1 / 109

ความเข้าใจเกี่ยวกับ การประเมิน คุณภาพการศึกษาภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบสาม (2554) 11 ก.ย. 2554

ความเข้าใจเกี่ยวกับ การประเมิน คุณภาพการศึกษาภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบสาม (2554) 11 ก.ย. 2554 รองศาสตราจารย์ ดร. วิชัย แหวนเพชร กรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สกอ. และกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก สมศ. ความจำเป็นในการประกันคุณภาพการศึกษา.

tiger
Download Presentation

ความเข้าใจเกี่ยวกับ การประเมิน คุณภาพการศึกษาภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบสาม (2554) 11 ก.ย. 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบสาม (2554) 11 ก.ย. 2554 รองศาสตราจารย์ ดร. วิชัย แหวนเพชร กรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สกอ. และกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก สมศ.

  2. ความจำเป็นในการประกันคุณภาพการศึกษาความจำเป็นในการประกันคุณภาพการศึกษา • คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตแตกต่างกัน • ความท้าทายของยุคโลกาภิวัฒน์(Globalization) และประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) • การสร้างความเชื่อมั่นแก่สังคมในการสร้างบัณฑิต • สถาบันอุดมศึกษาต้องให้ข้อมูลด้านคุณภาพแก่สาธารณะ(Public Information) • เป็นไปตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 ปรับปรุง 2545 -มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ....

  3. -มาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา -มาตรา ๔๙ ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชน 6. สกอ.ประกาศ มาตรฐานอุดมศึกษา เมื่อ 1 สค.2549 มาตรฐาน 3 ด้าน 12 ตัวบ่งชี้ คือ 1) มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิตที่จะต้องมีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม ความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อการดำรงชีวิตในสังคม สำนึกและรับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก2)มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการอุดมศึกษาที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและพันธกิจของอุดมศึกษาอย่างดุลยภาพและ3)มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ ที่จะแสวงหาการสร้าง และจัดการความรู้ตามแนวทางหลักการอันนำไปสู่สังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้

  4. 7. มาตรฐานอุดมศึกษา จัดการศึกษาแบ่งเป็น 4 กลุ่ม(เมื่อ12พ.ย.2551) • วิทยาลัยชุมชน • สถาบันเน้น ปริญญาตรี* • สถาบันเน้นเฉพาะทาง • สถาบันเน้นวิจัยชั้นสูงและผลิตบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก 8. สกอ. ประกาศ มาตรฐานกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) เมื่อ 2 กค.2552 เพื่อประกันคุณภาพบัณฑิตในแต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา

  5. ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษาและคุณภาพของชาติความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษาและคุณภาพของชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึง ประสงค์ทั้งในฐานะพลเมือง และพลโลก มาตรฐานที่2 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรฐานที่3 แนวการสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ มาตรฐานการ อุดมศึกษา 1.มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 2.มาตรฐานด้านการบริหาร จัดการการอุดมศึกษา 3.มาตรฐานด้านการสร้างและ พัฒนาสังคมฐานความรู้และ สังคมแห่งการเรียนรู้ หลักเกณฑ์กำกับ มาตรฐานรวมถึง กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ การประกันคุณภาพภายใน ภายใต้ตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน-ประกัยภายนอก ผลผลิตทางการศึกษาที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน

  6. Quality is a Journey • Quality is not a destination • Quality is customer satisfaction • Indicator is a life

  7. …..“คุณภาพของมหาวิทยาลัยขึ้นอยู่กับ…..“คุณภาพของมหาวิทยาลัยขึ้นอยู่กับ ความเข้มแข็งของสภามหาวิทยาลัยด้วย” …..“พัฒนาชาติให้พัฒนาคน พัฒนาคนให้พัฒนาการศึกษา พัฒนาการศึกษาให้พัฒนาครูอาจารย์” ….“อาจารย์เป็นอย่างไร มหาวิทยาลัยก็เป็นอย่างนั้น”

  8. “People do not perform what you expect,But they do perform what you inspect”

  9. QA Paradigm shift

  10. Principle • IQA vs EQA • ใครนำไปใช้ประโยชน์ • ใช้มาตรฐานของใคร • ความเหมือนที่แตกต่างในการพัฒนา

  11. การประเมิน Internal assessmentExternal assessment 1. เป้าหมายของสถาบัน1. เป้าหมายของ ประเทศ มาตรฐานของสถาบัน ( +สกอ ) ตามพรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 (โดยมีพรบ.การศึกษา 2542 เป็นมาตรฐานต่ำสุด) 2. ใช้ดัชนีชี้วัด+เกณฑ์ของ 2. ใช้ดัชนีชี้วัด+เกณฑ์ของสมศ. สกอ 23 ตัวชี้วัด+ดัชนีชี้วัดของสถาบัน 18 ตัวชี้วัด (+กพร+องค์กรวิชาชีพ) 3. เพื่อพัฒนา-ให้สูงกว่าเดิม3. เพื่อรับรอง-กำกับไม่ให้ต่ำกว่านี้ 4. ทุก 1 ปี 4. ทุก 5 ปี 5. โดยองค์กรภายในหรือต้นสังกัด5. โดย องค์กรภายนอก :- สมศ

  12. รูปแบบและวิธีการดำเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรูปแบบและวิธีการดำเนินการประเมินคุณภาพภายนอก • เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา • ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม โปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง • เน้นเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตร • มีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและพัฒนาการจัดการศึกษาจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง • สร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของชาติตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แต่สามารถกำหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถาบันและผู้เรียน • ให้ความอิสระในเอกลักษณ์ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายของสถาบัน

  13. ขั้นตอนรอรับการประเมินขั้นตอนรอรับการประเมิน 1. ขั้นเตรียมการ 2. ขั้นการหาหลักฐานและยืนยันหลักฐาน 3.ขั้นสรุปข้อมูลและตัดสินผลตามเกณฑ์ 4. ขั้นการเขียนรายงาน(SAR) 5. ขั้นส่งรายงานผล SAR และและรอรับการประเมิน

  14. คุณภาพบัณฑิต • Head(knowledge) • Hand(skill) • Heart(mind/ethics) • Health • Happiness(work/employ)

  15. คุณภาพเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าผู้บริหารขององค์กร ไม่ตั้งใจและไม่เข้าใจและไม่สู่ปฏิบัติ ถ้าปราศจากความร่วมมือ - จากทุกคนในองค์กร - จากทุกระดับ / หน่วยงาน

  16. วัตถุประสงค์การประเมิน คุณภาพการศึกษาภายนอก

  17. ตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก(รอบสาม)ตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก(รอบสาม) • กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 15 ตัว • กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 2(3) ตัว • กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 1(2) ตัว รวม 18 (20) ตัว • ระดับคณะตัวบ่งชี้ที่ 12 ไม่ต้องประเมิน

  18. ข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณาข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณา 1.ตัวบ่งชี้ระดับคณะมีน้อยกว่า ระดับสถาบัน (18 (20) ตัวบ่งชี้) -ตัวบ่งชี้ที่ 12 คณะไม่ต้องประเมิน -ตัวบ่งชี้ที่ 16,17, 18 คณะจะประเมินร่วมหรือแยกกับสถาบันก็ได้ 2. ข้อมูลตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ ให้ใช้ผลดำเนินการ 3 ปีเฉลี่ยหรือ1ปีก็ได้ เฉพาะปี 2553 ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้ผลการดำเนินการ 1 ปี ก่อนปีที่ประเมิน เช่นประเมินปี 2554 ให้ใช้ข้อมูลปี 2553 3. ประเมินระดับสถาบัน และประเมินคณะ/ศูนย์นอกที่ตั้ง

  19. ข้อมูลที่ต้องการตังบ่งชี้ที่ 1 • จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จ • จำนวนแบบสอบถามที่แจก(อย่างน้อยร้อยละ 70) • จำนวนแบบสอบถาที่ตอบกลับ • จำนวนบัณฑิตที่หักศึกาต่อ/มีงานทำก่อน/บวช/เกณฑ์ทหาร • จำนวนบัณฑิตที่ไม่มีงานทำ • ของแต่ละคณะและรวมเฉลี่ยเป็นของสถาบัน

  20. ตัวบ่งชี้ที่ 1 • ปี 2554 สถาบัน ดำเนินการเอง • สำรวจบัณฑิต อย่างน้อยร้อยละ 70 แยกคณะ • จำนวนบัณฑิตไม่นับรวม บัณฑิตที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา ผู้อุปสมบท ลาศึกษาต่อ ผู้ถูกเกณฑ์ทหาร ให้หักทั้งตัวตั้งตัวหาร • ใช้ข้อมูล 3 ปีหรือ 1 ปีก็ได้

  21. ตัวบ่งชี้ที่ 2 • ปี 2554 ให้สถาบันทำข้อมูลเอง โดยใช้แนว แบบสำรวจ ที่ สมศ. จัดทำขึ้น ให้ ใช้ ปีเดียว • ทำแล้วแบบสำรวจนี้ตอบได้ทั้งตัวบ่งชี้ ที่ 2 และ ที่ 16.2 • สอบถามจากผู้ใช้บัณฑิต ป. ตรี-โท-เอก • ข้อมูลที่ใช้ อย่างน้อยร้อยละ 20 ของบัณฑิต ในแต่ละระดับ • ข้อมูลแต่ละคณะรวมเป็นของมหาวิทยาลัย

  22. ตัวบ่งชี้ที่ 3 • ใช้ข้อมูล 3 ปีหรือ 1 ปีได้ • ต้องมีจำนวน บัณฑิต ป. โท ที่จบแต่ละปีของแต่ละคณะรวมเป็นของมหาวิทยาลัย • มีชื่อบัณฑิต ชื่อผลงาน ชื่อวารสาร • เกณฑ์ กำหนดให้ร้อยละ 25 เท่ากับ 5

  23. ตัวบ่งชี้ที่ 4 • ใช้ข้อมูล 3 ปีหรือ 1 ปีได้ • ต้องมีจำนวน บัณฑิต ป. เอก ที่จบแต่ละปี แต่ละคณะรวมเป็นของมหาวิทยาลัย • มีชื่อบัณฑิต ชื่อผลงาน ชื่อวารสาร เกณฑ์ ร้อยละ 50 เท่ากับ 5 คะแนน

  24. ปีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลปีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล • ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ใช้ข้อมูลตามปีปฏิทิน ใช้ข้อมูล 3 ปีหรือ 1 ปีได้)

  25. ตัวบ่งชี้ที่ 5 • จำนวนอาจารย์ประจำรวมศึกษาต่อ • จำนวนนักวิจัย(ถ้ามี) • ระดับแต่ละคณะ งานวิจัยแยก-สาขาวิทยสุขภาพ/วิทย์ เทดโนโลยี/เกณฑ์ ร้อยละ 20 ส่วนมนุษ์สังคม ร้อยละ 10 • ระดับสถาบันนำแต่ละคณะมารวมเฉลี่ย

  26. ตัวบ่งชี้ที่ 6 • จำนวนอาจารย์ประจำรวมศึกษาต่อ • จำนวนนักวิจัย(ถ้ามี) • ระดับแต่ละคณะ จำนวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์โดยหน่วยงานภายนอก เกณฑ์ร้อยละ 20 • ระดับสถาบันนำแต่ละคณะมารวมเฉลี่ย

  27. ปีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลปีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล • ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • ตัวบ่งชี้ที่ 6 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ • ตัวบ่งชี้ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ • จำนวนอาจารย์ประจำให้รวมศึกษาต่อ (ใช้ข้อมูลตามปีปฏิทิน และใช้ผลดำเนินการ 3 ปีหรือ 1 ปีได้)

More Related