1 / 46

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand).

ulla-burt
Download Presentation

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

  2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงความต้องการซื้อสินค้าต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงปัจจัยต่างๆ ที่กำหนดอุปสงค์ เช่น ราคา รายได้ ราคาสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น

  3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์(Elasticity of Demand) • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand) • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องหรือความยืดหยุ่นไขว้ (Cross Price Elasticity of Demand)

  4. % Q Ed = % P ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand)เป็นการวัดการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง โดยวัดออกมาในรูปของร้อยละ

  5. วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่นวิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น • การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด(Point Elasticity of Demand) • การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง(Arc Elasticity of Demand)

  6. ความยืดหยุ่น ณ จุด A เท่ากับ ? P Qเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด เมื่อ Pเพิ่มขึ้น B P1 : ราคาเดิม P2 : ราคาใหม่ Q1 : ปริมาณเดิม Q2 : ปริมาณใหม่ P2 A P1 Q Q2 Q1 การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด(Point Elasticity of Demand)

  7. สูตรความยืดหยุ่นของอุปงค์แบบจุด (Point elasticity of Demand) % Q Ed = % P Q1 - Q2 P1 Ed = x P1 - P2 Q1 Q2 - Q1 P1 Ed = x P2 - P1 Q1

  8. ตัวอย่าง สินค้าราคา 20 บาท มีคนซื้อ 10 ชิ้น แต่ราคาลดลงเป็น 18 บาท คนจะซื้อเพิ่มเป็น 15 ชิ้น ค่าความยืดหยุ่นที่ A คือ

  9. Q2 - Q1 P1 Ed = x P2 - P1 Q1 15 - 10 20 = x 18 - 20 10 20 5 = x 10 2 = 5

  10. P A 20 B 18 D Q 0 10 15

  11. ค่าความยืดหยุ่นที่ A = -5 หมายถึงว่า ถ้าราคาเปลี่ยนไป 1% ปริมาณซื้อจะเปลี่ยนไป 5% ส่วนเครื่องหมายเป็นลบเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณความต้องการซื้อมีทิศทางตรงกันข้าม ค่าความยืดหยุ่นจะพิจารณาเฉพาะตัวเลขเท่านั้น

  12. Q1 - Q2 P2 Ed = x P1 - P2 Q2 10 - 15 18 = x 20 - 18 15 18 5 = x 15 2 = 3 สำหรับค่าความหยือหยุ่นที่จุด B คือ

  13. P A 20 B Ed = - 3 Ed = - 5 18 15 10 Q

  14. จะเห็นว่าค่าความยืดหยุ่นที่จุด A = -5 ที่ B = -3 ได้ค่าไม่เท่ากันทั้งๆที่การเปลี่ยนแปลงของปริมาณการซื้อ และราคาที่มีค่าเท่ากัน เพียงแต่การใช้ราคาปริมาณเริ่มแรกที่แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหาว่าจะใช้ค่าใดเป็นเริ่มแรก การคำนวณค่าความยืดหยุ่นจึงมีอีกสูตรหนึ่ง คือ

  15. % Q Ed = % P Q1 - Q2 P1+ P2 x Ed = P1 - P2 Q1 + Q2 ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์บนช่วงใดช่วงหนึ่งบนเส้นอุปสงค์ (Arc elasticity of demand) คือ ช่วง AB

  16. P1 : 20บาท Q1 : 10ชิ้น P2 : 18 บาท Q2 : 15 ชิ้น Q1 - Q2 P1+ P2 x Ed = P1 - P2 Q1 + Q2 10 - 15 20 + 18 38 5 = x = x 20 - 18 10 + 15 25 2 = 3.8

  17. P A Ed = - 3.8 20 B 18 15 10 Q ซึ่งค่า -3.8 นี้ไม่ว่าจะใช้ราคาและปริมาณใดเป็นตัวเริ่มต้นก็ตามจะได้ค่าเท่ากับ -3.8 เสมอ

  18. % Q Ed = % P ถ้า % Q >% P  Ed  > 1 ถ้า % Q <% P  Ed  < 1 ถ้า % Q =% P  Ed  = 1 ถ้า % Q = 0   Ed  = 0 ถ้า % P = 0   Ed  =  ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าและความสัมพันธ์กับรายรับของผู้ขาย

  19. Price Elasticity of Demand

  20. ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ความยืดหยุ่นมาก(Elastic)    ความยืดหยุ่นน้อย(Inelastic) -  สินค้าที่มีของทดแทนได้มาก    -  สินค้าที่มีของทดแทนได้น้อย -  สินค้าฟุ่มเฟือย                      -  สินค้าจำเป็น -  สินค้าคงทนถาวร                    -  สินค้าที่มีราคาเพียงเล็กน้อย

  21. % Q >% P P P TR = = P Q TR P Q TR x x 5 4 Q 100 50 1.อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมาก(Elastic Demand ; 1 <Ed<)

  22. % Q <% P P P TR = P Q TR x 5 = P Q TR x 4 Q 100 90 2.อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อย(Inelastic Demand ; 0 < Ed <1)

  23. % Q =% P P P TR คงที่ 400 บาท 5 400 บาท 4 Q 100 80 3.อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นคงที่(Unitary Elastic Demand ;  Ed =1)

  24. % P = 0 P TR มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณซื้อ D 4 Q 50 100 4.อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมากที่สุด(Perfectly Elastic Demand ; Ed=)

  25. % Q = 0 P D TR มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับราคา 5 4 Q 100 5.อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อยที่สุด(Perfectly Inelastic Demand ; Ed=0)

  26. สรุป

  27. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand : EY) • เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของรายได้ % Q EY = % Y

  28. วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่นวิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น • การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด(Point Elasticity of Demand) • การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง(Arc Elasticity of Demand)

  29. การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด(Point Elasticity of Demand) Q1 - Q2 Y1 EY = x Y1 - Y2 Q1 Y1 : รายได้เดิมQ1 : ปริมาณเดิม Y2 : รายได้ใหม่Q2 : ปริมาณใหม่

  30. การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง(Arc Elasticity of Demand) Q1 - Q2 Y1+ Y2 x EY = Y1 - Y2 Q1 + Q2

  31. ถ้าค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้มีเครื่องหมายเป็นบวกแสดงว่าเป็นสินค้าปกติ (Normal Goods) หรือสินค้าฟุ่มเฟือย (Superior Goods) และถ้ามีเครื่องหมายเป็นลบแสดงว่าเป็นสินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) เพราะเมื่อผู้บริโภคมีรายได้เพิ่มขึ้นจะซื้อสินค้าชนิดนั้นลดลง

  32. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องหรือความยืดหยุ่นไขว้ (Cross - Price Elasticity of Demand : EC) • เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง % QX Ec = % Py

  33. การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด(Point Elasticity of Demand) Qx1 - Qx2 Py1 EC = x Py1 - Py2 Qx1 Py1 : ราคา y เดิมQx1 : ปริมาณ x เดิม Py2 : ราคา y ใหม่Qx2 : ปริมาณ x ใหม่

  34. Qx1 - Qx2 Py1+Py2 EC = x Py1 - Py2 Qx1+Qx2 การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง(Arc Elasticity of Demand)

  35. สินค้าที่เกี่ยวข้องกันแบ่งได้ 2 ชนิด ดังนี้ • สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary Goods)เป็นสินค้าที่ในการอุปโภคบริโภคต้องใช้ร่วมกัน ถ้าขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะไม่สามารถบริโภคได้ เช่น รถยนต์และน้ำมัน เป็นต้น ความสัมพันธ์ของสินค้าที่ต้องใช้ประกอบกันจะมีทิศทางตรงกันข้ามหรือเป็น - • สินค้าทดแทนกัน (Substitute Goods)เป็นสินค้าที่ในการอุปโภคบริโภค ถ้าหาสินค้าชนิดหนึ่งไม่ได้สามารถใช้สินค้าอีกชนิดหนึ่งทดแทนได้ เช่น เนื้อหมูกับเนื้อไก่ เป็นต้น ความสัมพันธ์ของสินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้จะมีทิศทางเดียวกันหรือเป็น +

  36. % Q Es = % P ความยืดหยุ่นของอุปทาน(Elasticity of Supply: Es) • ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply) : เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้น

  37. Q1 - Q2 P1+ P2 Q1 - Q2 P1 x Es = Es = x P1 - P2 Q1 + Q2 P1 - P2 Q1 วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น • การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด(Point Elasticity of Supply) • การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง(Arc Elasticity of Supply)

  38. P S Q 100 ค่าความยืดหยุ่นและลักษณะของเส้นอุปทาน 1.อุปทานที่มีความยืดหยุ่นน้อยที่สุด(Perfectly Inelastic Supply ; Es=0) % Q = 0

  39. P S % Q <% P 5 25% 4 110 100 Q 10% 2.อุปทานที่มีความยืดหยุ่นน้อย(Inelastic Supply ; 0 <Es<1)

  40. P S % Q =% P 5 25% 4 125 100 Q 25% 3.อุปทานที่มีความยืดหยุ่นคงที่(Unitary Elastic Supply ; Es =1)

  41. P % Q >% P S 5 25% 4 160 100 Q 60% 4.อุปทานที่มีความยืดหยุ่นมาก(Elastic Supply ; 1 <Es <)

  42. P % P = 0 S 4 Q 5.อุปทานที่มีความยืดหยุ่นมากที่สุด(Perfectly Elastic Supply ; Es=)

  43. Price Elasticity of Supply

  44. ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทานปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน • ความยากง่ายและเวลาที่ใช้ในการผลิต สินค้าที่สามารถผลิตได้ง่ายและใช้เวลาในการผลิตสั้นอุปทานของสินค้ามีค่าความยืดหยุ่นสูง • ปริมาณสินค้าคงคลัง สินค้าที่มีสินค้าคงคลังสำรองมาก อุปทานของสินค้าจะมีความยืดหยุ่นสูง

  45. ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทานปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน • ความหายากของปัจจัยการผลิต ถ้าปัจจัยที่ใช้ในการผลิตสินค้ามีจำนวนจำกัดและหายาก ต้องใช้เวลาในการหาปัจจัยการผลิตนาน อุปทานของสินค้าชนิดนั้นจะมีความยืดหยุ่นต่ำ • ระยะเวลา ถ้าระยะเวลานานความยืดหยุ่นของอุปทานจะมากเพราะผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงการใช้ปัจจัยการผลิตได้ทุกชนิด แม้แต่เทคโนโลยีและเครื่องมือเครื่องจักรต่างๆ

  46. ประโยชน์ของค่าความหยืดหยุ่นของอุปสงค์ประโยชน์ของค่าความหยืดหยุ่นของอุปสงค์ • ในการวางนโยบายหรือมาตรการของรัฐ เช่น การจัดเก็บภาษีจากสินค้า รัฐจะต้องรู้ว่าสินค้านั้นมีความหยืดหยุ่นเท่าไร เพื่อจะได้ทราบว่าภาระภาษีจะตกไปบุคคลกลุ่มใด • ช่วยให้หน่วยุรกิจสามารถดำเนินกลยุทธทางด้านราคาได้อย่างถูกต้องว่าสินค้าชนิดใดควรตั้งราคาสินค้าไว้สูงหรือต่ำเพียงใด ควรเพิ่มหรือลดราคาสินค้า จึงจะทำให้รายได้รวมกำไรของธุรกิจจะเพิ่มขึ้น • นำมาใช้ประกอบการพยากรณ์แนวโน้มกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

More Related