1 / 105

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ พลังงาน

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ พลังงาน. โดย นายบุญลิ ศีลวัตกุล อดีตผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์และสารสนเทศพลังงาน. วันที่ 9 มิถุนายน 2555. หัวข้อการบรรยาย. ประเภทพลังงาน พลังงานสิ้นแปลือง พลังงนหมุนเวียน การจัดประเภทพลังงานแบบอื่นๆ สำรองพลังงาน (Energy reserve)

una
Download Presentation

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ พลังงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพลังงานความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพลังงาน โดย นายบุญลิ ศีลวัตกุล อดีตผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์และสารสนเทศพลังงาน วันที่ 9 มิถุนายน 2555

  2. หัวข้อการบรรยาย • ประเภทพลังงาน • พลังงานสิ้นแปลือง • พลังงนหมุนเวียน • การจัดประเภทพลังงานแบบอื่นๆ • สำรองพลังงาน (Energy reserve) • หน่วยพลังงานและการแปลงหน่วย (Energy Unit and Conversion)

  3. หัวข้อการบรรยาย (ต่อ) 5. การแปลงสภาพพลังงาน (Transformation Sector) 5.1โรงกลั่นน้ำมัน (Refinery) 5.2 โรงแยกก๊าซธรรมชาติ (Gas Separation Plant) 5.3 โรงไฟฟ้า (Power Plant) 6. พลังงานกับเศรษฐกิจ 6.1Energy Elasticity 6.2 Energy Intensity 6.3 Energy Per Capita

  4. พลังงาน • “ พลังงาน ” หมายถึง ความสามารถในการทำงาน ซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้พลังงานได้ ตามความหมายของ พรบ.คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ จะรวมถึง สิ่งที่อาจให้งานได้ เช่น เชื้อเพลิงชนิดต่างๆ ความร้อน และไฟฟ้า

  5. พลังงานแยกเป็น 2 ประเภท คือ • พลังงานสิ้นเปลือง • พลังงานหมุนเวียน

  6. 1. พลังงานสิ้นเปลือง ได้แก่ • น้ำมันดิบ (CRUDE) • คอนเดนเสท (CONDENSATE) • ก๊าซธรรมชาติ (NATURAL GAS) • ถ่านหิน (COAL + LIGNITE) • หินน้ำมันหรือทรายน้ำมัน (Oil shell or oil sand) • Orimulsion • นิวเคลียร์ (NUCLEAR)

  7. 2. พลังงานหมุนเวียน ได้แก่ • ไม้ ฟืน ถ่าน (FIREWOOD) • แกลบ (PADDY HUSK) • กากอ้อย (BAGASSE) • ชีวมวล (BIOMASS) • น้ำ (HYDRO) • ลม (WIND) • แสงแดด (SOLAR) • คลื่น (WAVE) • ความร้อนใต้พิภพ (GEOTHERMAL)

  8. เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนสถานะของเหลวที่ผลิตได้จากหลุมน้ำมัน (Oil Well) ก่อนส่งเข้ากระบวนการกลั่นแยก โดยมีองค์ประกอบที่หลากหลาย ตั้งแต่ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลต่ำจนกระทั่งไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลสูงเช่น โอโซเคอไรท์ ยางมะตอย (แอสฟัลท์ หรือ บิทูเมน) และไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติไม่ว่าในสภาพของแข็ง ของหนืด หรือของเหลว หน่วย: บาร์เรล, ลิตร น้ำมันดิบ (Crude Oil)

  9. แหล่งน้ำมันดิบที่สำคัญแหล่งน้ำมันดิบที่สำคัญ

  10. การผลิตน้ำมันดิบ หน่วย:บาร์เรล/วัน *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

  11. การนำเข้าน้ำมันดิบแยกตามแหล่งผลิตการนำเข้าน้ำมันดิบแยกตามแหล่งผลิต หน่วย : ล้านลิตร *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

  12. คอนเดนเสท (Condensate) • เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นของเหลว ซึ่งมีความดันไอสูง ผลิตได้จากหลุมก๊าซ (Gas Well) โดยกลั่นตัวแยกจากก๊าซธรรมชาติที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศซึ่งเมื่อผลิตมาถึงปากบ่อจะสามารถแยกจากไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซบนแท่นผลิตแล้วลำเลียงขนส่งโดยทางเรือหรือทางท่อนำไปกลั่นเป็นน้ำมันสำเร็จรูปต่อไป หน่วย: บาร์เรล, ตัน, ลิตร

  13. การผลิตคอนเดนเสท หน่วย:บาร์เรล/วัน *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

  14. ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) • เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซทุกชนิดไม่ว่าชื้นหรือแห้ง (Wet or Dry) ที่ผลิตได้จากหลุมน้ำมัน (Oil Well) หรือหลุมก๊าซ (Gas Well) รวมถึงก๊าซที่เหลือจากการแยกไฮโดรคาร์บอนในสภาพของเหลว (Natural Gas Liquid) หรือสารพลอยได้ออกจากก๊าซชื้น (Wet Gas) หน่วย: ลูกบาศก์ฟุต, ค่าความร้อน(บีทียู)/ลูกบาศก์ฟุต

  15. แหล่งก๊าซธรรมชาติที่สำคัญแหล่งก๊าซธรรมชาติที่สำคัญ

  16. การจัดหาก๊าซธรรมชาติ *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

  17. การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขาการใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา หน่วย : ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน สัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติ หน่วย : % *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

  18. ถ่านหินและลิกไนต์ (Coal And Lignite) • เป็นหินตะกอนชนิดหนึ่ง จัดเป็นแร่เชื้อเพลิง (Fuel Minerals) สามารถติดไฟได้ • การสะสมตัวของถ่านหินเริ่มจากอินทรียวัตถุ ประกอบด้วย คาร์บอน ออกซิเจน และไฮโดรเจน ธาตุหรือสารอื่นๆ เช่น กำมะถัน เจือปนเล็กน้อย เมื่อเกิดการเน่าเปื่อยทับถมของพืชยืนต้นในบริเวณน้ำนิ่งจะเริ่มกลายเป็นพีท และจากการกดทับจะทำให้เนื้อถ่านหินแน่นแข็ง อุณหภูมิและความดันเพิ่มขึ้น น้ำ ไฮโดรเจน และออกซิเจนเริ่มลดน้อยลงจนหนีหายออกไป ทำให้มีความเป็นถ่านหินสูงขึ้น ตั้งแต่ลิกไนต์ ซับบิทูมินัน บิทูมินัส และแอนทราไซต์ โดยคุณภาพของถ่านหินจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์ของคาร์บอน หน่วย : ตัน

  19. ประเภทของถ่านหิน

  20. ประเภทและองค์ประกอบของถ่านหินประเภทและองค์ประกอบของถ่านหิน • พีท (Peat) เป็นขั้นแรกในกระบวนการเกิดถ่านหิน ประกอบด้วยซากพืชซึ่งบางส่วนได้สลายตัวไปแล้วสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ • ลิกไนต์ (Lignite) มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีความชื้นมาก เป็นถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง • ซับบิทูมินัส (Sub-Bituminous) มีสีดำ เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพเหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้า • บิทูมินัส (Bituminous) เป็นถ่านหินเนื้อแน่น แข็ง ประกอบด้วยชั้นถ่านหินสีดำมันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ • แอนทราไซต์ (Anthracite) เป็นถ่านหินที่มีลักษณะดำเป็นเงา มันวาวมาก มีรอยแตกเว้าแบบก้นหอย ติดไฟยาก

  21. แหล่งผลิตลิกไนต์ที่สำคัญแหล่งผลิตลิกไนต์ที่สำคัญ • แม่เมาะ จังหวัด ลำปาง • กระบี่ จังหวัด กระบี่ • ลี้ จังหวัด ลำพูน • แม่ละเมา จังหวัด ตาก • แม่ตัน จังหวัด ลำปาง • แม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ • หนองหญ้าปล้อง จังหวัด เพชรบุรี

  22. การผลิตลิกไนต์ *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

  23. การใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์การใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์ หน่วย : Ktoe สัดส่วนการใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์ หน่วย: % *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

  24. การจัดประเภทพลังงาน ในรูปแบบอื่น ที่ควรทราบ

  25. 1. Primary Energy • น้ำ (HYDRO) • น้ำมันดิบ (CRUDE) • ลม (WIND) • ถ่านหิน (COAL/LIGNITE) “ Primary Energy ” หมายถึง พลังงานที่กำเนิดจากธรรมชาติ หรือพลังงานที่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบภายในประเทศ ได้แก่ • แสงแดด (SOLAR) • ก๊าซธรรมชาติ (NG) • ไฟฟ้าพลังน้ำ • ดีเซลนำเข้า • อื่นๆ

  26. 2. Secondary Energy • น้ำมันสำเร็จรูป (Petroleum Products) • ไฟฟ้าที่เกิดจากการผลิตจากเชื้อเพลิงอื่น “ Secondary Energy ”หมายถึง พลังงานที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบภายในประเทศ ได้แก่

  27. 3. Commercial Energy “Commercial Energy”หมายถึง พลังงานที่ซื้อขายกันในวงกว้าง ได้แก่ • ถ่านหิน (COAL/LIGNITE) • ก๊าซธรรมชาติ (NG) • น้ำมันดิบ (CRUDE) • คอนเดนเสท (CONDENSATE) • ไฟฟ้า (ELECTRICITY) • หินน้ำมัน (Oil Shell) • ทรายน้ำมัน (Oil Sand) • ออริมันชั่น (ORIMULSION) • นิวเคลียร์ (NUCLEAR) • อื่นๆ

  28. 4. Non Commercial Energy Fuel Wood Waste (Garbage) Bagasse Paddy Husk

  29. 5. Final Energy Consumption “Final Energy Consumption”หมายถึง พลังงานที่ใช้โดยผู้บริโภคคนสุดท้าย โดยไม่มีการเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานอื่นอีก

  30. Energy Reserve

  31. ปริมาณสำรองปิโตรเลียม (Petroleum Reserves) • ปริมาณสำรองปิโตรเลียมที่พิสูจน์แล้ว (Proved Reserves; P1)เป็นปริมาณของปิโตรเลียมที่สามารถผลิตในเชิงพาณิชย์ ณ วันที่กำหนดใดๆ โดยมีความแน่นอนสูง ภายใต้เงื่อนไขสภาวะเศรษฐกิจ และวิธีการผลิตในปัจจุบัน รวมถึงกฎระเบียบของรัฐ • ปริมาณสำรองที่คาดว่าจะพบ (Probable Reserves; P2)คือปริมาณสำรองที่ยังไม่ได้พิสูจน์ แต่มีความเป็นไปได้ว่าจะสามารถผลิตได้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลธรณีวิทยา และวิศวกรรม ซึ่งถ้าใช้วิธีการคำนวณแบบความน่าจะเป็น ( Probabilistic Method) จะต้องมีความน่าจะเป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ว่า จะได้ผลผลิตรวมมากกว่าหรือเท่ากับปริมาณสำรองพิสูจน์แล้วรวมกับปริมาณสำรองที่คาดว่าจะพบ (P50>=P1+P2) • ปริมาณสำรองที่น่าจะพบ (Possible Reserve; P3)คือปริมาณสำรองที่ยังไม่ได้พิสูจน์ แต่มีความเป็นไปได้ว่าจะสามารถผลิตได้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลธรณีวิทยา และวิศวกรรม ซึ่งถ้าใช้วิธีการคำนวณแบบความน่าจะเป็น ( Probabilistic Method) จะต้องมีความน่าจะเป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ว่า จะได้ผลผลิตรวมมากกว่าหรือเท่ากับปริมาณสำรองพิสูจน์แล้วรวมกับปริมาณสำรองที่คาดว่าจะพบและรวมกับปริมาณสำรองที่น่าจะพบ (P10>=P1+P2+P3)

  32. Distribution of proved oil reserves

  33. Oil reserves-to-production (R/P) ratios

  34. Distribution of proved natural gas reserves

  35. Natural gas reserves-to-production (R/P) ratios

  36. Proved coal reserves

  37. Coal reserves-to-production (R/P) ratios

  38. Fossil fuel reserves-to-production (R/P) ratios

  39. แหล่งบนบก น้ำมันดิบ 63 ล้านบาร์เรล คอนเดนเสท 3 ล้านบาร์เรล ก๊าซธรรมชาติ 770 พันล้าน ลบ.ฟ. แหล่งพลังงานของประเทศไทยณ 31 ธันวาคม 2550 แหล่งอ่าวไทย น้ำมันดิบ 314 ล้านบาร์เรล คอนเดนเสท 585 ล้านบาร์เรล ก๊าซธรรมชาติ 22,105 พันล้าน ลบ.ฟ.

  40. ปริมาณสำรองปิโตรเลียมณ 31 ธันวาคม 2553 SOURCES: * DEPARTMENT OF MINERAL FUELS

  41. Energy UnitandConversion

  42. Energy Unit and Calculation • BBL/D , KBD , KBPCD • BBL/D CRUDE OIL EQUIVALENT • Ton Oil Equivalent (TOE , KTOE) • Joule (MJ, PJ, TJ) • CAL , KCAL • BTU , M.BTU Remark : 1 BBL = 158.99 LITRES 1 LITRE = 0.54 KG. (LPG)

  43. Measured Units

  44. CONVERSION FACTORS

  45. CONVERSION FACTORS (cont.)

  46. CONVERSION FACTORS (cont.)

  47. CONVERSION FACTORS (cont.)

  48. การแปลงหน่วย 1. ปี 2003 ประเทศไทยผลิต NG. ได้วันละ 2,106 ล้านลูกบาสก์ฟุต จะมีค่าความร้อนเท่าใดในปีนี้ เมื่อ ก. หน่วยเป็น BTU ข. หน่วยเป็น KTOE ค. หน่วยเป็น BBL/D เทียบเท่าน้ำมันดิบ

  49. ก. หน่วยเป็น BTU ผลิต NG. ปี 2003 ทั้งปี =2,106 x 365 MMSCF NG. 1 SCF = 980 BTU NG. 2,106 x 365 MMSCF = 980 x 2,106 x 365 x 106 BTU = 753,316,200 M.BTU

  50. ข. หน่วยเป็น KTOE ผลิต NG. ปี 2003 ทั้งปี =2,106 x 365 MMSCF NG. 1 MMSCF = 24.57 TOE NG. 2,106 x 365 MMSCF = 24.57 x 2,106 x 365 TOE = 18,886,713.3 TOE 1 KTOE = 1,000 TOE = 18,886.7 KTOE

More Related