1 / 52

การสาธารณสุข Public Health

การสาธารณสุข Public Health. การสาธารณสุข หมายถึง วิทยาการและศิลปะแห่งการป้องกันโรค การทำให้คนเรามีอายุยืนยาว การยกระดับสภาวะอนามัย และประสิทธิภาพของบุคคล. สุขภาพ หมายถึงอะไร ?. สุขภาพ ( Health ) หมายถึง ภาวะความสมบูรณ์ของ ร่างกาย และ จิตใจ ตลอดจนการมีสังคม. Health. ความสมบูรณ์ของร่างกาย

tavi
Download Presentation

การสาธารณสุข Public Health

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสาธารณสุขPublic Health

  2. การสาธารณสุขหมายถึง วิทยาการและศิลปะแห่งการป้องกันโรคการทำให้คนเรามีอายุยืนยาว การยกระดับสภาวะอนามัย และประสิทธิภาพของบุคคล

  3. สุขภาพ หมายถึงอะไร ?

  4. สุขภาพ ( Health ) หมายถึงภาวะความสมบูรณ์ของร่างกาย และ จิตใจ ตลอดจนการมีสังคม

  5. Health • ความสมบูรณ์ของร่างกาย • ความสมบูรณ์ของจิตใจ • การดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ

  6. ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพ • กรรมพันธุ์ • สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ • สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ • สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ • สิ่งแวดล้อมทางการศึกษา • สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม • การบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข

  7. Folk Medicine การแพทย์พื้นบ้าน Ethno Medicine การแพทย์ชาติพันธ์ Traditional Medicine การแพทย์แผนเดิม Thai Traditional Medicine การแพทย์แผนไทย

  8. การดูแลสุขภาพก่อนสมัยสุโขทัยการดูแลสุขภาพก่อนสมัยสุโขทัย พบเมล็ดสมุนไพร อายุ 8500-13000 ปี การสร้างอโรคยาศาล การค้นพบศิลาจารึก พระเจ้าชัยวรมันที่ 7

  9. สมัยสุโขทัย(พ.ศ.1763-1920) การค้นพบศิราจารึกพ่อขุนรามคำแหง บันทึกการสร้างสวนสมุนไพร รูปจารึกเกี่ยวกับการนวด หมอเชลยศักดิ์ หมอหลวง หมอราชสำนัก

  10. สมัยกรุงศรีอยุธยา(พ.ศ.1893-2310)สมัยกรุงศรีอยุธยา(พ.ศ.1893-2310) ชาวโปรตุเกสนำเอาการแพทย์ตะวันตกเข้ามา การจัดตั้งโรงพยาบาลของฝรั่งเศส การรวบรวมตำรับยาไทย “ ตำราโอสถพระนารายณ์” การแพทย์ที่เคยรุ่งเรืองก็ถูกทำลาย ในปี พ.ศ. 2310

  11. สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2311-2325) ไม่พบหลักฐานข้อมูล

  12. สมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่1 รูปหล่อสังกะสีผสมดีบุก ฤาษีดัดตน 80 ท่า ภาพการนวดบนแผ่นหินอ่อน 60 ภาพ รัชกาลที่ 2 ตำราพระโอสถครั้งรชกาลที่ 2

  13. รัชกาลที่3 หมอแดน บีช บรัดเลย์(อเมริกัน) การปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษ การใช้ยาควินิน ตำราสูติศาสตร์ “คัมภีร์ครรภ์รักษา “

  14. รัชกาลที่ 4 การแพทย์แผนตะวันตก มีบทบาทมาก ทำไม?

  15. รัชกาลที่5 ยุคทองของการแพทย์แผนไทยและแผนตะวันตก เปิดโรงพยาบาลศิริราช 26 เมษายน 2431 จัดตั้งกรมพยาบาล จัดตั้งโรงเรียนราชแพทยาลัย Royal College of Physicians จัดพิมพ์ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1-4 ( พ.ศ.2438) จัดตั้งโอสถศาลา สุขศาลาชนบท ปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษทุกจังหวัด

  16. รัชกาลที่6 พ.ศ.2461 จัดตั้งกรมสาธารณสุข พ.ศ.2464 มูลนิธิรอคกี้เฟลเลอร์ เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาแพทย์แผนตะวันตก พ.ศ.2466 ยกเลิก การบริการ และ การเรียน แพทย์แผนไทย พรบ.การประกอบโรคศิลปะ ทำให้หมอพื้นบ้านเลิกประกอบอาชีพ

  17. รัชกาลที่ 7 มีกฎหมายเสนาบดี แบ่งแยก การแพทย์แผนปัจจุบัน และแผนโบราณ โดยระบุในกฎหมายว่า ไม่ได้เป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์

  18. รัชกาลที่ 8 พ.ศ.2479 ออก พรบ.ควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2484 ยกเลิกการผลิตยาแผนไทย 7 มีนาคม พ.ศ.2485 จัดตั้งกระทรวงสาธารณสุข

  19. พ.ศ. 2489 - ปัจจุบัน

  20. Primary Health Care การสาธารณสุขมูลฐาน

  21. การประชุมที่ Ama Ata ประเทศรัสเซีย 6-12 กันยายน 2521

  22. Health for all by the year 2000

  23. 1. ที่ประชุมยืนยันอย่างมั่นคงเรื่องการมีสุขภาพดีตามคำจำกัดความที่องค์การอนามัยโลกกำหนดไว้ ว่าหมายถึงความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม มิได้หมายความแต่เพียงปราศจากโรค หรือความเจ็บป่วยเท่านั้นพึงถือว่าการมีสุขภาพดีเป็นสิทธิมนุษยชน

  24. 2. ความเสมอภาคในเรื่องสุขภาพอนามัยของประชาชน

  25. 3. การจัดระเบียบทางด้านเศรษฐกิจในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมต้องอาศัยหลักการของการจัดระเบียบใหม่ทางด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ซึ่งถือว่าเป็นพื้นฐานอันสำคัญยิ่งต่อการบรรลุเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้า

  26. 4. ความร่วมมือของประชาชนในการจัดระบบบริการสุขภาพ ประชาชนทุกคนมีสิทธิและหน้าที่ที่จะต้องให้ความร่วมมือทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ในการวางแผนและดำเนินการจัดระบบบริการสุขภาพอนามัยเพื่อกลุ่มของตนและเพื่อตนเอง

  27. 5. รัฐบาลมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ซึ่งจะบังเกิดผลสมบูรณ์ได้ก็ด้วยการวางมาตรการในการจัดบริการด้านสาธารณสุขและบริการทางสังคมเท่านั้น

  28. 6. การสาธารณสุขมูลฐานถือเป็นภารกิจหลักของระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ การสาธารณสุขมูลฐาน คือ บริการสุขภาพอนามัยอันจำเป็นแก่การดำรงชีวิตของมนุษย์ ที่ใช้วิธีการและเทคโนโลยีตามหลักวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับของสังคม บริการนี้จะต้องจัดให้อย่างเสมอหน้ากันแก่ตัวบุคคล ครอบครัวและชุมชน

  29. 7. คุณลักษณะของการสาธารณสุขมูลฐาน การสาธารณสุขมูลฐานจะต้องมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 7.1 สะท้อนให้เห็นถึงความเกี่ยวเนื่องกับสภาพเศรษฐกิจ และลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมทางสังคมและการเมืองของประเทศ 7.2 เริ่มต้นด้วยการวินิจฉัยปัญหาสำคัญทางสุขภาพอนามัยของชุมชน

  30. 7.3 ประกอบด้วยบริการที่เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ อย่างน้อยที่สุดคือ บริการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับปัญหาและสาเหตุแห่งปัญหาของสุขภาพอนามัย ความรู้ในการควบคุมป้องกันปัญหาเหล่านั้น

  31. 7.4 มีการประสานงานกับสาขาวิชาการทุกสาขาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

  32. 7.5 แสวงหาและส่งเสริมการพึ่งพาตนเองให้มากที่สุดทั้งในระดับบุคคลและชุมชน 7.6 ธำรงไว้ให้คงอยู่อย่างถาวรด้วยระบบบริการแบบผสมผสาน และให้มีระบบการส่งต่อแบบถ้อยทีถ้อยอาศัยกันกับสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ

  33. 7.7 อาศัยความร่วมมือของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับ ทั้งแพทย์ พยาบาล ผดุงครรภ์ และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ รวมทั้งอาสาสมัครในชุมชนด้วย

  34. 8. ทุกรัฐบาลควรกำหนดนโยบาย ยุทธวิธี และวางแผนดำเนินงาน เพื่อพัฒนาและทำนุบำรุงการสาธารณสุขมูลฐาน ให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบบริการสาธารณสุขแห่งชาติที่สมบูรณ์แบบ

  35. 9. ทุกประเทศควรจะแสวงหาความร่วมมือซึ่งกันและกัน ด้วยความสำนึกในการมีส่วนร่วมและเกื้อกูลแก่กันให้เกิดบริการสาธารณสุขมูลฐานแก่ประชากรของโลก

  36. 10. ทุกประเทศควรใช้ทรัพยากรของโลกอย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ ภาวะสุขภาพดีถ้วนหน้าของประชากรโลกภายใน พ.ศ. 2543 จะบรรลุถึงได้ก็ด้วยการใช้ทรัพยากรของโลกให้เป็นไปอย่างสมบูรณ์และดีขึ้นกว่าแต่ก่อน

  37. แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พศ.2550 – พศ. 2554

  38. สถานการณ์ และ แนวโน้มปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ พศ. 2548 – พศ. 2550

  39. 1. สถานการณ์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ • 2. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการศึกษา • 3. สถานการณ์และแนวโน้มด้านประชากร ครอบครัว และการอพยพย้ายถิ่น • 4. คุณภาพชีวิตของคนไทย • 5. สถานการณ์และแนวโน้มด้านสภาพแวดล้อมในการดำรงชีวิต • 6. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการเมืองและการปกครอง • 7. สถานการณ์และแนวโน้มด้านเทคโนโลยี • 8. พฤติกรรมสุขภาพ

  40. พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550

  41. สำนักงาน คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ( สช ) http://www.nationalhealth.or.th

  42. สำนักงาน กองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ( สสส ) http://www.thaihealth.or.th

More Related