1 / 24

การดำเนินงาน OSCC 1300 ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

,. การดำเนินงาน OSCC 1300 ศูนย์ช่วยเหลือสังคม. แนวคิดการให้บริการประชาชนผู้ประสบปัญหาทางสังคม ในลักษณะ บูรณา แบบเบ็ดเสร็จ ได้แก่ การบริการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ สะดวกและรวดเร็ว 4 กลุ่มปัญหาหลัก ได้แก่. 1. การตั้งครรภ์ ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส)  กระทรวงสาธารณสุข

tamika
Download Presentation

การดำเนินงาน OSCC 1300 ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. , การดำเนินงาน OSCC 1300 ศูนย์ช่วยเหลือสังคม แนวคิดการให้บริการประชาชนผู้ประสบปัญหาทางสังคม ในลักษณะบูรณาแบบเบ็ดเสร็จ ได้แก่ การบริการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ สะดวกและรวดเร็ว 4 กลุ่มปัญหาหลัก ได้แก่ 1. การตั้งครรภ์ ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) กระทรวงสาธารณสุข 2. การค้ามนุษย์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3. แรงงานเด็ก กระทรวงแรงงาน 4. การกระทำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ผู้สูงอายุ คนพิการ มั่นคงของมนุษย์ เจ้าภาพหลัก

  2. หน่วยรับเรื่อง และคัดกรองเบื้องต้น (Front Line) บ้านพักเด็กและครอบครัว แจ้งเหตุ 4 กลุ่มปัญหา ได้แก่ 1.การตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) 2. การค้ามนุษย์ 3. การใช้แรงงานเด็ก 4. การใช้ความรุนแรง ต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ

  3. การให้บริการสายด่วน และการเชื่อมโยงบริการ(Call Center) กด 2 กด 1 กด 3 4 กลุ่มปัญหา ได้แก่ 1.การตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) 2. การค้ามนุษย์ 3. การใช้แรงงานเด็ก 4. การใช้ความรุนแรง ต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ โทรสายด่วน 1300 กด 4 กด 6 กด 5

  4. ระบบการติดตามการให้บริการ (Alarm) Front Line • Alarm 3 แห่ง ได้แก่ • ระบบกลาง • ผู้บริหารกระทรวง (เฉพาะงานของกระทรวง) • จังหวัด (เฉพาะเขตพื้นที่) จังหวัด ผู้บริหารกระทรวง ระบบกลาง • Alarm 2 รูปแบบ • ไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ เกินกว่า 24 ชั่วโมง • กระบวนการให้บริการเกินกรอบเวลาที่กำหนด

  5. ขั้นตอนการช่วยเหลือเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ ของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300 เชื่อมโยงการให้บริการ โดยระบบสารสนเทศ ผู้เสียหาย/ ผู้พบเห็นเหตุการณ์ แจ้งเบาะแส ช่องทางการรับ แจ้งเหตุ/ เบาะแส ประเด็นปัญหา หน่วยให้บริการ หน่วยติดตาม ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 1. แจ้งด้วยตนเอง ได้ที่หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องหรือมูลนิธิ/ องค์กรสาธารณประโยชน์ 2. โทรแจ้งเหตุและขอคำปรึกษาทางสายด่วน 1300 (ตลอด 24 ชม.) 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์ www.osccthailand.go.th ท้องไม่พร้อม โรงพยาบาล พมจ./ บ้านพักเด็กและครอบครัว พมจ./ บ้านพักเด็กและครอบครัว ค้ามนุษย์ สถานีตำรวจ ส่งต่อ หน่วยงาน ให้บริการ ตามประเด็น ปัญหา สำนักงานสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงานจังหวัด แรงงานเด็ก สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.)/ ศูนย์คุ้มครองสวัสดิ ภาพชุมชนเขต(เฉพาะในพื้นที่ กทม.) ความรุนแรงฯ ขอรับบริการหรือแจ้งเหตุได้สะดวก มีระบบการส่งต่อการให้บริการโดยไม่ขาดช่วง ติดตามตรวจสอบได้ ข้อมูลจะถูกเก็บรักษาเป็นความลับ

  6. ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีการตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) กรณีต้องการที่พักชั่วคราว (คลอดบุตรแล้วประสบปัญหา, ตั้งครรภ์หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์) 3 3 ตั้งครรภ์ – 1 ปี หลังคลอด 2 1 2 3 ตั้งครรภ์ 1.แจ้งด้วยตนเอง ภายใน 24 ชม. 2. โทร 1300 พิจารณาเลือกข้อเสนอ ประชุมทีมสหวิชาชีพ (ภายใน 5 วัน) วางแผนทางเลือก 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์ (1 วัน) หน่วยให้บริการ ติดตาม/ ประเมินผล ยุติการตั้งครรภ์ 4 พม. สามารถปิด Case ได้ในกรณีที่ผู้ประสบปัญหาสามารถกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข/ คืนสู่ครอบครัว สังคม บ้านพักเด็กและครอบครัว องค์กรเอกชน ฯลฯ ให้การดูแลเพื่อใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 5 ยุติการตั้งครรภ์ (กรณีเข้าเกณฑ์) 3 พม. 7

  7. ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 3 3 24 ชม. ผู้เสียหาย (คนไทย/ ไม่ใช่คนไทย) 1 2 3 กรณีคนไทยติดตามทุก 3 / 6 /12 เดือน 3 หน่วยให้บริการ 1.แจ้งด้วยตนเอง พามาที่บ้านพักเด็กและครอบครัวในกรณีที่ผู้เสียหายยังไม่พร้อมให้ปากคำ หรือยังไม่มีที่พัก ภายใน 24 ชม. คัดแยกผู้เสียหาย 4 อาจจะเป็นผู้เสียหาย 2. โทร 1300 ติดตาม/ ประเมินผล 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์ พม. คุ้มครองชั่วคราว 24 ชม. และขยายเวลาอีก 7 วัน สตช. 5 3 ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 24 ชม. รายงานความคืบหน้าทุก 10 วัน (นับจากวันรับเรื่อง) ไม่ใช่ผู้เสียหาย 3 พม. คนไทย 3 ส่ง พงส. ดำเนินการตาม กม. ที่เกี่ยวข้อง ไม่ใช่คนไทย 8

  8. ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีแรงงานเด็กขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีแรงงานเด็ก 3 2 3 คัดกรอง ประเมินสภาพปัญหา (กรณีแรงงานเด็กทั่วไป ระยะเวลาในการตรวจสอบข้อเท็จจริง จนออกคำสั่งให้นายจ้างปฏิบัติ ต้องดำเนินการภายใน 30 วัน / การใช้แรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวร้าย ดำเนินการทันที ) และคุ้มครองสวัสดิภาพโดยเร็วที่สุด รง. และทีมสหวิชาชีพ • การแพทย์ (สธ.) • การตรวจนิติเวช/ การให้การรักษา/บำบัดฟื้นฟูทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดยเร็วที่สุด (ไม่เกิน 7 วัน) 1 2 1.แจ้งด้วยตนเอง สอบ ข้อเท็จจริง ภายใน 24 ชม. 2. โทร 1300 • สังคม • ให้บริการสังคมสงเคราะห์ (พม.) • จัดหาที่พักชั่วคราว (พม.) • ให้การดูแลด้านการศึกษา (ศธ./ พม.) • ฝึกอาชีพ/ จัดหางาน (รง./ พม.) 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์ หน่วยให้บริการ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (รง.) สถานที่ที่เชื่อว่ามีการใช้ แรงงานเด็ก (โรงงาน ไร่นา บ้าน ฯลฯ) คนไทย/ ไม่ใช่คนไทย ภายใน 3 เดือน – 2 ปี ติดตาม/ ประเมินผล กรณีประสบปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อมร่วมด้วยให้เข้าสู่กระบวนการช่วยเหลือการตั้งครรภ์ ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) 4 พม. กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เรียกร้องค่าแรง/ดำเนินคดีกับนายจ้างผู้ใช้แรงงาน/ ควบคุมสถานประกอบการ / คุ้มครองสิทธิอื่นๆตามกฎหมาย/ ติดตามและตรวจสอบ สปก. ที่ใช้แรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวร้าย รง. สตช.ยธ. อัยการ 5 ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ • กรณีการค้ามนุษย์ เข้าสู่กระบวนการให้การช่วยเหลือ ผู้ตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ ตาม พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ พม. 9 ตั้งแต่ 7 วัน – 2 ปี

  9. ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และบุคคลในครอบครัว 3 1 2 3 การแพทย์ สธ. • - บำบัดรักษา • ฟื้นฟู เยียวยาร่างกายและจิตใจ พม. ส่งต่อ Case ไปรับบริการตามสภาพปัญหา 1.แจ้งด้วยตนเอง สังคม • - จัดหาที่พักชั่วคราว (พม.) • - ให้บริการสังคมสงเคราะห์ (พม.) • ดูแลด้านการศึกษา(ศธ./พม.) • ฝึกอาชีพ/ จัดหางาน (รง./ พม.) ภายใน 24 ชม. 2. โทร 1300 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์ หน่วยให้บริการ พมจ./ ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำ ความรุนแรงในครอบครัว ประสาน พนง.จนท.ตาม พ.ร.บ. ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สตช./ยธ./อัยการ/ พม. - เรียกร้องสิทธิ - คุ้มครองสวัสดิภาพผู้ถูกกระทำ - ดำเนินคดีผู้กระทำผิด 4 ติดตาม/ ประเมินผล พม. 2 3 3 5 ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ กรณีชาวต่างชาติถูกทำร้ายร่างกายหรือถูกล่วงละเมิด ทางเพศ พม. สตช. สถานทูต /สถานกงสุล (ประเทศผู้ประสบปัญหา) 10

  10. ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของงานปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของงาน ๔

  11. พัฒนาบุคลากร และระบบสนับสนุนแบบบูรณาการ ภายในกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กำหนดแบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบ (Zoning) ๕

  12. ขั้นตอนดำเนินงาน

  13. -กำหนดพื้นที่รับผิดชอบ-กำหนดพื้นที่รับผิดชอบ -จัดชุดปฏิบัติการฯ -กำหนดสถานที่รองรับเพิ่มเติมนอกเหนือจาก บ้านพักเด็กและครอบครัว ๗ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด จัดประชุม หน่วยงานในพื้นที่

  14. ผลดำเนินการ  พัฒนาสังคมและความมั่งคงของมนุษย์ จาก ๗๖ จังหวัด จัดประชุมและส่งข้อมูลแล้ว = จำนวน ๓๙ จังหวัด ๘ ปัจจุบัน

  15. กำหนดการจัดงานเปิดตัว OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม วันอังคารที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๖ ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล เวลา ๑๒.๐๐ – ๑๒.๓๐ น. เปิดลงทะเบียนหน่วยงานองค์กรเอกชนที่ร่วม ลงนามในบันทึกข้อตกลงฯ เวลา ๑๒.๓๐ - ๑๓.๐๐น. หน่วยงานองค์กรเอกชนร่วมลงนามในบันทึก ข้อตกลงฯ (MOU) เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๓.๓๐ น. แขกผู้มีเกียรติและสื่อมวลชน- ลงทะเบียน - รับของที่ระลึก - รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม - ชมนิทรรศการและกิจกรรมต่างๆ ภายในบริเวณงาน

  16. เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๓.๕๐ น. พิธีกรเรียนเชิญผู้เข้าร่วมงานพร้อมกัน ณ บริเวณพิธีเปิด เวลา ๑๔.๐๐ น. นายกรัฐมนตรี ประธาน เดินทางถึงบริเวณงาน เวลา ๑๔.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. - พิธีกรกล่าวต้อนรับ - ชมการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) ประกอบวีดีทัศน์ การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคมผ่าน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม - รัฐมนตรีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ กล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดงาน - พิธีกรเรียนเชิญนายกรัฐมนตรีกล่าวเปิดงานและมอบ นโยบายการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

  17. - นายกรัฐมนตรีกล่าวเปิดงานและมอบนโยบาย- นายกรัฐมนตรีเป็นประธานการลงนามในบันทึกข้อตกลง (MOU) การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ระหว่างกระทรวงและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง- พิธีกรเรียนเชิญนายกรัฐมนตรีถ่ายภาพร่วมกับผู้ลงนาม- นายกรัฐมนตรีชมนิทรรศการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม และ กิจกรรมภายในบริเวณงาน- นายกรัฐมนตรีทำการกดปุ่มปล่อยคาราวานรถ ๑๓๐๐ - พิธีกรปิดงานและกล่าวขอบคุณ หมายเห: โปรดแต่งกายชุดสุภาพ

  18. การมอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบการจัดงาน kick off เปิดตัว OSCC 1300 ศูนย์ช่วยเหลือสังคม วันที่ 9 เมษายน 2556 ณ ทำเนียบรัฐบาล ภารกิจ หน่วยงานที่รับผิดชอบ 1. การลงทะเบียนและแจกของที่ระลึกและ เอกสารสรุปความเป็นมาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม แก่ผู้เข้าร่วมงาน 2. การจัดทำเอกสารสรุปความเป็นมาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม เพื่อแจก แก่ผู้เข้าร่วมงานทั้งฉบับภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ 3. การบริการอาหารว่างและเครื่องดื่มแก่ ผู้บริหาร/หัวหน้าส่วนราชการ สนย. + พก. สนย. + กลุ่มวิเทศของแต่ละกรม พส. + Organizer

  19. ภารกิจ หน่วยงานที่รับผิดชอบ 4. การจัดเจ้าหน้าที่ประจำ boothนิทรรศการ แสดงกระบวนงานช่วยเหลือผู้ถูกกระทำความรุนแรงฯ 5. การนำผู้บริหาร/หัวหน้าส่วนราชการและผู้เข้าร่วมงานเข้าประจำที่นั่งในบริเวณพิธีเปิดงาน 6. การจัดเจ้าหน้าที่ประจำในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงตามจำนวนผู้เข้าร่วมลงนาม (12 คน) และการจัดทำร่างบันทึกข้อตกลง (MOU) ระหว่างหน่วยงาน มูลนิธิ องค์กรสาธารณประโยชน์ 7. การลงนามในบันทึกข้อตกลงขององค์กรภาคเอกชนที่สมัครใจเข้าร่วมการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สท. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พส. สค.

  20. ภารกิจ หน่วยงานที่รับผิดชอบ 8. การจัดทำกล่าวรายงานของ รมว.พม. และคำกล่าวเปิดของ นายกฯ 9.การจัดเตรียมรถ 1300 เข้าร่วมในพิธีปล่อยขบวนรถ จำนวน 30 คัน ขึ้นไป 10. ประสานสถานีโทรทัศน์ช่อง 11 เพื่อถ่ายทอดสด 11. การออกหนังสือเชิญ 12. ล่ามภาษามือ สนย. พส. กปส. สนย. เชิญทูต องค์กรระหว่างประเทศ :สท. พก.

  21. ภารกิจ หน่วยงานที่รับผิดชอบ 13. เสื้อ (T-Shirt 1,000 ตัว ,Jacket 100 ตัว) 14. ล่ามประจำ Booth 15. ตรวจสอบความถูกต้องของ TOR พส. กลุ่มวิเทศของแต่ละกรม สบก.

More Related