340 likes | 468 Views
KING MONGKUT’S UNIVERSITY. OF. TECHNOLOGY THONBURI. PRESENT. DAO คืออะไร ? จะสืบค้นข้อมูลจาก DAO ได้อย่างไร ? หน้าแรกของ DAO วิธีการสืบค้นข้อมูลและตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล การแสดงผลการสืบค้นข้อมูล การจัดการผลการสืบค้นข้อมูล. DAO คืออะไร. Dissertation Abstracts Online (DAO)
E N D
KING MONGKUT’S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI PRESENT
DAO คืออะไร? จะสืบค้นข้อมูลจาก DAO ได้อย่างไร ? หน้าแรกของ DAO วิธีการสืบค้นข้อมูลและตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล การแสดงผลการสืบค้นข้อมูล การจัดการผลการสืบค้นข้อมูล
DAO คืออะไร Dissertation Abstracts Online (DAO) เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทและเอก จากมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกา แคนาดา รวมทั้งมหาวิทยาลัยบางแห่งในทวีปยุโรป แอฟริกา ออสเตรเลียและเอเชีย ครอบคลุมสาขาวิชามากกว่า 3,000 สาขาเช่นวิศวกรรมศาสตร์ วิจิตรศิลป์ เคมี คณิตศาสตร์ เป็นต้น
จะสืบค้นข้อมูลจาก DAO ได้อย่างไร ? http://www.lib.kmutt.ac.th/online.html http://www.kmutt.ac.th/ http://www.uni.net.th
หน้าแรกของ DAo 1 3 4 2 1. เข้าหน้าจอการสืบค้นแบบ Basic search และ Advanced search 2.การสืบค้นแบบ Browse search 3.เรียกดูผลการสืบค้น 4.เรียกดูบทความที่เราเลือกไว้
วิธีการสืบค้นข้อมูล การสืบค้นแบบ Basic search การสืบค้นแบบ Advanced search การสืบค้นแบบที่ 1 (keyword + Field) การสืบค้นแบบที่ 2 (Search history) การสืบค้นแบบที่ 3 (Subject tree) การสืบค้นแบบที่ 4 (School index) การสืบค้นแบบ Browse search
การสืบค้นแบบ Basic search 5 1 3 2 4 1.ใส่คำที่ต้องการสืบค้น 2.เลือกประเภทของข้อมูลที่ต้องการสืบค้น เช่น Key word, Author, Title, School เป็นต้น 3.หากมีคำที่ใช้สืบค้นหลายคำให้เลือกประเภทของคำเชื่อม And, or หรือ And not เพื่อกำหนดเงื่อนไข 4.กำหนดขอบเขตของระยะเวลาที่ต้องการค้น 5.กดปุ่ม Search เพื่อทำการสืบค้น
ตัวอย่างการสืบค้นแบบ Basic search 1.เลือกคำที่ใช้สืบค้น ในที่นี้เลือกคำว่า vaccine 2.เลือกประเภทข้อมูลที่ใช้สืบค้นในที่นี้เลือก Title 3.คลิกปุ่ม Search
ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 389 บทความ
การสืบค้นแบบ Advanced search:Keyword+field 7 8 9 1 3 6 2 4 5 1.เลือกหัวข้อ Keyword+Field 2.ใส่คำที่ต้องการสืบค้น 3.ระบุขอบเขตของการสืบค้นจาก keyword, Title, School เป็นต้น 4.หากคำค้นมีมากกว่า 1 คำให้ระบุคำเชื่อมด้วย 5.กำหนดขอบเขตของระยะเวลาที่ต้องการ 7.คำค้นที่ระบุไว้จะปรากฏในช่องการสืบค้นโดยอัตโนมัติ 6.คลิกปุ่ม”ADD” 8.คลิกปุ่ม “search”เพื่อทำกาสืบค้นข้อมูล 9.หากต้องการแก้ไขให้คลิกปุ่ม “clear query” จะลบข้อมูลในช่องการสืบค้นออก
ตัวอย่างการสืบค้นแบบAdvanced search : KEYWORD + FIELD 4 5 3 1 2 1.เลือกคำที่ใช้สืบค้นในที่นี้เลือกคำว่า vaccine และAIDS โดยเลือกประเภทเป็น Title 2.เนื่องจากคำสืบค้นมีสองคำจึงต้องใช้คำเชื่อม ในที่นี้ใช้ AND เป็นคำเชื่อม 3.คลิกปุ่ม “ADD” 4.คำค้นจะปรากฏในช่องการสืบค้นอัตโนมัติ 5.คลิกปุ่ม SEARCH
ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 5 บทความ
การสืบค้นแบบ Advanced search : SEARCH HISTORY 5 7 6 1 3 2 8 4 1.ผู้สืบค้นจะต้องสืบค้นวิธีอื่นๆมาก่อน ซึ่งผลการสืบค้นจะถูกบันทึกไว้ใน search history โดยที่การสืบค้นครั้งใหม่สามารถสืบค้นโดยใช้คำจาก search history ได้เลย 2.ดู set ของคำที่ใช้สืบค้นมาก่อน 3.หากต้องการเลือกคำมากกว่า 1 set ให้ระบุคำเชื่อมด้วย 4.คลิกปุ่ม “ADD” 5.คำค้นที่เราระบุไว้จะปรากฏในช่องการสืบค้นโดยอัตโนมัติ 6.หากต้องการแก้ไขให้คลิกปุ่ม Clear Query ระบบจะลบข้อมูลในช่องการสืบค้นออก 7.คลิกปุ่ม SEARCH เพื่อทำการสืบค้น 8.คลิกตัวเลขในช่อง #Hit เมื่อต้องการดูบทความของการสืบค้นก่อนหน้านี้
ตัวอย่างการสืบค้นแบบ Advanced search : SEARCH HISTORY 1.เลือกคำที่ต้องการสืบค้นจากรายการสืบค้นทั้งหมดในที่นี่ต้องการสืบค้นจากคำใน set#1, set#3 และ set#4 2.คลิกปุ่ม”ADD”set ที่เราต้องการจะปรากฏในช่องการสืบค้น 3.คลิกปุ่ม SEARCH
ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 4 บทความ
การสืบค้นแบบ Advanced search : SUBJECT TREE 1.คลิกปุ่ม SUBJECT TREE 2.จะปรากฏสาขาวิชาทั้งหมดเลือกสาขาวิชาที่ต้องการ 2 4 1 3 3.เลือกหัวข้อที่ต้องการแล้วคลิกปุ่ม “add” 4.หากต้องการสืบค้นมากกว่าหนึ่งหัวข้อให้ระบุคำเชื่อมด้วย 5 6 7 5.หัวข้อที่เราต้องการสืบค้นจะปรากฏในช่องการสืบค้นโดยอัตโนมัติ 6.คลิกปุ่ม SEARCH เพื่อทำการสืบค้นข้อมูล 7.หากต้องการแก้ไขให้คลิกที่ปุ่ม CLEAR QUERY ระบบจะลบข้อมูลในช่องการสืบค้นออก
ตัวอย่างการสืบค้น Advanced search : SUBJECT TREE 1.เลือกสาขาวิชาที่ต้องการค้นบทความในที่นี้เลือก Communication and the Arts 2.เลือกหัวเรื่องที่ต้องการสืบค้นในที่นี้ต้องการสืบค้นจากหัวเรื่อง Architecture 3.คลิกปุ่ม “ADD” 4.คลิกปุ่ม Search
ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 4,663 บทความ
การสืบค้นแบบ Advanced search : SCHOOL INDEX 1.เลือกหัวข้อ School index 2.พิมพ์ชื่อมหาวิทยาลัยหรือบางส่วนของชื่อลงในช่องการสืบค้น 3.คลิกปุ่ม “Find school” จะปรากฏรายชื่อมหาวิทยาลัยที่สืบค้นได้ทั้งหมด 1 2 3 6 4.หากต้องการสืบค้นมากกว่า 1 มหาวิทยาลัยให้ใช้คำเชื่อมด้วย 4 5.คลิกปุ่ม”Add” รหัสของมหาวิทยาลัยจะปรากฏในช่องการสืบค้นอัตโนมัติ 5 6.คลิกปุ่ม Search
ตัวอย่างการสืบค้น Advanced search: SCHOOL INDEX 1.ในที่นี้ต้องการสืบค้นบทความจาก UNIVERSITY OF CAMBRIDGE จึงใช้คำว่า cambridge 2.ผลการสืบค้นมี 1 มหาวิทยาลัยชื่อ UNIVERSITY OF CAMBRIDGE(UNITED KINGDOM) 3.คลิกปุ่ม “ADD” 4.คลิกปุ่ม Search
ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 32 บทความ
การสืบค้นแบบ Browse search 1.เมื่อคลิกปุ่ม browse ระบบจะแสดงรายชื่อสาขาวิชาที่มีอยู่ 2.เลือกสาขาวิชาที่ต้องการจะปรากฏหัวเรื่องทั้งหมดออกมา 1 2 3.คลิกหัวเรื่องที่ต้องการ 3 4 5 4.รหัสหัวเรื่องจะแสดงในช่องการสืบค้น 5.คลิกปุ่ม Search 6.คลิกที่ตัวเลขหากต้องการดูผลการสืบค้นทั้งหมด หากต้องการจำกัดการสืบค้นให้ลงมาที่ Refine Your Search 6
ตัวอย่างการสืบค้นแบบ Browse Search 1.ในที่นี้ต้องการสืบค้นบทความจาก Phisical science 2.เลือกหัวเรื่อง Phisical –Electricity and Magnetism 3.รหัสของ Electricity and Magnetism จะปรากฏในช่องการสืบค้น 4.คลิก Search 5.คลิกที่ตัวเลขแสดงผลเพื่อดูผลการสืบค้น
ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 4,046 บทความ
การแสดงผลการสืบค้นข้อมูลการแสดงผลการสืบค้นข้อมูล 2 3 1 ในกรณีที่มีผลการสืบค้นมากเกินไป ระบบจะแสดงหน้าจอ Refine your search เพื่อให้ผู้ใช้จำกัดขอบเขตการสืบค้นข้อมูลให้แคบลง หากไม่ต้องการจำกัดการสืบค้นสามารถคลิกที่ตัวเลขแสดงจำนวนผลเพื่อดูรายละเอียดของผลการสืบค้นข้อมูล 1.ให้เพิ่มเติมหรือแก้ไขคำค้นใหม่ 2.กำหนดให้ระบบเลือกสืบค้นจากผลการสืบค้นเดิมหรือผลการสืบค้นใหม่ 3.คลิกปุ่ม Search
1 2 3 5 6 4 1.แสดงคำค้นและจำนวนที่ค้นได้ 2.เลือกจำนวนบทความที่แสดงผลในหนึ่งหน้า 3.เลือกการเรียงลำดับของบทความตามวันที่, ผู้แต่ง หรือ ชื่อเรื่อง 4.คลิกเพื่อเลือกดูบรรณานุกรมและบทคัดย่อหรือเอกสารฉบับเต็ม 24 หน้า 5.คลิกเลือกเก็บบทความไว้ใน Mark list เพื่อ save, print หรือส่ง E-mail 6.คลิกเลือกบทความนี้เก็บไว้ใน shopping cart เพื่อสั่งซื้อ
ตัวอย่างการแสดงผลการสืบค้นตัวอย่างการแสดงผลการสืบค้น หน้าจอแสดงบรรณานุกรม เช่น ชื่อบทความ, ชื่อผู้แต่ง, ปีที่พิมพ์พร้อมสาระสังเขป
1 แสดงบรรณานุกรมพร้อมเอกสารฉบับเต็ม 24 หน้า 1.คลิกเพื่อดูเอกสารฉบับเต็มแต่ละหน้า
1 แสดงเอกสารฉบับเต็มครั้งละหนึ่งหน้า 1.คลิกเพื่อเลือกดูหน้าก่อนหน้านี้, หน้าแสดงเอกสารฉบับเต็ม 24 หน้าหรือหน้าถัดไป
การจัดการผลการสืบค้นข้อมูลการจัดการผลการสืบค้นข้อมูล 4 1 2 3 1.คลิก mark all หากต้องการเลือกทุกบทความเพื่อ print ,save หรือส่ง E-mail 2.คลิกเพื่อเลือกบทความนั้นเก็บไว้ใน marked list เพื่อ print,save หรือส่ง E-mail 3.คลิกเพื่อเลือกบทความเก็บไว้ใน shopping cart เพื่อสั่งซื้อ 4.คลิก marked list เพื่อดูรายการที่เลือกไว้
การ Print 1.คลิก Print List ระบบจะแสดงข้อมูลเพื่อสั่งพิมพ์ 2.ในช่อง Output format ให้เลือก Text(Citation+Abstract) 1 3.ในช่อง Sort by สามารถกำหนดการเรียงลำดับของบทความตามปีและอักษรชื่อผู้แต่ง,อักษรชื่อผู้แต่งหรืออักษรชื่อบทความ 2 3 4 5 4.คลิก Print list ระบบจะแสดงข้อมูลเพื่อจัดพิมพ์ 5.คลิก File และเลือก Print เพื่อสั่งพิมพ์ต่อไป
การส่ง E-mail 2.ใส่ชื่อเรื่องที่ต้องการจะPrint 4 2 1 5 1.คลิก E-mail list 3 6 3.่ใส่ E-mai address ของผู้ที่ต้องการจะส่งข้อมูลให้ 4.ในช่อง Output format ให้เลือก Text(Citation+Abstract) 5.ในช่อง Sort by สามารถกำหนดการเรียงลำดับของบทความตามปีและอักษรชื่อผู้แต่ง,อักษรชื่อผู้แต่หรืออักษรชื่อบทความ 7 7.แสดงผลการส่ง 6.คลิก E-amil list ระบบจะส่งข้อมูลไปยัง E-mail address ที่ต้องการ
การ Download 2.ใส่ชื่อเรื่องที่ต้องการจะ Download 1.คลิก Download 2 3 1 4 5 3.ในช่อง Output format ให้เลือก Text(Citation+Abstract) 4.ในช่อง Sort by สามารถกำหนดการเรียงลำดับของบทความตามปีและอักษรชื่อผู้แต่ง,อักษรชื่อผู้แต่งหรืออักษรชื่อบทความ 6 5.คลิก Download 6.คลิก Save