1 / 16

ทิศทางของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หลังจัดตั้ง กบช. ปี 2550

ทิศทางของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หลังจัดตั้ง กบช. ปี 2550. โดย คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง. โครงสร้างของระบบการออมเพื่อการชราภาพในปัจจุบัน. Mandatory. Voluntary. Pillar 1. Pillar 2. Pillar 3. กองทุนประกันสังคม

sun
Download Presentation

ทิศทางของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หลังจัดตั้ง กบช. ปี 2550

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหลังจัดตั้ง กบช. ปี 2550 โดย คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

  2. โครงสร้างของระบบการออมเพื่อการชราภาพในปัจจุบัน Mandatory Voluntary Pillar 1 Pillar 2 Pillar 3 กองทุนประกันสังคม (กรณีชราภาพ+สงเคราะห์บุตร) กองทุนบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม เพื่อการเลี้ยงชีพ • Pay as you go • ลูกจ้างเอกชน และ ลูกจ้างชั่วคราวราชการ • ลูกจ้าง+นายจ้าง จ่าย ฝ่ายละ 3% ของค่าจ้าง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท • รัฐบาลจ่าย 1% ของ ค่าจ้าง • Defined Contribution • ข้าราชการ • ข้าราชการ+รัฐบาล จ่าย ฝ่ายละ 3% ของ เงินเดือน • Defined Contribution • ลูกจ้างเอกชน ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ และ ลูกจ้างประจำราชการ • ลูกจ้าง+นายจ้าง จ่าย ฝ่ายละ 2-15% ของ ค่าจ้าง • ซื้อหน่วยลงทุน ไม่ต่ำกว่าปีละ 5,000 บาท หรือ 3% ของเงินได้ SSF GPF PVD RMF

  3. การปฏิรูประบบการออมเพื่อการชราภาพการปฏิรูประบบการออมเพื่อการชราภาพ

  4. การจัดตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติการจัดตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ • หลักการ • เพื่อให้ประเทศไทยมีระบบ Multi-Pillar • เหตุผลและความจำเป็น • แรงงานมีรายได้ที่เพียงพอหลังเกษียณ • ส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนให้เพิ่มสูงขึ้น • สวัสดิการเพื่อการชราภาพครอบคลุมแรงงานทั้งประเทศ • สร้างความยั่งยืนทางการเงินและการคลัง • สร้างเสถียรภาพและความยั่งยืนของตลาดทุนไทย

  5. การดำเนินการของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพการดำเนินการของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ วิวัฒนาการของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

  6. สถานะกองทุนสำรองเลี้ยงชีพจากอดีตสู่ปัจจุบันสถานะกองทุนสำรองเลี้ยงชีพจากอดีตสู่ปัจจุบัน 8.13% 6.31 % 17.36 % ล้านบาท 330,290 9.83 % 30 กันยายน 2548 จำนวนเงินกองทุน 330,290 ล้านบาท จำนวนกองทุน 555 กองทุน จำนวนนายจ้าง 6,977 ราย จำนวนสมาชิก 1,605,591 ราย 305,462 10.73 % 287,329 10.16 % 244,822 15.37 % 222,901 15.44 % 201,303 50.57 % 182,736 59.55 % 158,387 137,197 79.77 % 34.82 % 40.94 % 91,121 72.63 % 26.34 % 33.75 % 55,800 32.34 % 36.22 % 31.32 % 31,770 99.64 % 115.78 % 23,564 16,719 9,685 7,110 5,316 4,048 3,204 2,421 1,122 562 มูลค่ากองทุน (ล้านบาท)

  7. โครงสร้าง กบช. • Defined Contribution • ระบบบัญชีรายตัวสมาชิก • เลือกรูปแบบการลงทุนด้วยตนเองได้ • ครอบคลุมแรงงาน ~ 13ล้านคน • เบื้องต้นกำหนดการจ่ายเงินสะสม/สมทบ 3% ของค่าจ้าง • ไม่มีการกำหนดเพดานเงินเดือน • อายุเกษียณ 60 ปี • ภาษีแบบ EEE

  8. การบริหารจัดการและการกำกับดูแล กบช. • การกำกับดูแล • สำนักงานกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ • บริหารจัดการกองทุน • บริษัทจัดการลงทุน • การจัดเก็บเงิน • ธนาคารพาณิชย์หรือบริษัทจัดการลงทุน • การจัดทำฐานข้อมูล • จ้างหน่วยงานภายนอก

  9. การบริหารจัดการและการกำกับดูแล กบช. ผู้กำหนดนโยบาย คณะกรรมการนโยบายเงินออมเพื่อการชราภาพ สำนักงานประกันสังคม (สปค.) กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) สำนักงานกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ (กบช.) สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ผู้กำกับดูแล กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund : RMF) กบข. (P2) กองทุนชราภาพ (P1) กบช.+ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (P2+P3) กองทุน กระจายการบริหาร รวมศูนย์การบริหาร รวมศูนย์การบริหาร กระจายการบริหาร การจัดการกองทุน

  10. ผลที่ได้รับจากการจัดตั้งกองทุน กบช. • รายได้หลังเกษียณเพิ่มขึ้น • ปริมาณเงินออมในประเทศเพิ่มขึ้น • สร้างความยั่งยืนทางการคลัง • ส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุนในประเทศ

  11. ทิศทางของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหลังจัดตั้ง กบช. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น • ปริมาณเงินออมใหม่ผ่านกองทุน Pillar 3อาจมีอัตราการเติบโตช้าลง • ปริมาณเงินออมเดิมที่มีอยู่ในกองทุน Pillar 3อาจลดขนาดลงในระยะแรก :- • PVD ที่จ่าย ณ อัตรา 2 % ของค่าจ้าง อาจยกเลิกกองทุน PVD • PVD ที่จ่าย > 3 % ของค่าจ้าง จะโอนมา กบช. และยกเลิกกองทุน PVD ส่วนที่ > 3% ของค่าจ้าง

  12. แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. กรณีอนุญาตให้โอนเงิน PVD ไป กบช. เดิม ใหม่ ก. PVD 2% กบช. 3% จ่ายเพิ่ม 1% ข. PVD 2% กบช. 3% PVD 2% • จ่ายต่อในอัตราเดิม • จ่ายต่ำกว่าอัตราเดิม • หยุดจ่าย + ค. PVD  3% PVD ส่วนที่เหลือ • จ่ายต่อในอัตราเดิม • จ่ายต่ำกว่าอัตราเดิม • หยุดจ่าย กบช. 3% +

  13. แนวทางแก้ไขปัญหา (ต่อ) 2. กรณีอนุญาตให้ผู้ที่จัดตั้ง PVD ได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดตั้ง กบช. เดิม ใหม่ ก. PVD 2% PVD/กบช. 3% ห้ามยกเลิก ตั้งแต่วันที่กฎหมายประกาศบังคับใช้ จ่ายเพิ่ม 1% ข. ห้ามยกเลิกในส่วน 3% ตั้งแต่วันที่กฎหมายประกาศบังคับใช้ PVD  3% PVD/กบช.  3%

  14. แนวทางแก้ไขปัญหา (ต่อ) 3. กำหนดกรอบ TAX ที่แตกต่างกัน EET กบช. EEE PVD 4. โครงการสัมมนา & ประชาสัมพันธ์ทั่วประเทศ

  15. การส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพการส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • การดำเนินการแก้ไข พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพในปัจจุบัน • - การขอรับเงินรายงวดเมื่อเกษียณอายุ • - การรับรับโอนเงินจาก กบข. ได้ • - การเปิดโอกาสให้การจัดตั้งกองทุนมีหลายนโยบายการลงทุนได้ • การแก้ไข พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ.2530 เมื่อมีกองทุน กบช. • - ยกเลิกอัตราขั้นต่ำและเพดานขั้นสูงในการจ่ายเงินสะสมสมทบ • - สามารถจัดตั้งกองทุนขาเดียวได้ • - ให้สมาชิกสามารถย้ายเงินกองทุนได้เมื่อย้ายงาน และสามารถคงเงินไว้ในกองทุนได้เมื่อเกษียณอายุ เป็นต้น

  16. PVD กบช PVD ขอขอบคุณ

More Related