1 / 83

หม้อไอน้ำ ( Boilers)

หม้อไอน้ำ ( Boilers). ชนิดของหม้อไอน้ำ. 1. แบบท่อน้ำ ( Water Tube Boiler ). 1.1 ขนาดใหญ่ ผลิตไอน้ำยิ่งยวด ( Superheated Steam ) ความดันและ อุณหภูมิสูงเพื่อขับ เครื่องกังหันผลิตไฟฟ้าหรือเครื่องจักรในอุตสาหกรรม.

tova
Download Presentation

หม้อไอน้ำ ( Boilers)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หม้อไอน้ำ (Boilers)

  2. ชนิดของหม้อไอน้ำ • 1. แบบท่อน้ำ (Water Tube Boiler) • 1.1 ขนาดใหญ่ ผลิตไอน้ำยิ่งยวด (Superheated Steam) ความดันและ อุณหภูมิสูงเพื่อขับ เครื่องกังหันผลิตไฟฟ้าหรือเครื่องจักรในอุตสาหกรรม • 1.2 ขนาดปานกลางแบบแพคเกจ (Water Tube Package Boilers ) ผลิตไอน้ำอิ่มตัวใช้ในกระบวนการผลิตอุตสาหกรรม • 1.3 ขนาดเล็กแบบไหลผ่าน (Once Through Boilers) ผลิตไอน้ำอิ่มตัว

  3. ชนิดของหม้อไอน้ำ 2.หม้อไอน้ำท่อไฟ (Fire Tube Packaged Boilers)  แก็สร้อนไหลผ่านท่อ 2,3,4 กลับ  หลังเปียก(Water Back) หลังแห้ง(Dry Back) 3. หม้อต้มน้ำมันร้อน (Hot Oil or Thermal Oil Boilers)  มีทั่งแบบนอกและแบบตั้ง น้ำร้อนไหลผ่านในขดท่อ(Coil)  ผลิตน้ำมันร้อนอุณหภูมิไม่เกิน 350๐ซ  ใช้ปั๊มส่งน้ำมันร้อนไปถ่ายเทความร้อนด้วยความดัน 2-5 บาร์

  4. ชนิดของหม้อไอน้ำ 4. หม้อไอน้ำผลิตน้ำร้อนอุณหภูมิไม่เกิน 100oซ และเกิน100oซ  ใช้ปั๊มส่งน้ำร้อนไปใช้งาน 5. หม้อไอน้ำความร้อนทิ้ง (Waste Heat Boilers) 5.1 แบบท่อน้ำมีทั้งผลิตไอน้ำยิ่งยวด ขับเครื่องกังหัน ผลิตไฟฟ้า และ ผลิตไอน้ำอิ้มตัว 5.2 แบบท่อไฟ ผลิตไอน้ำอิ่มตัวหรือผลิตน้ำร้อน

  5. ก. แบบดรัมเดียว

  6. ข. แบบสองดรัม

  7. ค. แบบสามดรัม

  8. ง. แบบสี่ดรัม

  9. รูปที่ 1

  10. รูปที่ 2

  11. หม้อไอน้ำแพคแกจชนิดมีและไม่มีการหล่อเย็นด้านหลัง หม้อไอน้ำแพคแกจชนิดมีและไม่มีการหล่อเย็นด้านหลัง

  12. สาระสำคัญที่เกี่ยวกับหม้อไอน้ำที่เป็นประโยชน์สาระสำคัญที่เกี่ยวกับหม้อไอน้ำที่เป็นประโยชน์  ข้อดีของหม้อไอน้ำหลอดน้ำ 1. ทนความดันได้สูง 2. ผลิตไอน้ำได้เร็วกว่า เพราะการถ่ายเทความร้อนได้ดีกว่า จึงเหมาะกับ High steam rate 3. ปลอดภัยในการใช้งาน หลอดน้ำจะแตกแทนที่จะระเบิดเมื่อน้ำแห้งหม้อไอน้ำ 4. ตรวจสภาพท่อได้ง่าย

  13. ข้อเสียของหม้อไอน้ำหลอดน้ำข้อเสียของหม้อไอน้ำหลอดน้ำ 1. ต้องใช้น้ำคุณสมบัติดี 2. ความดันไอในหม้อพักไม่คงที่ ถ้าการใช้ไอไม่สม่ำเสมอ 3. ราคาแพง 4. ทำความสะอาดภายในท่อยาก, ซ่อมยาก 5. อันตรายจากน้ำในหม้อไอน้ำแห้งมีมาก

  14. ข้อดีของหม้อไอน้ำหลอดไฟ 1. เล็กกระทัดรัด สร้างง่ายแบบแพคเกจ (Package) 2. น้ำไม่ต้องบริสุทธิ์นัก 3. สะดวกในการทำความสะอาด, ซ่อมบำรุง 4. จ่ายไอได้สม่ำเสมอ 5. ทำงานได้ทั้ง Manual - Auto

  15. ข้อเสียของหม้อไอน้ำหลอดไฟข้อเสียของหม้อไอน้ำหลอดไฟ 1. น้ำหนักมากต่อพิกัดไอน้ำที่ผลิตได้ 2. เร่งไอไม่ได้รวดเร็ว 3. ผลิตไอน้ำความดันต่ำ ไม่เกิน 15 กก./ซม.

  16. องค์ประกอบในการเลือกหม้อไอน้ำ เพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน 1. ปริมาณไอน้ำหรือความร้อนที่ต้องการ 2. ชนิดของไอน้ำ (ไอน้ำอิ่มตัว, ไอดง) และความดันไอน้ำที่ต้องการ

  17. องค์ประกอบในการเลือกหม้อไอน้ำ เพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน 3. ชนิดเชื้อเพลิงที่จะใช้  เชื้อเพลิงแข็ง ถ่านหิน, ลิกไนต์, ฟืน, แกลบ, ขี้เลื่อย, ขยะอุตสาหกรรม  เชื้อเพลิงเหลว น้ำมันดีเซล, น้ำมันขี้โล้, น้ำมันเตาชนิดที่ 1,2,4,5,  เชื้อเพลิงก๊าซ ก๊าซธรรมชาติ, ก๊าซหุงต้ม, ก๊าซอื่นๆ หรือก๊าซร้อนจากเตาต่างๆ 4. อายุการใช้งาน 5. ด้านเศรษฐศาสตร์ เงินลงทุน ต้นทุนการผลิต สภาวะแวดล้อม

  18. อุปกรณ์ที่สำคัญของหม้อไอน้ำอุปกรณ์ที่สำคัญของหม้อไอน้ำ 1. อุปกรณ์ควบคุมความดันในหม้อไอน้ำ - เกจวัดความดัน - Pressure Controller (Pressure Switch) ส่ง สัญญาไปเพิ่ม–ลด–ตัด เชื้อเพลิง 2. อุปกรณ์ควบคุมระดับน้ำในหม้อไอน้ำ - ใช้ลูกลอย หรือ Electrode ส่งสัญญาณไปเดิน-หยุด ปั๊มน้ำ ป้อนเข้าหม้อน้ำ และตัดเชื้อเพลิงในกรณีระดับน้ำต่ำถึงจุดอันตราย - หลอดแก้ว / แผ่นแก้ว วัดระดับน้ำ

  19. อุปกรณ์ที่สำคัญของหม้อไอน้ำอุปกรณ์ที่สำคัญของหม้อไอน้ำ 3. อุปกรณ์ความปลอดภัย - ลิ้นนิรภัย หรือลิ้นกันอันตราย (Safety Valve) - ตาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Eye) จะส่งสัญญาณไปตัดเชื้อเพลิง เมื่อไม่มีเปลวไฟ และมีสัญญาณเตือน 4. อุปกรณ์อื่นๆ -วาล์วโบลดาวน์ -ระบบน้ำเลี้ยง -ระบบเชื้อเพลิง

  20. ความจุหรือพิกัด และสมรรถนะของหม้อไอน้ำ 1.) ความจุหรือพิกัดหรือขีดความสามารถของหม้อไอน้ำที่จะผลิตไอน้ำ ได้สูงสุดต่อชั่วโมงทั่วๆ ไปจะเป็นอัตราการผลิตไอน้ำสมมูลย์ (Equivalent Evaporation)

  21. 1 ตัน/ชั่วโมง = 1000 x 2256.7 = 2,256,700 KJ/hr = 1000 x 539 = 539,000 Kcal/hr = 2204 x 970.3 = 2,138,541 Btu/hr = 1000 x 539 = 627 Btu/hr 860 1.1 ตัน/ชั่วโมง คือ จำนวนความร้อนที่สามารถทำให้น้ำที่ 1000ซ ระเหยเป็นไอน้ำ 100 0ซ หมดภายใน 1 ชั่วโมง สูตร Q = m(hg - hf)

  22. 1.2 แรงม้าหม้อไอน้ำ (Boiler Horsepower) 1 แรงม้าหม้อไอน้ำ คือ ปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำ 34.5 ปอนด์ที่ 212 0ฟ ระเหยกลายเป็นไอน้ำที่ 212 0ฟ หมดภายใน 1 ชั่วโมง 1 แรงม้าหม้อน้ำ = 34.5 x hfg = 34.5 x 970.3 = 33,475.35 Btu/hr

  23. 1.3 แรงม้าทางกล = 550ft . Pound x Btu x 3600Sec Sec. 777.97ft.pound hr = 2545 Btu/hr 1 Boiler Hp = 33475.35 = 13 Hp ทางกล 2545

  24. 2. การผลิตน้ำร้อน หรือหม้อต้มน้ำมันร้อน  ปริมาณความร้อนต่อชั่วโมง เช่น KJ/hr ; Kcal/hr ; Btu/hr น้ำร้อน Q = m (h1 - h2) = 1000 (85-20) = 65,000 Kcal/hr m = ปริมาณน้ำร้อน, ก.ก. h1 = อุณหภูมิน้ำร้อนส่งออก, 85 0ซ h2 = อุณหภูมิน้ำป้อน, 20 0ซ

  25. Kg/m2h = Steam Rate (Kg/h) = ปริมาณไอน้ำที่เกิดขึ้น/ช.ม. Heating Surface (m2) พื้นผิวถ่ายเทความร้อน, ม2 = 5000 Kg/h = 62.5 ก.ก./ม2/ช.ม. 800 m2 3. วิธีแสดงสมรรถนะของหม้อไอน้ำ 3.1 อัตราการผลิตไอน้ำที่ต่อพื้นที่ถ่ายเทความร้อน หรืออัตราการระเหย

  26. = Steam Rate (Kg/h) = ปริมาณไอน้ำที่เกิดขึ้น/ช.ม. Fuel Rate (Kg/h) ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้/ช.ม. = 14,000 = 14 1,000 3. วิธีแสดงสมรรถนะของหม้อไอน้ำ 3.2 จำนวนเท่าของการระเหย หรืออัตราส่วนของไอน้ำที่ผลิตได้ต่อเชื้อเพลิงที่ใช้

  27. 3. วิธีแสดงสมรรถนะของหม้อไอน้ำ  การติดมิเตอร์วัดปริมาณน้ำป้อนเข้าหม้อไอน้ำ และมิเตอร์วัดปริมาณน้ำมันเชื้อ เพลิงที่ใช้จดบันทึกทุกชั่วโมง จะทราบอัตราส่วนนี้ ถ้ามีการโบลดาวน์ตลอด เวลา ให้หักอัตรา โบลดาวน์ออกเสียก่อน  ใช้น้ำร้อน 90-95 0ซ ป้อนเข้าหม้อไอน้ำ อัตราส่วน 14-14.5 ประสิทธิภาพสูง ใช้น้ำร้อน 50 0ซ ป้อนเข้าหม้อไอน้ำ อัตราส่วน 13-13.5 ประสิทธิภาพปานกลาง ใช้น้ำร้อน 25 0ซ ป้อนเข้าหม้อไอน้ำ อัตราส่วน 12-12.5 ประสิทธิภาพต่ำ

  28. 4. ประสิทธิภาพหม้อไอน้ำ ประสิทธิภาพหม้อไอน้ำ =Heat in Steam Produced (Output) / Hr Heat in Fuel (Input) / Hr = ms (hg - hf) mf x Heating Value in Fuel = ปริมาณความร้อนในไอน้ำ/ช.ม. ปริมาณความร้อนในเชื้อเพลิง/ช.ม.

  29. 5. รายการแสดงสมรรถนะหม้อไอน้ำ

  30. การเผาไหม้น้ำมันเตา 1. หัวเผา / หัวพ่นไฟ (BURNERS) ทำหน้าที่  ฉีด/พ่นน้ำมันเป็นฝอยละเอียด (Atomizing) ผสมอากาศกับฝอยน้ำมัน (Mixing) อย่างรวดเร็ว และทั่วถึง  ควบคุมอัตราส่วน อากาศ : น้ำมัน เพื่อให้ได้การเผาไหม้ที่สมบูรณ์ ด้วยการใช้ อากาศที่เกิน (Excess Air) น้อยที่สุด โดยไม่เกิดควันที่ปากปล่องตลอดช่วงการ เผาไหม้ มีอุปกรณ์จุดติดเตาครั้งแรก : LPG-ไฟฟ้า, ไฟฟ้า

  31. การเผาไหม้น้ำมันเตา 2. ชนิดต่างๆ ของหัวเผา (1) พ่นฝอยด้วยความดันน้ำมัน (Pressure of Mechanical Atomized) Non-Oil Return : ON-OFF ; LF-HF ; LF-MF-HF (TD = 1:1 , 2-3:1) Oil Return : Modulating (TD = 10:1)  ความดันฝอย : 15-20 บาร์ หรือ 20-25 บาร์  ตำแหน่ง, สภาพของแผ่นกระจายลม (Air Diffuser Plate), เขี้ยวหัวเทีย

  32. การเผาไหม้น้ำมันเตา (2) พ่นฝอยด้วยอากาศความดันต่ำ (LP Air Atomized) (TD = 4-6:1)  Individual Control (แยกควบคุมอากาศ, น้ำมัน)  Proportioning Single Lever (คันควบคุมอันเดียวกัน)  ความดันอากาศพ่นฝอย 400-200 ม.ม. น้ำ ความดันน้ำมันต่ำ 2.5-3.0 บาร์

  33. การเผาไหม้น้ำมันเตา (3) พ่นฝอยด้วยไอน้ำ (Steam Atomized) ผสมภายนอก (Steam Jet Type) (TD = 6:1) ผสมภายใน (Intermixing Type) : Steam P. > Oil P. ~ 1.5-2.0 บาร์ (TD = 10:1) ตำแหน่งของแผ่นกระจายลม

  34. TD คือ Turn Down Ratio = Maximum Fuel Rate โดยที่การเผาไหม้ยังดีอยู่ Minimum Fuel Rate การเผาไหม้น้ำมันเตา (4) ถ้วยสลัดน้ำมัน (Rotary Cup Burner)  อุ่นน้ำมันเตาชนิดที่ 2 ต้องไม่เกิน 80 0C (ป้องกันถ้วยแห้ง) ทำความสะอาดผิวภายในถ้วยทุก 24 ช.ม.

  35. 4. ยี่ห้อหัวเผาที่ใช้ในประเทศไทย Pressure Atomized : Weishaupt/Monarch, Olympia, Elco Klockner, Bentone, Bentone, Baltur, Riello, Oertli, Nuway, Ray, Henchel, Wanson (Thermo Pac) etc. Air Atomized : Cleaver Brooks, Kewanee, Yorkshipley, Ray, Hauwk etc. Steam Atomized : IHI, Takuma, Kure etc. Rotary Cup : Saacke, Hamworthy, MP.Boiler, Sunray, Ray etc.

  36. 5. การถ่ายเทความร้อนจากการเผาไหม้ ประมาณ 50-60% จากเปลวไฟ (Flame) ด้วยการแผ่รังสี (Radiation) * หม้อน้ำท่อไฟ : ท่อไฟใหญ่ (ลูกหมู) (Combustion Chamber/Flue Tube) * หม้อน้ำท่อน้ำ : ท่อน้ำรอบห้องเผาไหม้ (Flame Tubes) หรือ Radiant tubes. * เตาเผา, เตาหลอม : ใช้เปลวไฟจี้ลงที่ต้องการเผา, หลอม

  37. 5. การถ่ายเทความร้อนจากการเผาไหม้  ที่เหลือเป็นแก๊สร้อนเรียกว่าฟลูแก๊ส (Flue Gas) ถ่ายให้ Heat Exchanger, เหลือทิ้งออกปล่อง * หม้อไอน้ำท่อไฟ : ผ่านท่อไฟหรือท่อควัน (Smoke Tubes) * หม้อไอน้ำท่อน้ำ : ท่อซุปเปอร์ฮีท (ถ้ามี), Convection Tubes, Economiser, Air Heater * เตาเผา, เตาหลอม : อุ่นวัสดุล่วงหน้า

  38. 6. ข้อดีของการใช้อากาศที่เกินน้อยๆ ตลอดช่วงการทำงานของหัวเผาโดยที่ไม่มีควันที่ปล่อง  ได้อุณหภูมิเปลวไฟสูงสุด  ประหยัดเชื้อเพลิง (โดยเฉพาะเตาเผา เตาหลอม)  แก๊สร้อนมีเวลานานขึ้นก่อนทิ้งออกปล่องไป (ถ่ายความร้อนออก ได้มากขึ้น อุณหภูมิล่องลดลง)  เพิ่มประสิทธิภาพ (สูญเสียไปทางปล่องลดลง) ประหยัดเชื้อเพลิง  ลด SO3, Acid Smut / Stack Solid (Oil ash + soot)

More Related