670 likes | 1.28k Views
1. การอนุรักษ์และการเปลี่ยนแปลง (CONSERVATION AND CHANGES). +. Hydrogen + Chlorine Hydrogen chloride atom atom molecule. H (g) + Cl (g) HCl (g). 2. ปฏิกิริยาเคมี (CHEMICAL REACTIONS). สมการเคมี (Chemical Equation). 16. +.
E N D
1 การอนุรักษ์และการเปลี่ยนแปลง (CONSERVATION AND CHANGES)
+ Hydrogen + Chlorine Hydrogen chloride atom atom molecule H(g) + Cl(g) HCl(g) 2 ปฏิกิริยาเคมี (CHEMICAL REACTIONS) สมการเคมี (Chemical Equation)
16 + 8 3 16 + 16 3 16 8 Sulfur molecules Hydrogen sulfide molecules + Water molecules + Sulfur dioxide molecules 16 H2S (g) + 8 SO2(g) 3 S8 + 16 H2O 3 Balanced equation
Cu (s) + 2 Ag+(aq) Cu2+(aq) + 2 Ag(s) 4 สมการเคมีต้องดุลเพื่อให้เป็นไปตาม กฎการอนุรักษ์จำนวนอะตอม กฎการอนุรักษ์จำนวนประจุ
C2H6 + O2 CO2 + H2O 2 C2H6 + 7 O2 4 CO2 + 6 H2O 5 การดุลสมการโดยวิธีตรวจพินิจ การเผาไหม้อีเทน (C2H6) ในอากาศ จะเกิดคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ 7/2 2 3
6 การดุลสมการโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยา 1. เขียนสมการที่ยังไม่ดุลของปฏิกิริยาในรูปไอออนิก 2. แยกสมการออกเป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยา 3. ดุลจำนวนอะตอมอื่นๆ นอกจาก H, O ในแต่ละ ครึ่งปฏิกิริยา 4. ดุลจำนวนอะตอมของ H, O
7 ในสารละลายกรด ข้างใดขาด O ให้เติม H2O จำนวนโมลของ H2O= จำนวนอะตอมของ O ที่ขาด ข้างใดขาด H ให้เติม H+ จำนวนโมลของ H+ = จำนวนอะตอมของ H ที่ขาด
8 5. ดุลประจุโดยเติม e- ในแต่ละครึ่งปฏิกิริยา 6. ทำจำนวน e- ของครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองให้เท่ากัน 7. รวมครึ่งปฏิกิริยาทั้งสอง สมการรวมต้องไม่มี e- 8. ถ้าปฏิกิริยาเกิดในสารละลายเบส เติม OH-ทั้ง 2 ข้าง เพื่อสะเทิน H+ 9. ตรวจสอบว่าจำนวนอะตอมและประจุทั้งสองข้าง ของสมการเท่ากัน
Fe2+ + Cr2O72- Fe3+ + Cr 3+ Fe2+ Fe3+ Cr2O72- Cr3+ 9 ปฏิกิริยาออกซิเดชันของ Fe2+ไปเป็น Fe3+ โดย ไดโครเมตไอออน (Cr2O72-) ในสารละลายกรด ขั้นที่ 1 เขียนสมการที่ยังไม่ดุลของปฏิกิริยาในรูปไอออนิก ขั้นที่ 2 แยกสมการออกเป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยา ออกซิเดชัน : รีดักชัน :
Fe2+ Fe3+ Fe2+ Fe3+ Cr2O72- Cr3+ Cr2O72-2 Cr3+ 10 ขั้นที่ 3 ดุลจำนวนอะตอม (นอกจาก H, O) 2 ขั้นที่ 4 ดุลจำนวนอะตอมของ H, O โดยเติม H2O เพื่อดุล O และ เติม H+เพื่อดุล H + 14 H+ + 7 H2O
Fe2+ Fe3+ Cr2O72- + 14 H+2 Cr3+ + 7 H2O 6 6 Fe2+ Fe3+ + e- 6 Cr2O72- + 6e- + 14H+ 2Cr3+ + 7H2O 11 ขั้นที่ 5 ดุลประจุโดยเติม e- + e- + 6e- ขั้นที่ 6 ทำจำนวน e- ของครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองให้เท่ากัน
6 Fe3++ Cr2O72- + 14H+ 6Fe2+ +2Cr3+ + 7H2O 6 6 Fe2+ Fe3+ + e- 6 Cr2O72- + 6e- + 14H+ 2Cr3+ + 7H2O 12 ขั้นที่ 7 รวมครึ่งปฏิกิริยาทั้งสอง เป็น balanced equation ในสารละลายกรด ถ้าปฏิกิริยาเกิดในสารละลายเบส เติม OH- ทั้งสองข้าง เพื่อสะเทิน H+ ขั้นที่ 8 ตรวจสอบว่าจำนวนอะตอมและประจุทั้งสองข้าง ของสมการเท่ากัน
เติม OH- ทั้งสองข้างเพื่อสะเทิน H+ MnO4- + I - MnO2 + I2 ออกซิเดชัน: I - I2 รีดักชัน: MnO4- MnO2 6I - + 2MnO4- + 8H+ 3I2+ 2MnO2 + 4H2O 6I - + 2MnO4- + 8H+ 3I2+ 2MnO2 + 4H2O 6I- + 2MnO4- + 4H2O 3I2+ 2MnO2 + 8OH- 6I- + 2MnO4- + 8H++ 8OH- 3I2+ 2MnO2 + 4H2O + 8OH- 13 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน I- โดย MnO4-ในสารละลายเบส ไปเป็น I2และ MnO2 ขั้นที่ 1เขียนสมการที่ยังไม่ดุลของปฏิกิริยาในรูปไอออนิก ขั้นที่ 8 ตรวจสอบว่าจำนวนอะตอมและประจุทั้งสองข้าง ของสมการเท่ากัน ขั้นที่ 4 ดุลจำนวนอะตอมของ H, O โดยเติม H2O เพื่อดุล O และ เติม H+เพื่อดุล H ขั้นที่ 6 ทำจำนวน e- ของครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองให้เท่ากัน ขั้นที่ 2 แยกสมการออกเป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยา ขั้นที่ 3 ดุลจำนวนอะตอม (นอกจาก H, O) ขั้นที่ 5ดุลประจุโดยเติม e- ขั้นที่ 7 รวมครึ่งปฏิกิริยาทั้งสอง 3( ) 2 + 2e- 2( ) + 4H+ + 3e- + 2H2O
C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O (l) propane A + B AB C(S) + O2(g) CO2(g) N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) CaO(s) + H2O(l) Ca(OH)2(s) 14 Some Common Chemical Reactions 1. Combustion 2. Combination reactions
3. Decompositon reactions AB A + B 2KClO3(s) 2KCl(s) + 3O2(g) CaCO3(S) CaO(S) + CO2(g) 4. Single displacement reactions A + BX AX + B Fe(s) + 2HCl(aq) FeCl2(aq) + H2(g) Zn(s) + CuSO4(aq) ZnSO4(aq) + Cu(s) 2Na(s) + 2H2O(l)2NaOH(aq) + H2(g) Some Common Chemical Reactions 15
AX + BY AY + BX BaBr2(aq) + K2SO4(aq) 2KBr(aq) + BaSO4(S) Ca(OH)2(aq) + 2HCl(aq) CaCl2(aq) + 2H2O(l) HCl(aq) + NaOH(aq) NaCl(aq) + H2O(l) acid base salt water 16 Some Common Chemical Reactions 5. Double displacement (metathesis) reactions 5.1 Acid - base (neutralization) reactions
2KI(aq) + Pb(NO3)2(aq) PbI2(s) + 2KNO3(aq) CuCl2(aq) + 2NaOH(aq) Cu(OH)2(S) + 2NaCl(aq) HCl(aq) + AgNO3(aq) AgCl(S) + HNO3(aq) 17 Some Common Chemical Reactions 5.2 Precipitation reactions
18 ความหมายของโมลและการวัดปริมาณเชิงเคมี โมล (Mole) เป็นหน่วยในการนับจำนวนทางเคมี สาร 1 โมล มี6.0225x 1023อนุภาค เลขอาโวกาโดร มวลของสาร 1 โมล = น้ำหนักตามสูตร (กรัม) (Molar mass) (Formula weight)
Particles of A Moles of A Grams of A 19 MOLE AND CHEMICAL CALCULATIONS Particles of B Avogadro’s no. Avogadro’s no. Formula subscript Moles of B* Formula weight Atomic weight Grams of B * B is element within compound A
20 สูตรเคมี (Chemical Formulas) N2O4 N2O41 โมเลกุล มี N 2อะตอม O 4อะตอม N2O46.02x1023โมเลกุล มี N 2x6.02x1023อะตอม O 4x6.02x1023 อะตอม N2O41 โมล มี N 2โมล O 4โมล
2 FeI2 + 3 Cl2 2 FeCl3 + 2 I2 21 สมการเคมี โมล : 2 3 2 2 มวล (g): 2x309.65 3x71.0 2x162.35 2x253.8 โมเลกุล : 2x6.02x1023 3x6.02x1023 2x6.02x1023 2x6.02x1023 2 3 2 2
22 เลขนัยสำคัญ (Significant Figures) ปริมาณที่ได้จากการวัดจะมีความไม่แน่นอนอยู่เสมอ การรายงานปริมาณที่ได้จากการวัด จะรายงานด้วย ตัวเลขที่แน่นอน & ตัวเลขตัวสุดท้าย 1ตัวที่ไม่แน่นอน ตัวเลขทั้งหมดนี้ เรียกว่า เลขนัยสำคัญ
23 เลขนัยสำคัญ 1. เลขที่ไม่ใช่ 0 ทั้งหมด เป็นเลขนัยสำคัญ เลขนัยสำคัญ 3 ตัว 457 cm. 2.5 g เลขนัยสำคัญ 2 ตัว 2. เลข 0 ระหว่างเลขอื่น เป็นเลขนัยสำคัญ เลขนัยสำคัญ 4 ตัว 1005 kg เลขนัยสำคัญ 3 ตัว 1.03 cm
24 3. เลข 0 ด้านซ้ายของเลขอื่นตัวแรก ไม่เป็นเลขนัยสำคัญ เลขนัยสำคัญ 1 ตัว 0.02 g 0.0026 cm เลขนัยสำคัญ 2 ตัว 4. เลข 0 ท้ายเลขอื่นและเลข 0 ด้านขวาของจุด ทศนิยม เป็นเลขนัยสำคัญ 0.0200 g เลขนัยสำคัญ 3 ตัว เลขนัยสำคัญ 2 ตัว 3.0 cm
25 5. เมื่อจำนวนเลขลงท้ายด้วย 0 ซึ่งไม่ได้อยู่ทางขวา ของจุดทศนิยม 0 ไม่จำเป็นต้องเป็นเลขนัยสำคัญ เลขนัยสำคัญ 2 หรือ 3 ตัว 130 cm 10,300 g เลขนัยสำคัญ 3, 4 หรือ 5 ตัว เลขนัยสำคัญ3ตัว 1.03 x 104 g เลขนัยสำคัญ4ตัว 1.030 x 104 g เลขนัยสำคัญ5ตัว 1.0300 x 104 g Scientific Notation
26 การบวกและการลบ ผลลัพธ์จะมีจำนวนตำแหน่งทศนิยมเท่ากับผล การทดลองที่มีจำนวนตำแหน่งทศนิยมน้อยที่สุด เช่น 20.4 + 1.322 + 83 = 104.722 = 105 ถ้าการคำนวณมี 2 ขั้นตอนขึ้นไป ผลลัพธ์ของทุกขั้นให้เก็บ ตัวเลขไว้เกินเลขนัยสำคัญ 1 ตัว เมื่อถึงคำตอบสุดท้ายจึง ทอนเป็นค่าโดยประมาณที่มีจำนวนเลขนัยสำคัญเป็นไป ตามเกณฑ์
จำนวนเลขนัยสำคัญของผลลัพธ์ต้องไม่มากกว่าจำนวนเลขนัยสำคัญของผลการทดลองที่มีจำนวนเลขนัยสำคัญน้อยที่สุดจำนวนเลขนัยสำคัญของผลลัพธ์ต้องไม่มากกว่าจำนวนเลขนัยสำคัญของผลการทดลองที่มีจำนวนเลขนัยสำคัญน้อยที่สุด 27 การคูณและการหาร เช่น 6.221 x 5.2 = 32.3492 = 32
x 6.02 x 1023aspirin molecules 1 mol aspirin 180 g C6H12O6 x 1 mol C6H12O6 28 ตัวอย่าง 1จงคำนวณจำนวนโมเลกุลของ aspirin 0.23 mol Aspirin molecules = 0.23 mol aspirin = 1.4 x 1023 molecules ตัวอย่าง 2จงคำนวณมวล (g) ของกลูโคส (C6H12O6) 0.34 mol Mass C6H12O6 = 0.34 mol C6H12O6 = 61g C6H12O6
6.02x1023molecules C6H8O6 x x 1 mol C6H8O6 1 mol C6H8O6 176 g C6H8O6 29 ตัวอย่าง 3จงคำนวณจำนวนโมเลกุลของวิตามินซี (C6H8O6) ในวิตามินซี 1 เม็ด (250mg) C6H8O6 molecules = 0.250 g C6H8O6 = 8.55 x 1023 molecules
30 การคำนวณปริมาณสารในสมการเคมี 1. เขียนสมการเคมีที่ถูกต้อง พร้อมทั้งดุล 2. เปลี่ยนปริมาณสารที่กำหนดให้ไปเป็นโมล 3. ใช้สัมประสิทธิ์ในสมการที่ดุลแล้ว คำนวณ จำนวนโมลของสารที่ต้องการหาปริมาณ 4. ใช้จำนวนโมลที่คำนวณได้ &molar mass เปลี่ยน ปริมาณที่ต้องการหาให้มีหน่วยตามต้องการ
2 Li(s) + 2 H2O(l) 2 LiOH(aq) + H2(g) 1 mol Li x 6.941 g Li 1 mol H2 x 2 mol Li 31 ตัวอย่าง โลหะแอลคาไลทุกชนิดทำปฏิกิริยากับน้ำให้แก๊สไฮโดรเจนและไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไลนั้น เช่น ปฏิกิริยาของ Li กับน้ำ: จะเกิด H2 กี่กรัม ถ้า Li 80.57g ทำปฏิกิริยากับน้ำอย่างสมบูรณ์ โมลของ Li = 80.57 g Li = 11.61 mol Li ขั้นที่ 3 ใช้สัมประสิทธิ์ในสมการที่ดุลแล้วคำนวณจำนวนโมลของสารที่ต้องการหาปริมาณ โมลของ H2ที่เกิดขึ้น = 11.61 mol Li = 5.805 mol H2
2.016 g H2 x 1 mol H2 32 โมลของ H2ที่เกิดขึ้น = 5.805 mol H2 ขั้นที่ 4 ใช้จำนวนโมลที่คำนวณได้ และ molar mass เปลี่ยนปริมาณที่ต้องการหาให้มีหน่วยตามต้องการ มวลของ H2 ที่เกิดขึ้น = 5.805 mol H2 = 11.70 g H2
ตัวอย่าง กลูโคส (C6H12O6) จะแตกสลายในร่างกายให้ CO2และน้ำ และให้พลังงานแก่ร่างกาย C6H12O6 + 6 O2 6 CO2 + 6 H2O ถ้าบริโภค C6H12O2 856 g จะเกิด CO2กี่กรัม 6 molCO2 1 mol C6H12O6 x 1 mol C6H12O6 180.2 g C6H12O6 x 44.01gCO2 1 mol CO2 x 33 ขั้นที่ 2 เปลี่ยนปริมาณสารที่กำหนดให้ไปเป็นโมล ขั้นที่ 1 เขียนและดุลสมการเคมี มวลของ CO2ที่เกิดขึ้น = 856g C6H12O6 = 1.25 x 103 g CO2 ขั้นที่ 3 ใช้สัมประสิทธิ์ในสมการที่ดุลแล้วคำนวณจำนวน โมลของสารที่ต้องการหาปริมาณ ขั้นที่ 4 ใช้จำนวนโมลที่คำนวณได้ & molar mass เปลี่ยน ปริมาณที่ต้องการหา ให้มีหน่วยตามต้องการ
Fe(s) + S (l) FeS(s) 1molFe 55.85 gFe 1molS 32.07 gS x x 1molS 1 mol Fe x 34 ตัวอย่างที่อุณหภูมิสูง ซัลเฟอร์จะรวมกับเหล็กเกิด FeS สีน้ำตาลดำ: ถ้าทำการทดลองโดยใช้ Fe 7.62 g ทำปฏิกิริยากับ S 8.67 g (ก) สารตั้งต้นชนิดใดเป็นสารจำกัดปริมาณ (limiting reagent) (ข) จงคำนวณมวลของ FeS ที่เกิดขึ้น (ค) เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยามีสารที่มากเกินพอกี่กรัม (ก) โมลของ Fe = 7.62 gFe = 0.136 molFe โมลของ S = 8.67 gFe = 0.270 molS 0.136 molFe = 0.136 molS ดังนั้น Fe เป็นสารจำกัดปริมาณ S เป็นสารที่มากเกินพอ
ตัวอย่าง(ต่อ) ที่อุณหภูมิสูง ซัลเฟอร์จะรวมกับเหล็กเกิด FeS สีน้ำตาลดำ: Fe(s) + S (l) FeS(s) ถ้าทำการทดลองโดยใช้ Fe 7.62 g ทำปฏิกิริยากับ S 8.67 g (ก) สารตั้งต้นชนิดใดเป็นสารจำกัดปริมาณ (limiting reagent) (ข) จงคำนวณมวลของ FeS ที่เกิดขึ้น (ค) เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยามีสารที่มากเกินพอกี่กรัม 87.92 gFeS 1 molFeS x 1molFeS 1 mol Fe x 32.07gS 1molS x 35 (ข) มวลของ FeS ที่เกิดขึ้น = 0.136molFe = 12.0 gFeS (ค) มวลของ S ที่เหลือ = (0.270 - 0.136) molS = 4.30 gS
2 NH3(g) + CO2(g) (NH2)2CO(aq) + H2O (l) 1molCO2 44.01gCO2 1molCO2 2molNH3 1molNH3 17.03gNH3 x x x 36 ตัวอย่างยูเรีย [(NH2)2CO] ใช้ทำปุ๋ยและอาหารสัตว์ และใช้ใน อุตสาหกรรมพอลิเมอร์ เตรียมได้จากปฏิกิริยา : ถ้าใช้ NH3 637.2 g ทำปฏิกิริยากับ CO2 1142 g (ก) สารตั้งต้นชนิดใดเป็นสารจำกัดปริมาณ (limiting reagent) (ก) โมลของ NH3 = 637.2gNH3 = 37.42 molNH3 โมลของ CO2 = 1142gCO2 = 25.95 molCO2 37.42 molNH3 = 18.71 molCO2 ดังนั้น NH3เป็นสารจำกัดปริมาณ และ CO2เป็นสารที่มากเกินพอ
ตัวอย่าง (ต่อ)ยูเรีย [(NH2)2CO] ใช้ทำปุ๋ยและอาหารสัตว์ และใช้ในอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ เตรียมได้จากปฏิกิริยา : 2 NH3(g) + CO2(g) (NH2)2CO(aq) + H2O (l) ถ้าใช้ NH3 637.2 g ทำปฏิกิริยากับ CO2 1142 g 60.06 g(NH2)2CO 1 mol (NH2)2CO x 1mol(NH2)2CO 2 molNH3 x 37 (ข) จงคำนวณมวลของยูเรียที่เกิดขึ้น (ข) มวลของยูเรียที่เกิดขึ้น = 37.42 molNH3 = 1124 g (NH2)2CO
ตัวอย่าง(ต่อ) ยูเรีย [(NH2)2CO] ใช้ทำปุ๋ยและอาหารสัตว์ และใช้ในอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ เตรียมได้จากปฏิกิริยา : 2 NH3(g) + CO2(g) (NH2)2CO(aq) + H2O (l) ถ้าใช้ NH3 637.2 g ทำปฏิกิริยากับ CO2 1142 g (ค) เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยามีสารที่มากเกินพอ (excess reagent) เหลือกี่กรัม 44.01 gCO2 1 molCO2 x 38 (ค) มวลของ CO2ที่เหลือ = (25.95 - 18.71) molCO2 = 319 g CO2
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น: Ag+(aq) + Cl-(aq) AgCl(s) 1mol AgCl 1mol Cl x x 143.33g AgCl 1 mol AgCl 35.45g Cl x 1 mol Cl 39 การหาสูตรเคมีจากผลการวิเคราะห์โดยน้ำหนัก ( Gravimetric Analysis ) ตัวอย่าง นำ europium chloride 0.8546 g ละลายในน้ำ เติมสารละลาย AgNO3จนตกตะกอนสมบูรณ์ กรองตะกอน AgCl ทำให้แห้งชั่งน้ำหนักตะกอนได้ 1.0910 g จงหาสูตรเคมีของ europium chloride 1.0910 g AgCl = 7.613x10-3mol Cl = 0.2770 g Cl
1mol Cl 151.96 g Eu x 7.613x10-3mol Cl 3.800x10-3mol Eu 2.003mol Cl 1mol Eu = 40 ตัวอย่าง (ต่อ)นำ europium chloride 0.8546 g ละลายในน้ำ เติมสารละลาย AgNO3จนตกตะกอนสมบูรณ์ กรองตะกอน AgCl ทำให้แห้งชั่งน้ำหนักตะกอนได้ 1.0910 g จงหาสูตร เคมีของ europium chloride Europium chloride 0.8546g มี Cl 7.613x10-3mol = 0.2770g และ Eu = (0.8546 - 0.2770) g Eu = 3.800x10-3mol Eu สูตรเคมีของ europium chloride คือ EuCl2
การวิเคราะห์โดยปริมาตร (Volumetric Analysis) ตัวอย่าง ในการหาปริมาณ Cl-ในน้ำประปาโดยการไทเทรต ด้วยAgNO3 : Ag+(aq) + Cl-(aq) AgCl(s) 1L AgNO3soln 1000mLAgNO3soln x 0.1000molAgNO3 1LAgNO3soln 1molCl- 1molAgNO3 x x 35.45 g Cl- 1 mol Ci - x 1000mL 1L 7.161x10-2gCl - 10 mL x = 41 ถ้านำตัวอย่าง 10.0 mL ทำปฏิกิริยาพอดีกับ 0.1000M AgNO3 20.20mL จงคำนวณปริมาณ Cl- ในน้ำประปาเป็นกรัม/ ลิตร 20.20 mLAgNO3soln = 2.020 x 10-3molAgNO3 ปริมาณ Cl-ในน้ำประปา = 7.161g/L
M + nY MYn 42 การหาสูตรเคมีโดยวิธีการผสมสาร Job’s method นำสารละลายไอออนของโลหะ M และสารละลายของ ลิแกนด์ Y ที่ทราบความเข้มข้นแน่นอน ผสมกันด้วย อัตราส่วนต่างๆ กัน โดยให้ผลรวมของความเข้มข้นของ M และ Y ในสารละลายผสมก่อนเกิดปฏิกิริยามีค่าคงที่ ([M]t + [Y])t = C นำไปวัด [MYn]
[Myn] [Y]t [M]t [Y]t [M]t = n = n [M] t [Y] t = c - [M] t M + nY [MYn ] mol Y n mol M 1 = 43 เมื่อ M และ Y ทำปฏิกิริยากันพอดี : เมื่อสารละลายมีปริมาตรเท่ากัน :
ml 0.1F AgNO3(aq) ml 0.1F KCN(aq) AgCN(s) Amount of precipitate No precipitate remains at ratio exceeding 6.7/3.3 = 2/1 Tube number Ag+(aq) + CN- (aq) AgCN(s) AgCN(s) + CN-(aq) Ag(CN)2-(aq) 44
45 กฎการอนุรักษ์พลังงาน (Law of Conservation of Energy) Albert Einsteinเสนอสมการของไอน์สไตน์ : DE= c2 Dm DE = การเปลี่ยนแปลงพลังงาน (เอิร์ก) Dm = การเปลี่ยนแปลงมวล (g) c = ความเร็วแสง = 3.00 x 1010 cm sec-1 กฎการอนุรักษ์พลังงาน : ปริมาณทั้งหมดของสสารและพลังงานในจักรวาลมีค่าคงที่
เกิดขึ้นไม่ได้ เกิดขึ้นได้จริง ไม่อาจเกิดขึ้นได้ การทำนายการเกิดขึ้นเอง (spontaneity) 46 เอนทัลปีและการเปลี่ยนแปลง (Enthalpy and Change) การเปลี่ยนแปลงที่ไม่เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์ การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์
47 การทำนายการเกิดขึ้นเอง (spontaneity) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเอง (spontaneous change) จะต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภท คายความร้อน (exothermic) การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน (endothermic) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นเองไม่ได้ (nonspontaneous change)
48 ปริมาณความร้อนที่ระบบดูดกลืนหรือคายออกเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ T คงที่ เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงเอนทัลปี (DH) DH = Hproduct - Hreactant การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน Hp > Hr ; DH = + การเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้อน Hp< Hr ; DH = -
2 Br(g) Br2(l) H2(g) + Cl2(g) 2HCl(g) 49 การประมาณค่า (เครื่องหมาย) ของ DH การสร้างพันธะ คาย ความร้อน การสลายพันธะ ดูด ความร้อน DH = - (ระบบร้อนขึ้น) พันธะระหว่างอะตอมต่างชนิดกันแข็งแรงกว่า พันธะระหว่างอะตอมชนิดเดียวกัน DH = -
50 การวัดค่า DH DH = CDT C = ความจุความร้อน (heat capacity) = ปริมาณความร้อนที่ทำให้สารมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 J(0C)-1 หรือ JK-1 ความจุความร้อนต่อโมล (molar heat capacity) JK-1 mol-1 DH = qp = msDT s = ความร้อนจำเพาะ (specific gravity) = ปริมาณความร้อนที่ทำให้สาร 1 g มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 J K-1 g-1 หรือ J(0C)-1 g-1