1 / 26

สิทธิสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาล

สิทธิสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาล. กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน. นโยบาย การบูร ณา การระบบ การ ให้บริการ เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน.

ulf
Download Presentation

สิทธิสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลสิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน

  2. นโยบายการบูรณาการระบบการให้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน รัฐบาลมีนโยบายให้ประชาชนคนไทยทุกสิทธิ ทั้งสิทธิหลักประกันสุขภาพ สิทธิประกันสังคม สิทธิสวัสดิการรักษาข้าราชการ สามารถเข้ารับบริการ กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน ที่โรงพยาบาลทุกที่ โดยไม่ต้องถูกถามสิทธิ และไม่ต้องสำรองจ่ายค่าใช้จ่ายล่วงหน้า ซึ่งเริ่มดำเนินการตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2555

  3. 4 นิยามเจ็บป่วยฉุกเฉิน หมายถึง ผู้ป่วยที่เป็นโรค ได้รับบาดเจ็บ หรือมีอาการบ่งชี้ว่าจะเป็นอาการที่คุกคามต่อการทำงานของอวัยวะสำคัญ ได้แก่ หัวใจ สมอง ทางเดินหายใจ ต้องดูแลติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะอาจทำให้เสียชีวิตได้ทันที

  4. ตัวอย่าง ผู้ป่วยฉุกเฉิน หัวใจหยุดเต้น หอบหืดขั้นรุนแรง มีการเขียวคล้ำของปากและเล็บมือ หมดสติ ไม่รู้สึกตัว สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นหลอดลมทั้งหมด อุบัติเหตุรุนแรงบริเวณใบหน้าและลำคอ มีเลือดออกมาก ภาวะช็อกจากการเสียเลือด หรือขาดน้ำอย่างรุนแรง แขน ขา อ่อนแรง พูดไม่ชัด ชักตลอดเวลาหรือชักจนตัวเขียว มีไข้สูงกว่า 40 องศาเซลเซียส ถูกสารพิษ สัตว์มีพิษกัด หรือได้รับยามากเกินขนาด ถูกสุนัขกัดบริเวณใบหน้าและลำคอ เป็นต้น

  5. สิทธิเดิมกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉินสิทธิเดิมกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน สิทธิสวัสดิการข้าราชการ เข้ารักษา รพ.รัฐ เบิกจ่ายตรงกับกรมบัญชีกลาง กรณีไม่ได้อยู่ในระบบเบิกจ่ายตรงของ รพ. เป็นผู้ป่วยนอกต้องสำรองจ่ายก่อน รพ.เอกชนได้ค่าห้องค่าอาหาร 600 บาทต่อวัน ค่าอวัยวะเทียม อุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรคเบิกได้ตามรายการและอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด ค่ารักษาพยาบาลเบิกได้ครึ่งหนึ่งของที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 4000 บาท

  6. สิทธิประกันสังคมเจ็บป่วยฉุกเฉินให้เข้าโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ที่สุด โดยรับผิดชอบค่าใช้จ่ายภายใน 72 ชั่วโมง จากนั้นต้องกลับไปรักษายัง รพ.ที่ลงทะเบียนไว้ การเบิกจ่ายตามจริงยกเว้นค่าห้อง ค่าอาหารเบิกได้ไม่เกิน 700 บาทสำหรับ รพ. รัฐ ส่วน รพ.เอกชน สำหรับผู้ป่วยในหากอาการไม่รุนแรงเบิกได้ไม่เกิน วันละ 2000 บาท ค่าห้องค่าอาหารไม่เกินวันละ 700 บาท แต่หากอาการโคม่ารวมทั้งหมดเบิกได้ไม่เกิน 4500 บาท และหากจำเป็นต้องผ่าตัดใหญ่เบิกได้ไม่เกินครั้งละ 8000-16000 บาท ที่เหลือจ่ายเอง และถ้าเป็นผู้ป่วยนอกเบิกได้ไม่เกินครั้งละ1000 บาท

  7. สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หากเข้า รพ.รัฐหรือเอกชนที่อยู่ในเครือข่าย ผู้ป่วยไม่ต้องจ่ายอะไร หากเมื่อพ้นขีดอันตรายต้องส่งกลับ รพ.ต้นสังกัด แต่หากไปเข้ารักษา รพ.ที่อยู่นอกเครือข่ายจะเบิกได้ครั้งละไม่เกิน 14000 บาทซึ่งเป็นไปตาม ม.7 ของ พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545

  8. รักษาทุกที่ หมายถึง สามารถเข้ารับการรักษาได้ทันที ทุกโรงพยาบาลทั้งรัฐและเอกชนที่ใกล้ที่สุดโดยไม่ถูกถามสิทธิก่อนรักษา ไม่ต้องสำรองจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาล ไม่ถูกบ่ายเบี่ยงการรักษา และได้การดูแลรักษาจนกว่าอาการจะทุเลาลง

  9. ทั่วถึงทุกคน หมายถึง ผู้มีสิทธิตามรายละเอียดข้างต้น ประกอบไปด้วยผู้มีสิทธิของ 3 กองทุน - ข้าราชการและครอบครัว จากกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ กรมบัญชีกลาง - ผู้ประกันตน จากกองทุนประกันสังคม - ประชาชนที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ( 30 บาทรักษาทุกโรค) จากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  10. www.cgd.go.th การตรวจสอบสิทธิ ข้าราชการ ตรวจสอบสิทธิ

  11. การตรวจสอบสิทธิ ตรวจสอบสิทธิ

  12. การตรวจสอบสิทธิ คลิกเลือก

  13. การตรวจสอบสิทธิ กรอกเลขบัตรประจำตัวประชาชน กด ค้นหา กรอกเลขบัตรประจำตัวประชาชน กด ค้นหา

  14. การตรวจสอบสิทธิ กรณีมีสิทธิกรมบัญชีกลาง มีสิทธิ กรณีนี้ สามารถนำมาเบิกจากทางราชการได้

  15. การตรวจสอบสิทธิ กรณีมีสิทธิซ้ำซ้อน สิทธิหลัก

  16. การตรวจสอบสิทธิประกันสังคมการตรวจสอบสิทธิประกันสังคม คลิก

  17. www.sso.go.th

  18. กรอกเลขบัตรประจำตัวประชาชน กด ค้นหา

  19. กรณีมีสิทธิประกันสังคมกรณีมีสิทธิประกันสังคม

  20. การตรวจสอบสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าการตรวจสอบสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า www.nhso.go.th คลิก

  21. คลิกตรวจสอบสิทธิด้วยตนเองคลิกตรวจสอบสิทธิด้วยตนเอง

  22. กดตรวจสอบสิทธิหลักประกันสุขภาพกดตรวจสอบสิทธิหลักประกันสุขภาพ

  23. กรอกเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก กรอกวันเดือนปีเกิด ระบุตัวอักษรตามภาพด้านบน กด ตรวจสอบสิทธิ์

  24. แสดงสิทธิ

  25. คำถาม - สิทธิข้าราชการที่ได้รับเพิ่มจากเดิม * กรณีเข้ารักษาโรงพยาบาลรัฐ * กรณีเข้ารักษาโรงพยาบาลเอกชน - สิทธิ ของผู้ประกันตนเพิ่มจากเดิม - สิทธิประกันสุขภาพทั่วหน้าเพิ่มจากเดิมคือ

  26. จบแล้วนะค่ะ... ขอบคุณค่ะ..

More Related