1.86k likes | 3.67k Views
ทฤษฎีการตัดสินใจ. โดย อ . ดร . เทอดธิดา ทิพย์รัตน์ สาขาบริหารการก่อสร้าง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. การตัดสินใจและการตัดสินใจ. การตัดสินใจ (Decision Making) คือ
E N D
ทฤษฎีการตัดสินใจ โดย อ.ดร.เทอดธิดา ทิพย์รัตน์สาขาบริหารการก่อสร้างภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การตัดสินใจและการตัดสินใจการตัดสินใจและการตัดสินใจ • การตัดสินใจ (Decision Making) คือ กระบวนการคัดเลือกแนวทางปฏิบัติจากทางเลือกต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ (เป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหา) • ลักษณะของการตัดสินใจ • สามารถทำได้โดยลำพัง หรือร่วมกันตัดสินใจเป็นกลุ่มได้ • การตัดสินใจอาจมีวัตถุประสงค์ของการตัดสินใจหลายประการที่ขัดแย้งกัน • มีแนวทางประกอบการพิจารณาตัดสินใจหลายทางเลือก • ผลของการตัดสินใจในปัจจุบัน จะใช้เป็นข้อมูลประกอบการพยากรณ์เรื่องต่าง ๆ ทางธุรกิจได้เป็นอย่างดี • เป็นการตัดสินใจแบบ “ลองผิด-ลองถูก” เนื่องจากมีเงื่อนไขเดียวให้พิจารณา • ปัจจัยแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ลักษณะของปัญหาที่ต้องตัดสินใจลักษณะของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ • ปัญหาแบบมีโครงสร้าง (Structured Problem) การแก้ไขปัญหาชัดเจน แน่นอน หรือสามารถจำลองปัญหาได้ด้วยสูตรทางคณิตศาสตร์ (แบบจำลองทางคณิตศาสตร์) คือ ปัญหาที่ใช้ข้อมูลและระบบสารสนเทศประกอบการตัดสินใจ ตัวอย่าง:ปัญหาการกำหนดระดับสินค้าคงคลัง ระดับสินค้าคงคลัง = ปริมาณความต้องการสินค้าที่แน่นอน + ปริมาณการสั่งซื้อสินค้าที่ประหยัดที่สุด + ระดับสินค้าคงคลังที่มีปริมาณปลอดภัย + จุดสั่งซื้อสินค้า
ลักษณะของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ (ต่อ) • ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Problem) การแก้ปัญหาไม่ชัดเจน และแน่นอน คือ ข้อมูลและสารสนเทศไม่เพียงพอที่จะใช้ในการตัดสินใจ ต้องอาศัยประสบการณ์ในการตัดสินใจร่วมด้วย ตัวอย่าง:ปัญหาการเลือกประมูลงาน ผู้รับเหมาไม่สามารถทราบได้แน่นอนว่าโครงการที่ตัดสินใจเข้าร่วมประมูลไปนั้นจะให้ผลตอบแทนสูงสุดได้หรือไม่ เมื่อถึงเวลาเสร็จสินโครงการ
ลักษณะของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ (ต่อ) • ปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured Problem) ปัญหามีลักษณะเฉพาะ ส่วนมากจะเกิดไม่ซ้ำและไม่มีกระบวนการดำเนินการมาตราฐาน หรือสามารถแก้ไขปัญหาได้เพียงบางส่วน ต้องอาศัยประสบการณ์ กับเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่าง:ปัญหาระดับสินค้าคงคลัง ผู้ตัดสินใจไม่สามารถทราบปริมาณความต้องการสินค้าที่แน่นอนได้ ก็จะไม่สามารถหาผลลัพธ์ที่แน่นอนได้อย่างถูกต้อง ต้องอาศัยประสบการณ์ในการคาดการณ์ปริมาณความต้องการในอนาคต อาจใช้การจำลองสถานการณ์ด้วย simulation หรือ ระบบปัญญาประดิษฐ์(AI)เข้ามาช่วยในการตัดสินใจ
การตัดสินใจและการแก้ปัญหาการตัดสินใจและการแก้ปัญหา • กระบวนการตัดสินใจ (Decision Making Process) คือ การกำหนดขั้นตอนในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์ Intelligence Phase Decision Making Process Design Phase Problem Solving Process Choice Phase Implementation Phase Monitoring Phase
กระบวนการตัดสินใจ (Decision Making Process) • การใช้ความคิด (Intelligence Phase) การระบุปัญหา • การออกแบบ (Design Phase) ขั้นตอนการสร้างและวิเคราะห์ทางเลือกในการตัดสินใจ ประกอบด้วย -Model (แบบจำลอง) -Decision Tree (แผนภาพการตัดสินใจแบบต้นไม้) - Decision Table (ตารางการตัดสินใจ) • การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด (Choice Phase) ขั้นตอนของการค้นหาและประเมินทางเลือกต่าง ๆ ที่ได้จากขั้นตอนการออกแบบ และคัดเหลือกให้เหลือเพียงทางเลือกเดียว
กระบวนการตัดสินใจ (Decision Making Process) • การนำไปใช้ (Implementation Phase) ขั้นตอนการนำทางเลือกที่ได้จาก Choice Phase มาใช้งานเพื่อแก้ไขปัญหา ซึ่งอาจประสบความสำเร็จ หรือล้มเหลวก็ได้ • การติดตามผล (Monitoring Phase) ขั้นตอนที่ประเมินผลหลังจาก Implementation Phase หากผลลัพธ์ที่ได้ไม่เป็นที่น่าพอใจ ต้องพิจารณาถึงสาเหตุว่าเกิดจากขั้นตอนใด หรือขาดสารสนเทศส่วนใด เพื่อนำมาปรับปรุงการตัดสินใจแก้ปัญหาอีกครั้ง
1. Structured 2. Unstructured 3. Semi-Structured 1. Strategic 2. Management Control 3. Operational 1. Personal 2. Group ประเภทของการตัดสินใจ ประเภทของการตัดสินใจ จำนวนผู้ตัดสินใจ โครงสร้างของปัญหา การบริหารงานในองค์กร
ประเภทการตัดสินใจจำแนกตามจำนวนผู้ตัดสินใจประเภทการตัดสินใจจำแนกตามจำนวนผู้ตัดสินใจ • การตัดสินใจส่วนบุคคล (Personal Decision) เป็นการตัดสินใจปัญหาที่มีความซับซ้อนไม่มากนัก ผู้ตัดสินใจจำเป็นต้องมีประสบการณ์และความสามารถในการแก้ปัญหาเป็นอย่างดี • การตัดสินใจแบบกลุ่ม(Group Decision) เป็นการระดมสมอง (Brainstorming) ทำให้การตัดสินใจมีประสิทธิภาพ และใช้เวลามากกว่า การตัดสินใจส่วนบุคคล
ประเภทการตัดสินใจจำแนกตามโครงสร้างของปัญหาประเภทการตัดสินใจจำแนกตามโครงสร้างของปัญหา • การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (Structured Decision) มีขั้นตอนการตัดสินใจไว้เป็นอย่างดี และใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นประจำ โดยวิธีการมาตรฐาน • การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Decision) มีขั้นตอนการตัดสินใจที่อาศัยประสบการณ์ และใช้กับปัญหาที่มีลักษณะคลุมเครือซับซ้อน และเป็นปัญหาที่ไม่เคยทำการแก้ไขมาก่อน • การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structure Decision) มีขั้นตอนการตัดสินใจแบบมาตรฐานสำหรับปัญหามีโครงสร้าง และประสบการณ์สำหรับการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง
Top Middle Management Lower Management ประเภทการตัดสินใจจำแนกตามระดับการจัดการในองค์กร Strategic Decision Tactical Decision Operational Decision
ประเภทการตัดสินใจจำแนกตามระดับการจัดการในองค์กรประเภทการตัดสินใจจำแนกตามระดับการจัดการในองค์กร • การตัดสินใจระดับกลยุทธ์ (Strategic Decision) การตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง ในระดับนโยบาย เกี่ยวข้องกับการดำเนินการขององค์กรในระยะยาว เช่น การตัดสินใจจัดห้องอาหารสำหรับพนักงาน • การตัดสินใจเพื่อควบคุมการบริหาร (Management Control Decision) การตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง ในระดับเทคนิค หรือ “Tactical Decision”เป็นการตัดสินใจระดับกลยุทธ์ระยะเริ่มต้น เช่น การจัดประเภทของอาหารเป็น 3 ประเภท • การตัดสินใจระดับปฏิบัติการ (Operational Decision) การตัดสินใจของผู้บริหารระดับล่าง เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานต่าง ๆ เช่นการจัดรายการอาหารให้เป็น 3 ประเภท ตามการตัดสินใจระดับเทคนิค
สภาพการณ์ในการตัดสินใจสภาพการณ์ในการตัดสินใจ • สภาพการณ์ที่แน่นอน (Certainty Condition ) เป็นการตัดสินใจที่ผู้ตัดสินใจมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจอย่างครบถ้วน ทำให้สามารถทราบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน มักเกิดกับปัญหาแบบ Structured • สภาพการณ์ที่มีความเสี่ยง (Risk Condition ) เป็นการตัดสินใจที่ผู้ตัดสินใจมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจเพียงบางส่วนเท่านั้น ทำให้ไม่สามารถทราบทางเลือกและผลลัพธ์ของปัญหาได้อย่างชัดเจน ทำได้เพียงประมาณการ(ความน่าจะเป็น) • สภาพการที่ไม่แน่นอน (Uncertainty Condition ) เป็นการตัดสินใจที่ผู้ตัดสินใจไม่มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ทำให้ไม่สามารถทราบได้ถึงโอกาส (ความน่าจะเป็น) ซึ่งทำให้เกิดความเสี่ยง และไม่สามารถประเมินความเสี่ยงได้
สาเหตุ การนำระบบสารสนเทศมาใช้สนับสนุนการตัดสินใจมาใช้ • จำนวนทางเลือกที่ใช้แก้ปัญหามีมาก • ระยะเวลาที่จำกัด • สถานการณ์ที่มีความผันผวน หรือไม่มีความแน่นอน
Top Management Middle Management Lower Management ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ Decision Support System Executive Information System Management Information System Transaction Processing System Office Automation System Generic Management Expert System
การสร้างแขนงการตัดสินใจการสร้างแขนงการตัดสินใจ 1. สร้าง - เป็นการกำหนดจุดตัดสินใจจุดแรก • จุดเริ่มต้นการลากเส้นทางเลือก • เริ่มจากซ้ายมือไปสิ้นสุดทางขวามือ
2. แต่ละทางเลือก (ปลายทาง) สร้าง ของแต่ละทางที่เป็นไปได้ เป็นจุดตัดสินใจในขั้นที่ 2 ของแต่ละสภาพการณ์ 3. สร้าง
จุดตัดสินใจแรก จุดตัดสินใจที่ 2 • A box is used to show a choice that the manager has to make. • A circle is used to show that a probability outcome will occur. • Lines connect outcomes to their choice or probability outcome.
แขนงการตัดสินใจ C11 เหตุการณ์ 1 เหตุการณ์ 2 ทางเลือก 1 C12 ทางเลือก 2 C21 เหตุการณ์ 1 เหตุการณ์ 2 C22
โอกาสที่เศรษฐกิจจะดี 40 % Profit = 6M ขยายขนาดของ DC Cost = 1.5 M โอกาสที่เศรษฐกิจจะไม่ดี 60 % Profit = 2M โอกาสที่เศรษฐกิจจะดี 40 % Profit = 3M ไม่ขยายขนาดของ DC Cost = 0 โอกาสที่เศรษฐกิจจะไม่ดี 60 % Profit = 1M .4 .6 .4 .6 NPVExpand = (.4(6) + .6(2)) – 1.5 = 2.1M NPVNo Expand = .4(3) + .6(1) = 1.8M 2.1 > 1.8, ควรขยายขนาดของ DC NPV = Net Present Value
การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยงการตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง โดยวิธีมูลค่าคาดคะเนทางการเงิน (Expected Monetary Value : EMV) โดยวิธีทางเลือกหลายขั้นตอน (Decision Tree)
การวิเคราะห์ EMV ทำตารางแสดงผลทางเศรษฐกิจของแต่ละทางเลือก (Action) และสภาพการณ์ที่เป็นไปได้ (Pay off table) หา EMV • เปรียบเทียบ EMV (เลือกค่าสูงสุด)
ตัวอย่างที่ 1 ผู้รับเหมาก่อสร้างบ้านดำเนินกิจการเกี่ยวกับการก่อสร้างบ้านเดี่ยว จำหน่ายแต่ละเดือน ต้นทุน หลังละ 4 ล้านบ้าน จำหน่าย หลังละ 5 ล้านบาท
การจำหน่าย มักเกิดปัญหา บ้านสร้างมาเหลือมากเกิน หรือ ไม่เพียงพอ ถ้าไม่สามารถขายบ้านได้จะลดราคาลงเหลือหลังละ 2 ล้านบาท จงวิเคราะห์โดยหา EMVเพื่อแนะนำผู้รับเหมา
ตารางสถิติการจำหน่ายบ้าน 100 เดือน
เทคนิคการสร้างตารางผลตอบแทน EMV หาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในแนวเส้นทแยง หาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในแนวเหนือเส้นทแยง หาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในแนวใต้เส้นทแยง (ลอกตัวเลข)
การหาตารางผลตอบแทน กำไร = ขายได้ - ต้นทุน กำไร = (ขายได้ - ต้นทุน) + ราคาลด จำหน่าย
1 กำไร = ขายได้ - ต้นทุน กรณีสร้าง 100 หลัง ขาย 100 หลัง = (100x5)-(100x4) = 500-400 =100 ล้านบาท
1 100
1 กำไร = ขายได้ - ต้นทุน กรณีสร้าง 120 หลัง ขาย 120 หลัง = (120x5)-(120x4) = 600-480 =120 ล้านบาท
1 100
1 100
2 100
2 กำไร = (ขายได้ - ต้นทุน) + คืนเลหลัง กรณีทำ1200 หลัง ขายได้100 หลัง เหลือ 20 หลัง = [(100 x 5) - (120x 4)] + (20 x 2) = [500 – 480] + 40 = 60 ล้านบาท
2 100
3 กำไร = ขายได้ - ต้นทุน
3 100
ตารางหาค่าคาดคะเน (EMV) - มูลค่าคาดคะเนทางการเงิน - Expected Monetary Value
= (10/100) 0.1 = (40/100) 0.4 0.3 0.2
=100*0.1 =10 =100*0.4 = 40 =100*0.3 = 30 =100*0.2 = 20 100
= 60*0.1 = 6 =120*0.4 = 48 =120*0.3 = 36 =120*0.2 = 24 114
= 20*0.1 = 2 = 80*0.4 = 32 =140*0.3 = 42 =140*0.2 = 28 104
= -20*0.1 = -20 = 40*0.4 = 160 =100*0.3 = 300 =160*0.2 = 320 76
เปรียบเทียบค่า EMV เลือกทางเลือกในการมียอดสั่งซื้อบ้าน120 หลัง - ได้ค่า EMV มากสุด = 114 * มูลค่าการคาดคะเนทางการเงิน
1. ถ้าสั่งสินค้ามา 100 หลัง ค่าคาดคะเนกำไร (EMV) = 100 บาท 2. ถ้าสั่งสินค้ามา 120 หลัง ค่าคาดคะเนกำไร (EMV) = 114 * บาท
3. ถ้าสั่งสินค้ามา 140 หลัง ค่าคาดคะเนกำไร (EMV) = 104 บาท 4. ถ้าสั่งสินค้ามา 160 หลัง ค่าคาดคะเนกำไร (EMV) = 76 บาท
5. ในการสร้างบ้าน ควรเลือกสร้าง ประมาณ 120 หลัง - ดีที่สุด