อเรียกว่า Coldfire • ถูกเลือกไปใช้งานในเครื่อง Macintosh และในเครื่อง workstation อื่น ๆ • 68040 (1991) • 68060 (1994)
CPU ตระกูลอื่น ๆ ตระกูล IBM RS/6000 Power chips (1990) • เป็น RISC CPU • ใช้กับเครื่อง workstation ของ IBM • นิยมเรียกว่า powerPC หรือ POWER:Performance Optimization With Enhanced RISC ซึ่งจะมีบาง feature ที่แตกต่างกัน • powerPC601 (1993) • powerPC604 (1995) • ล่าสุด IBM powerPC 970 (2003)
CPU ตระกูลอื่น ๆ • Zilog Z-8000 • National Semiconductor 320xx • Philips Trimedia - A Media processor (1996) • SPARC :Scalable (originally Sun) Processor ARChitecture จาก Sun Microsystems ใช้กับ workstation ของ Sun • Base on 68000 • Transmeta Crusoe • ฯลฯ
อ่านเพิ่มเติม • เทคโนโลยีการผลิต CPU http://www.ruencom.com/hardware/cpu/cputech3.htm • CPU Architecture http://webster.cs.ucr.edu/Page_AoALinux/HTML/CPUArchitecture.html • The History of Intel CPU's: 586 to 786 Architecture http://www.teccollege.com/yaple/microhardware/intelcpu.htm • สถาปัตยกรรมไมโครโปรเซสเซอร์ http://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204323/ • CPU History http://www.pcmech.com/show/processors/35/
อ่านเพิ่มเติม • แนะนำประวัติ และพัฒนาการของ CPU ที่น่าสนใจhttp://www3.sk.sympatico.ca/jbayko/cpu.html • แนะนำโครงสร้าง และข้อมูลของ Pentium IV http://www.arstechnica.com/cpu/01q2/p4andg4e/p4andg4e-1.html • Basic instruction 8086 ftp://ftp.comlab.ox.ac.uk/pub/Cards/txt/8086.txt • Microprocessor instruction set card http://vmoc.museophile.com/cards/ • Instruction set ของ CPU 68000 http://www.arspentia.org/evilinc/instruction_set_68k
วิธีการติดตั้ง CPU แบบ Socket
วิธีการติดตั้ง CPU แบบ Socket (ต่อ)
วิธีการติดตั้ง CPU แบบ Socket (ต่อ)
วิธีการติดตั้ง CPU แบบ Socket (ต่อ)
วิธีการติดตั้ง CPU แบบ SLOT (ต่อ)
กิจกรรมท้ายบท • จงหาตัวอย่าง CPU ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ทั้ง เครื่อง PC ทั่วไป และเครื่อง Notebook มีรุ่นและความถี่ (Clock) อะไรบ้าง พร้อมทั้งบอกคุณสมบัติของแต่ละรุ่น 2. ซีพียูปลอม (Remarked CPU) คืออะไร จงบอกวิธีการตรวจสอบ ทั้งCPUของ Intel และ AMD