1 / 71

6.ประสบอัคคีภัยหรือภัยธรรมชาติฯลฯ

1. ปฐมนิเทศน์พนักงานใหม่. สวัสดิการ. 4. ค่าอุปสมบท. 1. ค่ารักษาพยาบาล. 5. ผู้เกษียณอายุ. 2. ค่าเล่าเรียนและการศึกษาของบุตรของผู้ปฏิบัติงาน. 6.ประสบอัคคีภัยหรือภัยธรรมชาติฯลฯ. 3. ค่าคลอดบุตร. 2. ค่ารักษาพยาบาล. 1. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล

skyler
Download Presentation

6.ประสบอัคคีภัยหรือภัยธรรมชาติฯลฯ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 ปฐมนิเทศน์พนักงานใหม่ สวัสดิการ 4. ค่าอุปสมบท 1. ค่ารักษาพยาบาล 5. ผู้เกษียณอายุ 2. ค่าเล่าเรียนและการศึกษาของบุตรของผู้ปฏิบัติงาน 6.ประสบอัคคีภัยหรือภัยธรรมชาติฯลฯ 3. ค่าคลอดบุตร

  2. 2 ค่ารักษาพยาบาล 1. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล - ผู้ปฏิบัติงาน - บุคคลในครอบครัว 2. ระยะเวลาในการใช้สิทธิ - ต้องใช้สิทธิภายใน 90 วัน คือ นับจากวันที่ได้ชำระเงินจนถึงวันที่เขียนคำร้อง เว้นแต่มีกรณีพิเศษที่คณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์เห็นสมควรผ่อนเวลาให้

  3. 3 • 3. การใช้สิทธิของบุคคลในครอบครัว • - กรณีไม่มีสิทธิได้รับการช่วยเหลือจากทางราชการหรือหน่วยงานอื่นให้นำมาเบิกกับ กฟภ. • - กรณีมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือจากทางราชการหรือหน่วยงานอื่นให้ใช้สิทธิจากหน่วยงานดังกล่าวก่อน แต่ถ้าสิทธิที่ได้รับการช่วยเหลือต่ำกว่าที่จะได้รับจาก กฟภ. กรณีเช่นนี้ให้มีสิทธิเบิกเพิ่มเติมได้เท่าที่จำนวนยังขาดอยู่

  4. 4 • 4. การใช้สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลของบุตร 5. การใช้สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีบุคคลในครอบครัวเป็นข้าราชการ

  5. 5 6. การใช้สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล กรณีบุคคลในครอบครัวเป็นผู้ประกันตนตาม พรบ.ประกันสังคม 7. การใช้สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีประสบภัยจากรถ 8. การเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีทำประกันสุขภาพไว้เป็นการส่วนตัว

  6. 6 9. การเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีนำใบเสร็จรับเงินไปเบิกกับหน่วยงานอื่นก่อน และ นำสำเนามาเบิกกับ กฟภ. 10. การเบิกค่ารักษาพยาบาล กรณีมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยงานของทางราชการ แต่ไม่ไปใช้สิทธิ แต่มาขอใช้สิทธิกับ กฟภ. โดยอ้างว่าหน่วยงานของราชการไม่ให้เบิก

  7. 10 12. การพิจารณาในการให้เบิก - ค่าตรวจทางห้องทดลอง (แพทย์สถานพยาบาล กฟภ. หรือ แพทย์ของสถานพยาบาลของราชการ แนะนำ และให้ความเห็นชอบไปทำ) - ค่าเอ๊กซเรย์ (แพทย์สถานพยาบาล กฟภ. หรือ แพทย์ของสถานพยาบาลของราชการแนะนำ และให้ความเห็นชอบไปทำ)

  8. 11 - ค่ายา (แพทย์สถานพยาบาล กฟภ. หรือ แพทย์ ของสถานพยาบาลของราชการสั่ง) - ค่าอวัยวะเทียม , อุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค (แพทย์สถานพยาบาล กฟภ. หรือ แพทย์ของสถานพยาบาลของราชการสั่ง) - ค่าธรรมเนียมแพทย์ , ค่าธรรมเนียมพิเศษ นอกเวลาราชการของ รพ.ราชการ

  9. 12 - ค่าล้างไตคนไข้นอก รพ.เอกชน - ค่ารักษาพยาบาล ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย - ค่ายาของ รพ.ราชการ ที่อยู่ในช่องที่เบิกไม่ได้ หรือที่ รพ.ราชการระบุว่า ค่ายาเบิกราชการไม่ได้

  10. 13 - ค่ารักษาพยาบาลที่รักษาเป็นเวลานานผิดปกติ - การเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีที่รพ.เอกชน มีข้อตกลงให้ส่วนลดกับ กฟภ. - การออกหนังสือรับรองการมีสิทธิให้ รพ.ราชการ (ต้นสังกัด)

  11. ค่ารักษากรณีป่วยหนักกะทันหันค่ารักษากรณีป่วยหนักกะทันหัน เบิกได้ตามคณะกรรมการจัดการกองทุนสงเคราะห์ฯ เห็นสมควร หลักฐานประกอบการขอเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีป่วยหนักกะทันหัน 1. คำร้องและใบสำคัญจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาล (สก.5-ร.39 หรือ สก.5-ป.45) 2. บันทึกชี้แจงเหตุผลของการนำผู้ป่วยเข้ารับการรักษาใน รพ.เอกชนโดยระบุ วันที่ เวลา ที่เกิดการเจ็บป่วย อาการแรกป่วย สถานที่เกิดการเจ็บป่วย และระบุว่าใครเป็นผู้นำผู้ป่วยส่ง รพ. 14

  12. 15 3. แผนที่สังเขป 3.1 แสดงระยะทางจากสถานที่เกิดการเจ็บป่วยถึง รพ.เอกชน ที่เข้ารับการรักษาว่าเป็นระยะทางเท่าใด 3.2 แสดงระยะทางจากสถานที่เกิดการเจ็บป่วยถึง รพ.ราชการ ที่ใกล้ที่สุดว่าเป็นระยะทางเท่าใด 3.3 ให้ผู้บังคับบัญชาสูงสุดที่ผู้ขอเบิกสังกัดเป็นผู้รับรองแผนที่สังเขป โดยระบุข้อความว่าเป็นระยะทางที่ถูกต้องพร้อมกับเซ็นชื่อ 4. ใบเสร็จรับเงิน , ใบหน้างบสรุปรายการค่ารักษาพยาบาล 5. ใบรับรองแพทย์ผู้ตรวจรักษา และคำวินิจฉัยโรค 6. สำเนาโอพีดีการ์ด

  13. 16 7. สำเนาการรักษาพยาบาลของแพทย์ผู้ทำการรักษา ตั้งแต่วันที่เข้ารับการรักษาจนถึงวันที่ออกจาก รพ. 8. สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอเบิก , ผู้ป่วย , และบ้านที่เกิดการเจ็บป่วย (ถ้าสถานที่เกิดการเจ็บป่วยไม่ใช่บ้านที่มีชื่อผู้ป่วยอยู่ในทะเบียนบ้าน ให้ชี้แจงเหตุผลที่ไปเกิดการเจ็บป่วย ณ สถานที่นั้นด้วย) 9. ใบอนุญาตจัดตั้งสถานพยาบาล.

  14. 17 - ค่ารักษาพยาบาลกรณีเจ็บป่วยเนื่องจากปฏิบัติหน้าที่ - การเบิกค่ารักษาพยาบาลจากหน่วยงานอื่นแล้ว สิทธิที่ได้รับการช่วยเหลือต่ำกว่าที่จะพึงได้รับจาก กฟภ. ให้มีสิทธิเบิกเพิ่มเติมได้เท่าจำนวนที่ยังขาดอยู่ อย่างไรถึงจะเรียกว่าจำนวนที่ยังขาดอยู่

  15. 18 ค่าเล่าเรียนและการศึกษาของบุตรของผู้ปฏิบัติงาน เงินบำรุงการศึกษา หมายความว่า เงินประเภทต่างๆ ที่สถานศึกษาของทางราชการเรียกเก็บตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนราชการเจ้าสังกัดหรือที่กำกับมหาวิทยาลัย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง หรือองค์การของรัฐบาล

  16. 19 • เงินค่าเล่าเรียน หมายความว่า เงินค่าธรรมเนียม การเรียน หรือค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ซึ่งสถานศึกษาของเอกชนเรียกเก็บตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ • ปีการศึกษา หมายความว่า ปีการศึกษาที่กำหนด โดยกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนราชการเจ้าสังกัด หรือที่กำกับมหาวิทยาลัย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง หรือองค์การของรัฐบาล

  17. 20 การใช้สิทธิเบิกค่าเล่าเรียนบุตรให้ดำเนินการ ดังนี้ 2.1 กรณีคู่สมรสเป็นผู้ปฏิบัติงานของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคฝ่ายหนึ่งและอีกฝ่ายหนึ่งเป็น ข้าราชการ ให้คู่สมรสฝ่ายที่เป็นผู้ปฏิบัติงานของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเป็นผู้ใช้สิทธิ 2.2 กรณีคู่สมรสต่างเป็นผู้ปฏิบัติงานของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคด้วยกัน ให้คู่สมรสฝ่ายสามีเป็นผู้ใช้สิทธิ

  18. 21 2.3 กรณีคู่สมรสเป็นผู้ปฏิบัติงานของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคฝ่ายหนึ่งและอีกฝ่ายหนึ่งเป็น ผู้ปฏิบัติงานในรัฐวิสาหกิจอื่น ให้คู่สมรสฝ่ายสามีเป็นผู้ใช้สิทธิก่อน หากสิทธิที่ได้รับจากฝ่ายสามีต่ำกว่าให้ฝ่ายภรรยาเป็นผู้ใช้สิทธิเบิกจ่ายเพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่ต่ำกว่าสิทธิที่พึงได้รับ

  19. 22 ในกรณีคู่สมรสได้หย่าขาดจากกันหรือแยกกันอยู่โดยมิได้หย่าขาดจากกันตามกฎหมายให้ฝ่ายที่ปกครองบุตร หรือฝ่ายที่อุปการะเลี้ยงดูบุตรเป็นผู้ใช้สิทธิเบิกเงินช่วยเหลือค่าเล่าเรียนเงินบำรุงการศึกษาเฉพาะบุตรที่อยู่ในอำนาจปกครองหรือในความอุปการะเลี้ยงดูของตนแล้วแต่กรณี

  20. 23 สิทธิที่ได้รับการช่วยเหลือ เบิกได้ทั้งในสถานศึกษาของทางราชการ และสถานศึกษาของเอกชน โดยให้เบิกได้ตามประเภท และอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด โดยมีหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1. บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ ในหลักสูตรระดับไม่สูงกว่าอนุปริญญา หรือเทียบเท่า และหลักสูตรนั้นแยกต่างหากจากหลักสูตรระดับปริญญาตรี ให้ได้รับเงินบำรุงการศึกษาเต็มจำนวนที่ได้จ่ายไปจริง แต่ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประเภทและไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด

  21. 24 2 บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ให้ได้รับเงินบำรุงการศึกษาเต็มจำนวนที่ได้จ่ายไปจริง แต่ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประเภทและไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด 3. บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของเอกชนในหลักสูตรระดับไม่สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า ให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียนเต็มจำนวนที่ได้จ่ายไปจริง แต่ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามประเภทและ ไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด

  22. 25 4. บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของเอกชนในหลักสูตรระดับสูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า แต่ไม่สูงกว่าอนุปริญญาหรือเทียบเท่า และหลักสูตรนั้นแยกต่างหากจากหลักสูตรระดับปริญญาตรี ให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียนครึ่งหนึ่งของจำนวนที่ได้จ่ายไปจริง แต่ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประเภทและ ไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด

  23. 26 5. บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของเอกชนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียนครึ่งหนึ่งของจำนวนที่ได้จ่ายไปจริง แต่ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประเภทและ ไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด “ทั้งนี้ บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการหรือเอกชนในหลักสูตรระดับปริญญาตรีตาม 2 หรือ 5 จะต้องเป็นการศึกษาในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรกเท่านั้น”

  24. ค่าคลอดบุตร 27 1. ผู้มีสิทธิได้รับการช่วยเหลือ 2. สิทธิได้รับการช่วยเหลือ 3. ระยะเวลาในการใช้สิทธิ 4. ในการขอรับการช่วยเหลือ 5. ในการจ่ายเงิน 6. เอกสารประกอบในการขอรับการช่วยเหลือ

  25. 28 ค่าอุปสมบท 1. ผู้มีสิทธิได้รับการช่วยเหลือ 2. สิทธิได้รับการช่วยเหลือ 3. จำนวนวันที่มีสิทธิลา 4. ในการขอรับการช่วยเหลือ 5. ในการจ่ายเงิน 6. เอกสารประกอบในการขอรับการช่วยเหลือ

  26. 29 ประสบอัคคีภัยหรือภัยธรรมชาติ 1. ผู้มีสิทธิได้รับการช่วยเหลือ 2. สิทธิที่ได้รับการช่วยเหลือ 2.1 กรณีประสบอัคคีภัย 2.2 กรณีประสบภัยธรรมชาติ เช่น อุทกภัย , วาตภัย ฯลฯ 2.3 กรณีดังต่อไปนี้ให้งดการช่วยเหลือไว้ก่อนเพื่อรอฟัง ผลของคดี หรือการสอบสวน 2.4 กรณีดังต่อไปนี้ให้งดการช่วยเหลือ

  27. 30 3. ขั้นตอนการขอรับการช่วยเหลือและระยะเวลาในการใช้สิทธิ 4. การจ่ายเงิน 5. เอกสารประกอบในการขอรับการช่วยเหลือ

  28. 31 ผู้เกษียณอายุ คำสั่งที่ พ.(ท) 17 /2550เรื่อง การช่วยเหลือผู้ที่พ้นสภาพการเป็นพนักงาน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในการรักษาพยาบาล 1. ผู้ที่พ้นสภาพการเป็นพนักงานตามประกาศ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เรื่องโครงการร่วมใจจากองค์กรให้พนักงานเกษียณก่อนอายุ 60 ปี ต้องมีอายุงานต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 25 ปี

  29. 2. ผู้ที่พ้นสภาพการเป็นพนักงานด้วยการลาออกจากงานก่อนเกษียณอายุ 60 ปี ต้องมีอายุงานต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 25 ปี (ไม่รวมถึงกรณีการให้ออก, ปลดออก, หรือ ไล่ออก) 3. เป็นผู้ที่ทำงานจนครบเกษียณอายุ 60 ปี ไม่ว่าจะมีอายุงานเท่าใดก็ตาม

  30. 32 4. ผู้ที่พ้นสภาพการเป็นพนักงานก่อนหน้าวันที่คำสั่งนี้ประกาศใช้ ทั้งนี้ต้องมีคุณสมบัติดังที่ ระบุไว้ตามข้อ 1-3 - ผู้ที่มีสิทธิดังกล่าวข้างต้นมีสิทธิเข้ารับการรักษาพยาบาล - ในสถานพยาบาล กฟภ. สำนักงานใหญ่ - ที่สำนักงานการไฟฟ้าเขตที่มีการจัดแพทย์ไว้ตรวจรักษา - ที่หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ของ กฟภ.

  31. ในการรักษาพยาบาลไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ยกเว้นกรณีที่สถานพยาบาลไม่มียาและแพทย์ สั่งให้ซื้อยาจากภายนอก หรือสั่งให้ไปตรวจทางห้องทดลอง เอ๊กซเรย์ หรือสั่งให้ซื้ออวัยวะเทียม หรืออุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค ผู้ที่พ้นสภาพการเป็นพนักงานดังกล่าว ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายเอง

  32. แผนกจัดการกองทุน กองบริหารผลตอบแทนและสวัสดิการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

  33. ปฐมนิเทศน์พนักงานใหม่ การขอกู้ยืมเงินสวัสดิการ กฟภ. จาก ธนาคาร กรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคาร ทหารไทย จำกัด (มหาชน)

  34. สิทธิที่ได้รับการสงเคราะห์ การขอกู้เงินสวัสดิการต่างๆ 1. คุณสมบัติของผู้ได้รับการสงเคราะห์ 1.1 ผู้มีสิทธิขอกู้จะต้องเป็นพนักงานที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งหน้าที่ใน กฟภ. 1.2 กู้เงินประเภทใดประเภทหนึ่งหรือทุกประเภทรวมกันก็ได้ 1.3 ภาระการผ่อนชำระหนี้ผ่าน กฟภ. ทุกประเภทรวมกันต่อเดือน จะต้องไม่เกินครึ่งของเงินได้ทั้งหมดที่ได้รับจาก กฟภ. 1.4 เป็นผู้ที่ กฟภ. พิจารณาขั้นต้นแล้วเห็นสมควรให้กู้เงินได้

  35. 2. ประเภทการให้กู้เงิน 2.1 เงินกู้สวัสดิการทั่วไป - เพื่อซ่อมแซม/ต่อเติมที่อยู่อาศัยของตนเอง และ/หรือ คู่สมรส - เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนกรณีจำเป็นและฉุกเฉินอย่างยิ่ง เช่น ได้รับอุบัติเหตุ - เพื่อซื้อรถจักรยานยนต์ - เพื่อซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ 2.2 เงินกู้ซื้อรถยนต์ - เพื่อซื้อรถยนต์ใหม่ (กู้ได้ไม่เกิน 80% ของราคาซื้อขาย) - เพื่อซื้อรถยนต์ใช้แล้ว (กู้ได้ไม่เกิน 80% ของราคาซื้อขาย) อายุการใช้งานไม่เกิน 7 ปี นับจากวันจดทะเบียน โดยใช้บัญชี ราคาประเมินรถยนต์กรมการขนส่งทางบก

  36. 2.3 เงินกู้เคหะสงเคราะห์ - เพื่อซื้อที่ดินสำหรับปลูกสร้างอาคาร หรือที่ดินพร้อมอาคาร เป็นที่อยู่อาศัยของตนเอง และ/หรือ คู่สมรส - เพื่อไถ่ถอนจำนองหนี้เงินกู้จาก กฟภ. หรือ สถาบันการเงินอื่น - เพื่อปลูกสร้างหรือซ่อมแซม หรือขยายต่อเติมอาคารเป็นที่อยู่อาศัย ของตนเองและ/หรือคู่สมรส

  37. 3. สิทธิที่ได้รับการสงเคราะห์ 3.1 กู้เงินเพื่อสวัสดิการทั่วไป (บุคคลค้ำประกัน) - ต้องปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี - วงเงินกู้สวัสดิการทั่วไปทุกประเภทรวมกันรายละไม่เกิน 100,000 บาท - ใช้บุคคลค้ำประกันเงินกู้ 2 คน

  38. 3.2 กู้เงินเพื่อซื้อรถยนต์ (บุคคลค้ำประกัน/หลักทรัพย์ค้ำประกัน) - ต้องปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี - วงเงินกู้รายละไม่เกิน 500,000.-บาท - กรณีบุคคลค้ำประกันอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ + 2.50 ต่อปี (ปัจจุบัน 3.00%) - กรณีหลักทรัพย์ค้ำประกันอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ + 2.00 ต่อปี (ปัจจุบัน 2.50%) - ระยะการผ่อนชำระไม่เกิน 72 งวด (6 ปี) และไม่เกินเกษียณอายุผู้กู้ และ ผู้ค้ำประกัน

  39. 3.3 กู้เงินเพื่อเคหะสงเคราะห์ (หลักทรัพย์ค้ำประกัน) - ต้องปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี - วงเงินกู้ 80 เท่าของเงินเดือน รายละไม่เกิน 2,000,000 บาท - ใช้หลักทรัพย์ค้ำประกันเงินกู้ - อัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ +1.50 ต่อปี(ปัจจุบัน 2.00%) - ระยะเวลาการผ่อนชำระไม่เกิน 300 งวด (25 ปี) แต่ไม่เกิน เกษียณอายุผู้กู้ - สำหรับพนักงานที่ใช้สิทธิกู้เคหะสงเคราะห์ครั้งแรกไปแล้ว เมื่อผ่อนชำระครบ 5 ปี หรือ ชำระหนี้ครั้งแรกครบถ้วน สามารถ ใช้สิทธิกู้ซื้อบ้านหลังที่ 2 ได้

  40. 4. กรณีกู้โดยใช้บุคคลค้ำประกัน 1. ใช้ผู้ค้ำประกัน 2 คน ผู้ค้ำประกันรายหนึ่งจะค้ำประกันได้ไม่เกิน 2 ครั้ง และสามารถค้ำประกันซึ่งกันและกันได้ 2. ผู้ค้ำประกันมีเงินเดือนขั้นต่ำน้อยกว่าผู้กู้ได้ไม่เกิน 15% ของเงินเดือนผู้กู้ 3. ธนาคาร กรุงไทย จำกัด (มหาชน) ไม่เปิดบริการกู้ซื้อคอมพิวเตอร์ และ กู้ซื้อรถยนต์ (โดยใช้บุคคลค้ำประกัน)

  41. ขั้นตอนการดำเนินการกู้เงินสวัสดิการขั้นตอนการดำเนินการกู้เงินสวัสดิการ ขั้นตอนการดำเนินการกู้เงินสวัสดิการ ผู้ขอกู้ ผู้บังคับบัญชาหน่วยงาน กองบริหารผลตอบแทนและสวัสดิการ แผนกจัดการกองทุน ตรวจสอบประวัติผู้กู้ , ผู้ค้ำประกันโดย computer online จากฐานข้อมูลของ กกพ. กองบัญชี ตรวจสอบภาระผูกพันเงินกู้กองทุนสงเคราะห์ กรณีกู้ไถ่ถอนหนี้จาก กฟภ. แผนกจัดการกองทุน ตรวจสอบคุณสมบัติหลักฐานและหลักประกันเงินกู้ นำเสนอขออนุมัติ อก.บผ. ผู้ขอกู้ ธนาคาร กรุงไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ธนาคาร ทหารไทย จำกัด (มหาชน) ตรวจสอบหลักเกณฑ์ , หลักฐาน และ หลักประกันเงินกู้ เพื่อพิจารณาอนุมัติ ผู้ขอกู้ ส่วนภูมิภาค ต้นสังกัดได้รับแจ้งจากผู้ขอกู้ และ ธนาคารฯ แล้ว หักเงินเดือนผู้ขอกู้ผ่าน กฟภ. และ จัดทำเช็คนำส่งธนาคารฯ สำนักงานใหญ่ (แผนกจัดการกองทุน กองบริหารผลตอบแทนสวัสดิการ) กกง. หักเงินเดือน และ จัดทำเช็คนำส่งธนาคารฯ

  42. วิธีการเข้า WEBSITE แบบฟอร์มการกู้ประเภทต่างๆ http://intra.pea.co.th/dwel1

  43. ขั้นที่2 คลิกที่“แบบฟอร์ม” คลิกที่นี่

  44. จะเจอ แบบฟอร์ม ประเภทต่างๆ คลิกเลือกได้ตามต้องการ แบบฟอร์มต่างๆ

  45. วิทยากรบรรยายงานฌาปนกิจฯว่าที่ ร.ท.อรรณนพ โกกิฬาชผ.จท.การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สำนักงานใหญ่

  46. การฌาปนกิจสงเคราะห์ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

  47. ปฐมนิเทศ พนักงานใหม่

  48. การฌาปนกิจสงเคราะห์ กฟภ. วัตถุประสงค์ เพื่อทำการสงเคราะห์ซึ่งกันและกันระหว่างผู้ปฏิบัติงานหรือสามี ภริยา ที่ถึงแก่กรรมในการจัดการศพของสมาชิกที่ถึงแก่กรรมด้วยเงินฌาปนกิจสงเคราะห์ โดยไม่ประสงค์จะนำกำไรมาแบ่งปันกัน

  49. สมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์มี 3 ประเภท สมาชิกประเภท 1 สมาชิกประเภท 2 สมาชิกประเภท 3 - สมาชิกที่เป็น พนักงาน - สมาชิกที่เป็นคู่ สมรสขอสมาชิก ประเภท 1 • คือสมาชิกประเภท 1 • ที่ลาออกจากงาน หรือ เกษียณอายุ เกษียณก่อนอายุ รวมถึงคู่สมรสที่เป็นสมาชิกประเภท 2 ด้วย • สมาชิกประเภท 2 ที่เป็นคู่สมรสของสมาชิกประเภท 1 ซึ่งถึงแก่กรรม

  50. ผู้มีสิทธิสมัครเป็นสมาชิกฌาปนกิจฯผู้มีสิทธิสมัครเป็นสมาชิกฌาปนกิจฯ 1. ต้องเป็นผู้ปฏิบัติงานกับการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค โดยยื่นใบสมัครเข้าเป็น สมาชิกพร้อมกับใบสมัครเข้าทำงาน

More Related