1 / 68

อาหาร / วิตามิน กับมะเร็ง

ตอน ๔. อาหาร / วิตามิน กับมะเร็ง. อาหารประเภทผักและผลไม้. ผลงานวิจัยเรื่องขิงฆ่ามะเร็ง. Not only did ginger trigger ovarian cancer cell death, it did so in a way that may prevent tumor cells from becoming resistant to treatment, a common problem with chemotherapy.

tyler
Download Presentation

อาหาร / วิตามิน กับมะเร็ง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตอน ๔ อาหาร/วิตามิน กับมะเร็ง

  2. อาหารประเภทผักและผลไม้อาหารประเภทผักและผลไม้

  3. ผลงานวิจัยเรื่องขิงฆ่ามะเร็งผลงานวิจัยเรื่องขิงฆ่ามะเร็ง Not only did ginger trigger ovarian cancer cell death, it did so in a way that may prevent tumor cells from becoming resistant to treatment, a common problem with chemotherapy. The preliminary findings from researchers at the University of Michigan Comprehensive Cancer Center were presented Tuesday at the annual meeting of the American Association for Cancer Research in Washington, D.C. The Michigan team dissolved ginger powder in a solution and applied it to ovarian cancer cells in a laboratory. Ginger caused two kinds of cancer cell death. The first is called apoptosis, in which the cells essentially commit suicide. The second type of cell death is autophagy, in which cells digest or attack themselves.

  4. ขิงฆ่ามะเร็ง วิธีทานข่า

  5. งานวิจัยในห้องทดลองของ University of Michigan Comprehensive Cancer Centerพบว่า ขิง (ginger) ทำให้มะเร็งรังไข่ ๒ ชนิดตาย. เราควรทานขิงเป็นประจำ ? ควรทานหลากหลายด้วย ?

  6. The vitamin study was presented at an American Heart Association conference in Chicago. Both were led by doctors at Harvard Medical School and were aimed at two diseases women most fear and want to prevent. Antioxidants like vitamins C and E attach to substances that can damage cells. Scientists have been testing them for preventing such diseases as Alzheimer’s and cancer.

  7. More than 8,000 women were randomly assigned to take vitamin C, E or beta carotene alone or in various combinations for nearly a decade. An additional 5,442 women took folic acid and B vitamin supplements for more than seven years. “Overall, there was minimal evidence of any cardiovascular benefit of any of these antioxidants,” and people should not start or continue taking them for that purpose, Manson said.

  8. รู้จักไวตามิน E, C, Follic acid, B ? Harvard Medical School ทำวิจัยว่ากับ สตรี ๘,๐๐๐ คน นานเกือบ ๑๐ ปี ในเรื่อง ไวตามิน E กับ C และอีก ๕,๔๔๒ คน ใน เรื่อง Folic acid และไวตามิน B นาน๗ ปี พบว่าไม่ช่วยในเรื่องโรคหลอดเลือดหัวใจ จึงไม่จำเป็นต้องทานเสริม.

  9. ยาบำรุงเลือด(เหล็ก)ทานกับวิตามินอียาบำรุงเลือด(เหล็ก)ทานกับวิตามินอี ดีไหม ? ทานวิตามินมากหรือน้อยเกินไป ดีหรือไม่ ดีหรือไม่ ?

  10. โภชนาการลดอัตราเสี่ยงต่อโรคมะเร็งโภชนาการลดอัตราเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง • การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ สามารถป้องกันโรคมะเร็ง • เลี่ยงอาหารซ้ำซาก • เลือกอาหารให้หลากหลายเข้าไว้ • ทานตามฤดูกาล

  11. ควรรับประทานอาหารจำพวก พืช • ผัก ผลไม้ ข้าวหรืออาหารที่มีเส้นใยเป็นประจำ ผักผลไม้สีมีคุณค่า • บางชนิดเป็นแหล่งอาหารที่อุดมไป • ด้วยวิตามิน เกลือแร่ ใยอาหารและคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน

  12. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารซ้ำซากหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารซ้ำซาก • (เช่น ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ ควรทาน....) • เลือกอาหารให้หลากหลายเข้าไว้ • ครบถ้วนตามหลักโภชนาการทุกมื้อ

  13. เบต้าแคโรตีน เป็นสารต้านอนุมูลอิสระป้องกันมะเร็งและโรคหลอดเลือดอุดตันซึ่งเป็นให้เกิดโรค.... เป็นตัวเริ่มต้น ของวิตามิน A พบมากใน.....

  14. สารแคโรทีนมีกว่าห้าร้อยชนิด รวมกันเรียกว่า แคโรทีนอยด์ (Carotenoids) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของวิตามินเอ. แคโรทีนอยด์มีหลายชนิด เช่น อัลฟา-แคโรทีน,เบต้า-แคโรทีน, ลูทิอิน ซีแซนทิน แคโรทีนอยด์แต่ละชนิดต่างก็มีประโยชน์ที่แตกต่างกันและทำงานสนับสนุนกัน.

  15. ดังนั้น เราต้องรับประทานผัก ผลไม้มากและหลากหลายชนิด เพื่อให้ได้แคโรทีนอยด์ครบทุกชนิด. แคโรทีนนับเป็นตัวที่มีคนรู้จักและกล่าว ถึงกันมาก. เบต้า-แคโรทีนจึงมีบทบาทสำคัญในการรักษาสุขภาพ และเพิ่มระบบภูมิคุ้มกัน

  16. ทางสายกลางของการทานอาหาร ทางสายกลางของการทานอาหาร และวิตามินต้านมะเร็ง สารต้านอนุมูลอิสระ เช่น เบต้าแคโรตีน วิตามิน E, C เบต้าแคโรตีน ทานมากอันตราย ก่อมะเร็ง วิตามิน E ทานมากก่อมะเร็ง วิตามิน C ทานมาก......ผลเสีย เม็ดใหญ่อย่าหัก...? ควรทาน E คู่กับ C เพื่อลดอนุมูลอิสระ ที่เกิดจากการ ที่ E จับอนุมูลอิสระมากเกินไป จนทำให้ E กลายเป็นอนุมูลอิสระ ทานก่อน/หลังอาหาร ละลายในไขมัน เฉลี่ยการดูดซึม

  17. มะเร็งตับในประเทศไทยนั้นมีชื่อเสียงมากในวงการแพทย์ เรียกได้ว่า เป็นกรณีศึกษาในเรื่องของความชุกชุม ซึ่งหมายถึงมีโรคนี้มากในประชากรไทยในอัตราที่สูงและจะสูงมาก ในภาคอีสาน ทั้งนี้มาจากอาหารเป็นต้น เหตุคือ อาหารที่บริโภค ไม่สะอาดถูกสุขอนามัยทำให้เป็นการนำเอาเชื้อพยาธิใบไม้ตับเข้าสู่ร่างกาย พยาธินี้เริ่มต้นจากในหอย ปู ปลา เนื้อสัตว์บกบางชนิดปรุงสุกๆ ดิบๆ ตัวอ่อนพยาธิหรือไข่ไม่ถูกทำลายก็บริโภคเข้าสู่ร่างกายแล้วพยาธิ จะไปเจริญเติบโตในตับตามวงชีพของพยาธิใบไม้ในตับ ชื่อได้มาจาก รูปร่างพยาธิใบไม้นั่นเอง ตัวพยาธินี้ก็ปล่อยไข่ออกมากับอุจจาระ เพราะฉะนั้นก็สามารถจะตรวจได้ว่าใครมีพยาธิใบไม้ในตับ โดยการตรวจดูไข่พยาธิในอุจจาระ เมื่ออยู่ในตับนานๆ เข้า ก็จะทำให้กลายเป็นมะเร็งได้ • ในภาคอีสานของไทยเรา วัฒนธรรมอาหารเป็นปัจจัย ที่ทำให้ภูมิภาคนี้ของประเทศมีโรคนี้เกิดมาก คนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นับได้ว่าเป็นคนที่ใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตเป็นอาหารได้อย่างน่าพิศวง กินหรือบริโภคทุกอย่างที่เคลื่อนไหวได้ เป็นผู้ที่ทรหดอดทน ต่อสภาพแร้นแค้นได้ดีมาก แม้แต่ยิวซึ่งเป็นชนชาติที่ทรหดและฉลาด ยังยอมแพ้เมื่อไม่นานมานี้ทางอิสราเอลถึงกับทำหนังสือมายังกระทรวง ต่างประเทศในทำนองร้องเรียนเนื่องจากนิวเศน์วิทยาของพื้นที่ แถบทะเลทรายในอิสราเอลได้เปลี่ยนแปลงไปมากจนเกิดผลกระทบ วงกว้างมากขึ้น ซึ่งทางการอิสราเอลตรวจสอบแล้วพบว่า เพราะแรงงานไทยที่ไปทำงานในแถบดังกล่าวจับสิ่งมีชีวิตในทะเลทราย ซึ่งมีน้อยและหายากมาเป็นอาหารบริโภคจนเกิดความไม่สมดุล ของนิเวศน์วิทยาในระบบ สัตว์หายากบางชนิดแทบจะสูญพันธุ์ไปเลย เช่น หนูในทะเลทราย แมลงป่อง ฯลฯ ดูความสามารถของพี่น้องเราแล้วน่าทึ่ง • มะเร็งตับยังเกิดจากสาเหตุหรือปัจจัยที่สำคัญอีก 2 ปัจจัย การบริโภคสารก่อมะเร็งเข้าสู่ร่างกายที่แน่ชัดคือ สารที่เรียกว่า อะฟาลทอกซิน เป็นสารที่เชื่อว่าบางชนิดที่เกิดในเมล็ดธัญญพืช เช่น ถั่วลิสง พริก ฯลฯ โดยเฉพาะที่เก่าเก็บ สารนี้ไม่มีรสชาติมองไม่เห็น เพราะออกฤทธิ์แม้ขนาดเล็กน้อย พบได้ในพวกถั่วป่น พริกป่น ข้าวโพด ซึ่ง 2 อย่างแรกเป็นเครื่องปรุงรสอาหารประจำโต๊ะอาหารของคนไทยเรา เชื้อรานั้นจะเกิดเมื่อมีความอับชื้น พวกธัญญพืชเก่าเก็บ จึงต้องระวังบริโภคประจำก็เท่ากับตับถูกกระตุ้นด้วยสารก่อมะเร็งทุกวี่ทุกวัน นานเข้าก็กลายเป็นมะเร็งตับ 2 ปัจจัยนี้จะเห็นว่าต้นธารของโรคคือ นิสัยการบริโภคการให้ความรู้แก่ประชาชนจึงเป็นหนทางป้องกันโรค เราเรียกขบวนการนี้ว่า การป้องกันปฐมภูมิ • ในปัจจัยที่สามที่พบว่าเป็นตัวก่อให้เกิดมะเร็งตับได้คือ เชื้อไวรัสตับอักเสบ ซึ่งเป็นโรคที่พบในคนไทย ในอัตราสูงมากคือ พบได้ถึง 10 เปอร์เซ็นต์ของประชากร คือ มีคนเคยมีเชื้อโรคนี้ในร่างกายหรือเคยเป็นตับอักเสบ 5 ล้านคนโดยประมาณ เชื้อไวรัสตับอักเสบมีการฝังรากอาศัยอยู่ในตับมนุษย์เรานาน จนอาจจะตลอดชีวิตถ้าร่างกายปกติมันจะแฝงอยู่ค่อยกัดกร่อนทำลายไป เมื่อร่างกายอ่อนแอหรือมีสารพิษเข้าสู่ตับก็จะออกมาเล่นงาน ทำให้เกิดตับอักเสบ ถ้าปล่อยให้การอักเสบเป็นๆ หายๆ นานเข้า ก็จะกลายได้ ไวรัสตับอักเสบนั้นมีหลายชนิด ที่รู้จักกันดีคือ A และ B ถ้าเป็นกลุ่ม B ก็จะเป็นกลุ่มที่มีโอกาสกลายเป็นมะเร็งตับสูงกว่ากลุ่ม ที่เป็นชนิด A เนื่องจากทั้งไวรัสตับอักเสบ A&B สามารถติดต่อไปคนอื่นได้ อาจจะโดยการปนเปื้อนทางอาหาร การได้เลือด การใช้เข็มฉีดยาที่ไม่สะอาด น้ำคัดหลั่งหรือพวกน้ำเหลือง น้ำลาย จึงทำให้การแพร่ระบาดเป็นไปได้ง่าย จนกลายเป็นปัญหาสาธารณสุขจนกระทรวงสาธารณสุขต้องเร่งระดม วางแผนฉีดวัคซีนให้กับทารกที่คลอดทุกคนเพื่อเป็นการตัดวงจร การแพร่กระจายที่จะเกิดกับทารก ขณะเดียวกัน ก็เร่งให้ภูมิคุ้มกันกับประชนชนทั่วไปเพื่อจะลดอัตราการติดเชื้อ เป็นโรคไวรัสตับอักเสบซึ่งได้ผลดี • ปัจจุบันทารกที่คลอดในโรงพยาบาลแทบทุกคนได้รับ การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ ขณะนี้แนวโน้มของโรคนี้ดีขึ้น เพราะได้มีการให้ความรู้เรื่องการบริโภคให้กับประชาชนได้เข้าใจ

  18.   1990 ผู้คนกลัวความอ้วน ถั่วลิสงจึงถูกขจัดออกจากโต๊ะอาหาร แต่ปัจจุบัน ควรรับประทานถั่วลิสงที่มีไขมันไม่อิ่มตัวในปริมาณที่ เหมาะสม. สมาคมอาหารและเครื่องดื่มของสหรัฐฯ กล่าวว่า “ปัจจุบัน เรา ได้รู้ว่า ถั่วลิสงมีไขมันไม่อิ่มตัวที่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ซึ่งไม่เหมือน ไขมันอิ่มตัวที่จะอุดตันเส้นเลือดใหญ่ ตรงกันข้าม จะช่วยทำความ สะอาดเส้นเลือดใหญ่"

  19. แต่มีข้อจำกัดที่พึงระวังว่า ไม่ควรกินมากเกินควร. ถั่วลิสงหนึ่งออนซ์มีไขมัน 14 กรัม และถั่วลิสง 1 กำมือจะมีคาลอรี 200 คาลอรี ซึ่งเป็นปริมาณที่พอ เหมาะ. ผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยบางแห่งแสดงให้เห็นว่า ถั่วลิสงสามารถช่วยป้องกันโรคหัวใจ ลดคอ - เลส เตอรอลให้ต่ำลง และยังช่วยลดความอ้วนด้วย. ควรทานถั่วลิสงแบบไหน ? จึงจะปลอดภัย

  20. ๑ ออนซ์ = ๓๐ ซีซี, ๒ ออนซ์ = ๖๐ ซีซี ไข่ไก่จัมโบ้ = ๕๐ กรัม = ๕๐ ซีซี องค์การอาหารและยาของสหรัฐฯ ได้กำหนด ผ่านการพิจารณาตรวจสอบว่า ถั่วลิสงและลูกนัทบาง อย่างเป็นอาหาร บำรุงสุขภาพที่ดี โดยอนุมัติให้ผู้ผลิต อาหารประเภทถั่วลิสง ต้องพิมพ์คำอธิ บายในหีบห่อ ว่า การกินถั่วลิสงจำนวน 1.5 ออนซ์ต่อวัน จะสามารถ ลดอัตราเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจได้. >

  21. มันเทศป้องกันโรคมะเร็งและเป็นผลดีต่อหัวใจ มันเทศรสชาติดี มีส่วนประกอบของคาร์ โบไฮเดรต เซลลูโรส แคโรทีน วิตามินและโป แตสเซี่ยม แมกนีเซี่ยม ทองแดง เซลีเนียม และแคลเซียมเป็นต้นกว่า 10 ชนิด. วิตามินซี วิตามินบี11 และ วิตามินบี6 เป็นสารอาหารที่มี บทบาทป้องกันโรคมะเร็งดีที่สุด

  22. สารเบต้าแคโรทีน ในมันเทศน้ำหนักประมาณ 100 กรัม จะให้ปริมาณวิตามินเอที่ร่างกายต้างการใน 1 วันได้ถึง 2 เท่า ให้1/3ของปริมาณวิตามินซีที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน และให้วิตามินบี11 ในปริมาณ 50 ไมโครกรัม มันเทศจึงมีคุณประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างอเนกอนันต์ มันเทศมีบทบาทป้องกันโรคมะเร็ง. ช่วยการเคลื่อนตัวของลำใส้ ป้องกันอาการท้อง ผูกและโรคมะเร็งลำใส้ใหญ่ มันเทศเป็นผลดีต่อหัวใจ (ป้องกันโรคเส้นเลือดหัวใจ) มันเทศมีบทบาทต้านทานโรคเบาหวาน.

  23. นักวิจัยญี่ปุ่นพบว่า เมื่อป้อนมันเทศเปลือกขาวให้ กับหนูตัวอ้วนที่เป็นโรคเบาหวานกินเป็นเวลา 4 สัปดาห์ และ 6 สัปดาห์แล้ว สารอินซูลินในเลือดลดลง 26% และ 60% และพบว่า มันเทศสามารถป้องกันไม่ให้น้ำตาลในเลือด ของหนู่ตัวอ้วนสูงขึ้นหลังกินกลูโคส ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า มันเทศเปลือกขาวมีบทบาทป้องกันโรค เบาหวานไม่มากก็น้อย. (หมายเหตุ...ยังไม่ได้ทดลองในคน)

  24. นักโภชนาการรับรองว่า มันเทศเป็นได้ทั้งอาหารและยา. คาลอรีของมันเทศ =1/3 ของข้าวสวยธรรมดาและ เกือบไม่มีไขมันและคอเลสเตอรอล.(น้ำมันพืชมีโคเลสเตอรอล ? PBM) รับประทานมันเทศบ่อยๆ เป็นผลดีต่อสุขภาพ และ จะสามารถช่วยลดความอ้วนได้บ้าง แต่มีข้อระวังคือ อย่า กินมากเกินควรในครั้งเดียว เพราะจะเกิดอาการแสบอก มีกรดในกระเพาะอาหารล้นขึ้นหรือท้องเฟ้อเป็นต้น (แสดงว่า ย่อยช้า ?)

  25. การรับประทานมั่นเทศบ่อยๆ จะมีส่วนช่วยรักษาความสมดุลของวิตามินบี 11 ในร่างกาย ลดความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็ง ส่วนสารเซลลูโรสในมันเทศ มีผลดีในการมันเทศมีสารโปรแตสเซียม เบต้าแคโรทีน สาร 5 ชนิดดังกล่าวต่างก็มีบทบาทปัจจุบัน

  26. มะเขือเทศ อาหารที่มีคุณค่าอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งสามารถขจัดสารพิษออกจากร่างกาย และป้องกันโรคได้.

  27. สารสำคัญในมะเขือเทศ ไลโคพีน(licopene)มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันมะเร็งลำใส้ใหญ่ ต่อมลูกหมาก เต้านม ปอด ตับ-อ่อน เป็นต้น. ทำมะเขือเทศให้สุก จะป้องกันมะเร็งต่อมลูก หมาก และลดความเสี่ยงได้ ๑๙ % ถ้าดิบ(ไม่สุก)ลดได้ ๑๑ % ดื่มน้ำมะเขือเทศ วันละ ๓ ออนซ์ ลดอัตตราเสี่ยง ได้ ๓ %

  28. รับประทานมะเขือเทศ สุกวันละ1-2 ลูกสามารถที่จะป้องกัน และช่วยรักษา โรคมะเร็ง. เอามะเขือเทศและแอปเปิ้น อย่างละหนึ่งลูก และงา 15 กรัม. กินให้หมดในครั้งเดียว วันละ 1-2 ครั้ง จะสามารถรักษาโรคโลหิตจาง.

  29. สำหรับผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหาร อาการเบา ให้นำน้ำมะเขือเทศและน้ำมันฝรั่ง อย่างละครึ่งแก้วผสมกันดื่มทุกวัน เวลาเช้าเย็น ครั้งละ 1 แก้ว กินต่อเนื่องกัน 10 ครั้ง จะ สามารถรักษาแผลให้หาย. (?) นอกจากนี้ ยังสามารถนำน้ำมะเขือเทศ กับน้ำแตงโมอย่างละครึ่งแก้วผสมกัน รับประ ทานชั่วโมงละครั้งจะสามารถรักษาอาการไข้สูง.

  30. วิตามินซี พบใน พวกผลไม้ที่มีรส เปรี้ยว ได้แก่ ส้ม ฯลฯ ซิลิเนียม อยู่ในจมูกข้าว รำข้าว ปลาทูน่า หัวหอม กระเทียมและเห็ด ใช้ต้านมะเร็งใยอาหารมีมากในผัก ผลไม้ และพวกเมล็ดธัญพืชต่างๆคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนพบในขนมปังธัญพืชและถั่วต่างๆ

  31. กะหล่ำดอกช่วยลดมะเร็งต่อมลูกหมากกะหล่ำดอกช่วยลดมะเร็งต่อมลูกหมาก คณะนักวิจัยจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติสหรัฐ พบว่า การรับประทานผักใบเขียวเข้มทุกสัปดาห์ ช่วยยับยั้งไม่ให้มะเร็งต่อมลูกหมากลุกลาม โดย ในบร็อคโคลีลดความเสี่ยงที่มะเร็งต่อมลูกหมาก จะลุกลามลงได้ร้อยละ45 และ กระหล่ำดอกลดได้ถึงร้อยละ 52 ส่วนผักโขมนั้นลดได้ใน ปริมาณไม่มากนัก

  32. ด้านมูลนิธิวิจัยมะเร็งอังกฤษเผยว่า มะเร็งต่อมลูกหมากคร่าชีวิตผู้ชายอังกฤษชั่วโมงละ 1 คน และแต่ละปีตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่ 32,000 คน พร้อมกับแนะว่าวิธีที่ดีที่สุดในการลดความเสี่ยงเป็นมะเร็ง คือ รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์อย่างสมดุล รับประทาน ผักผลไม้หลากหลายชนิดอย่างน้อยวันละ 5 ชิ้น เพราะไม่มีผักผลไม้ชนิดใดที่มีคุณสมบัติในการป้องกันมะเร็งได้เป็นพิเศษ.

  33. การรับประทานพริกเป็นประจำทุกวัน สามารถช่วยป้องกันโรค มะเร็งและโรคอื่นๆ อีกหลายโรคเนื่องจากสารแคปไซซิน ที่ทำให้พริกมีรสเผ็ด สามารถใช้ฆ่าเนื้องอกได้โดยไม่มีผลข้างเคียง ต่อคนไข้ หรือถ้ามีก็น้อยมาก และการวิจัยล่าสุดระบุว่า สารแคปไซซินที่ทำให้พริกมีรสเผ็ดเป็นกุญแจสำคัญกับ ยาต้านมะเร็งในยุคหน้านพ.ทิโมธี เบทส์ ชาวอังกฤษ

  34. ค.วิทยาศาสตร์ ม.ศรีนครินทร์ฯ ทดลองใช้ สารสกัดเปลือกมังคุดเล็กน้อยสามารถทำลายลายเซ็ลมะเร็งลำใส้ใหญ่และตับได้

  35. สารที่มีเบต้าแคโรทีนสูง ได้แก่ ผัก ผลไม้ ที่มีสี เหลืองสดหรือส้ม จำพวกฟักทอง มะละกอ มะม่วงสุก แตงโม แครอท และผักใบเขียวเข้ม เช่น ตำลึง คะน้า ผักขม บรอคโคลี่ เป็นต้น. อาหารที่มีวิตามินซีสูง ได้แก่ผักสด และผลไม้ เช่น ฝรั่ง ส้ม ขนุน และมะละกอสุก

  36. ผลการวิจัยของนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยคอร์เนลสหรัฐอเมริกา พบว่า หัวหอมใหญ่ ช่วยป้องกันโรคมะเร็งตับและลำไส้ได้ เพราะในหัวหอม จะมีสารแอนตี้ออกซิแดนต์สูงมาก จึงช่วยป้องกันและยับยั้ง การเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้.

  37. กล้วย มีแป้งมาก ? เบาหวานควรทานมาก ? มีพลังงานมาก ? มีสีเหลือง ?

  38. ควรกินผลไม้สีไหน ? คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่า ถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร ?

  39. ถ้าคุณกินผลไม้ในขณะท้องว่าง มันจะช่วยคุณในการล้างพิษจากร่างกาย ให้พลังงานสำหรับช่วงลดน้ำหนัก และกิจกรรมอื่นในชีวิตประจำวัน.

  40. เนื่องจากผลไม้ย่อยได้เร็วกว่าขนมปัง ชิ้นผลไม้จะถูกย่อยอย่างรวดเร็วและพร้อมที่ผ่านกระเพาะไปสู่ลำไส้ แต่เส้นทางของมันถูกขวางไว้โดยขนมปังซึ่งใช้เวลาย่อยนานกว่า….

  41. จะเป็นการดีกว่าถ้าเรากินผลไม้ในจะเป็นการดีกว่าถ้าเรากินผลไม้ใน ขณะท้องว่างหรือก่อนมื้ออาหาร!

  42. การกินเนื้อผลไม้หรือผลไม้ทั้งลูก จะดีกว่าการดื่มน้ำผลไม้เพราะเส้นใยจากเนื้อผลไม้จะดีสำหรับคุณ

  43. เมื่อคุณต้องการดื่มน้ำผลไม้ ให้ดื่มน้ำผล ไม้สดเท่านั้นอย่าดื่มน้ำผลไม้กระป๋อง

  44. อย่าดื่มน้ำผลไม้ที่ผ่านความร้อนอย่าดื่มน้ำผลไม้ที่ผ่านความร้อน อย่ากินผลไม้ที่ถูกปรุงเป็นอาหาร เพราะคุณจะไม่ได้คุณค่าทางโภชนาการเลย

  45. คุณสามารถกินผลไม้ได้หลากหลายในเวลาต่างๆ แม้แต่สลัดผลไม้ ซึ่งเป็นเมนูที่น่าสนใจ.

  46. ถ้าคุณกินผลไม้อย่างถูกวิธีเป็นประจำ คุณก็จะมีเคล็ดลับของสุขภาพ และน้ำหนักตัวที่เป็นปกติ.

  47. ถ้าคุณดื่มน้ำผลไม้ ให้ดื่มช้าๆ ทีละคำ เพื่อให้น้ำผลไม้รวมกับน้ำลายของคุณก่อนที่จะกลืนลงไป (จิบ)

  48. ฉันเรอทุกครั้งที่กินแตงโม.ฉันเรอทุกครั้งที่กินแตงโม. • เวลาฉันกินทุเรียน กระเพาะฉันพองขึ้น. • เวลาฉันกินกล้วย ฉันรู้สึกอยากวิ่งไปห้องน้ำ เป็นต้น.

  49. คนน้ำหนักเกินมีความเสี่ยงคนน้ำหนักเกินมีความเสี่ยง จากงานวิจัยของสมาคมมะเร็งแห่งประ เทศสหรัฐอเมริกา ที่ใช้เวลาศึกษานานถึง ๑๖ ปีระบุว่า การมีน้ำหนักเกินมีส่วนในการก่อให้ เกิดมะเร็งทุกชนิด ยกเว้นมะเร็งปอด กระเพาะปัสสาวะ และสมอง. (งานวิจัยมีคนตายด้วยมะเร็ง ๙ หมื่นคน ในจำนวนนี้ร้อยละ ๑๔ เป็นชายอ้วน และร้อยละ ๒๐ เป็นหญิงอวบ)

  50. สาเหตุที่คนอ้วนเป็นมะเร็งสาเหตุที่คนอ้วนเป็นมะเร็ง ที่คนอ้วนมีโอกาสเป็นมะเร็งสูงนั้น เนื่องจากการมีน้ำหนักมาก มีส่วนทำให้ร่างกายผลิตฮอร์โมนต่าง ๆ ออกมามาก เกินไป อาทิ สเทียรอยด์ อินซูลินง ยังเสี่ยงต่อการเป็นนิ่วในถุงน้ำดีและนิ่วอาจเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดมะเร็งในถุงน้ำดี.

More Related