1 / 20

การสลับระหว่างหน้าต่างฟอร์มกับ Code Edit

การสลับระหว่างหน้าต่างฟอร์มกับ Code Edit. เลือก Toggle Form/Unit จากเมนู View หรือคลิกเลือก หรือกดคีย์ลัด F12. คีย์ลัด F1 ขอความช่วยเหลือ F7, F8 ใช้สำหรับตรวจสอบลำดับการทำงานของโปรแกรมเพื่อหาจุด ผิดพลาด F9 สั่งรันโปรแกรม

snowy
Download Presentation

การสลับระหว่างหน้าต่างฟอร์มกับ Code Edit

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสลับระหว่างหน้าต่างฟอร์มกับ Code Edit เลือก Toggle Form/Unit จากเมนู View หรือคลิกเลือก หรือกดคีย์ลัด F12 คีย์ลัด F1 ขอความช่วยเหลือ F7, F8 ใช้สำหรับตรวจสอบลำดับการทำงานของโปรแกรมเพื่อหาจุด ผิดพลาด F9 สั่งรันโปรแกรม F11 เปิดวินโดว์ของ Object Inspector เพื่อกำหนดค่าของ Object F12 สลับวินโดว์ระหว่าง Form Window กับ Editor Window เพื่อเขียน และออกแบบฟอร์ม

  2. การกำหนดภาษาไทยให้กับ Delphi 7 Editor Window สามารถป้อนภาษาไทยได้ โดยใช้เมนู ToolEditor Option…. แล้วคลิกแท็บ Display เลือก Editor Font เป็น FixedSys ตามรูป

  3. การเขียนคำอธิบายโปรแกรมการเขียนคำอธิบายโปรแกรม • ในการเขียนโปรแกรมไม่ว่าภาษาใดๆ จะมี Comment หรือคำอธิบายโปรแกรม เพราะเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญที่ผู้เขียนโปรแกรมจะเขียนเพิ่มเติม ลงในโปรแกรมเพื่อใส่คำอธิบายของสิ่งที่เขียนขึ้น โดยคำอธิบายนั้นไม่ถือเป็นคำสั่งในการทำงานใน Delphi7 มี 3 รูปแบบด้วยกันดังนี้ • ใช้ // หน้าข้อความ • ใช้ /* ... */ ครอบข้อความ • ใช้ {...} ครอบข้อความ • เช่น • abc := 555; // ให้ตัวแปร abcเก็บค่า 555 •         x :=10; /* ให้ตัวแปร x เก็บค่า 10 */ •         y :=10; { ให้ตัวแปร y เก็บค่า 10 }      

  4. ชนิดข้อมูล (Data Type) ชนิดข้อมูลใน Pascal มีมากมายหลายชนิดดังนั้นก่อนที่เราจะกำหนดว่าใช้ข้อมูลชนิดใดเราควรจะทราบขอบเขตของแต่ละชนิดข้อมูลก่อน ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะชนิดที่นิยมใช้

  5. การตั้งชื่อตัวแปร • ควรตั้งชื่อตัวแปรให้สื่อกับงานที่ใช้ เช่น name, cost แทนที่จะตั้งชื่อ a, b ซึ่งจะไม่ได้ความหมาย • ชื่อตัวแปรสามารถใช้ A–Z, a–z, 0–9 และเครื่องหมายขีดล่าง ( _ ) สำหรับตัวอักษรพิเศษไม่สามารถใช้ได้ เช่น @, % ฯลฯ • ห้ามเว้นวรรค • ห้ามใช้คำสงวน (reserved word) ซึ่งจะสังเกตได้ว่าถ้าเป็นคำสงวน เมื่อทำการเขียนโปรแกรมคำนั้นๆ จะเป็นตัวหนาและไม่ควรใช้ชื่อตรงกับชื่อที่มีอยู่ใน Delphi ที่ไม่เป็นคำสงวน เช่น Integer, real ซึ่งชื่อพวกนี้เมื่อทำการกำหนดจะไม่เกิด Error แต่จะทำให้สับสน • ชื่อตัวแปรสามารถมีความยาวตั้งแต่ 1 ถึง 63 ตัวอักษร • ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ พิมพ์เล็กถือว่าเหมือนกัน เช่น A3 กับ a3 ถือว่าเป็นชื่อเดียวกัน

  6. การประกาศตัวแปร ก่อนที่จะมีการใช้ตัวแปรใด ๆ ต้องทำการประกาศตัวแปรก่อน ใน Delphi จะใช้คำว่า Var เป็นตัวบอกว่ากำลังจะทำการประกาศ ตัวแปร โดยมีรูปแบบดังนี้ Var ชื่อตัวแปร : ชนิดข้อมูล ; เช่น Var Firstname : string[50]; num1, num2 : integer;

  7. การประกาศค่าคงที่ ถ้าค่าตัวแปรใดที่เมื่อมีการประมวลผลเราจะไม่ให้มีการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแปรนั้น เราสามารถกำหนดให้ตัวแปรนั้นเป็นค่าคงที่ได้ ใน Delphi จะใช้คำว่า Const เป็นตัวบอกว่าเป็นการประกาศค่าคงที่ โดยมีรูปแบบดังนี้ Const ชื่อตัวแปร = ค่าตัวแปรนั้น ; เช่น Const Pi = 3.143; File_name = ‘ Sriwattana’; ชนิดข้อมูลของค่าคงที่จะขึ้นกับค่าที่กำหนดให้ค่าคงที่นั้น ๆ ดังตัวอย่าง Pi จะมีชนิดของข้อมูลเป็น Real ส่วน File_name จะมีชนิดข้อมูลเป็น String

  8. การให้ค่ากับตัวแปร ในการเขียนโปรแกรมค่าของตัวแปรอาจต้องมีการเปลี่ยนเแปลงอยู่เสมอ(ยกเว้นตัวแปรแบบค่าคงที่) ดังนั้นถ้าเราต้องการให้ค่ากับตัวเแปรใด ๆ สามารถกำหนดได้ตามรูปแบบดังนี้ ตัวแปร: = ค่าตัวแปรนั้น ; เช่น num1:=20; Filename: = ‘ Sriwattana’;

  9. ตัวดำเนินการ (Operator)  ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ + บวกเช่น 5+2 ได้ผลลัพธ์ 7 - บวกเช่น 5-2 ได้ผลลัพธ์ 3 * บวกเช่น 5*2 ได้ผลลัพธ์ 10 / บวกเช่น 5/2 ได้ผลลัพธ์ 2.5 Div หารผลลัพธ์เอาเฉพาะจำนวนเต็ม (ไม่เอาเศษจากการหาร) เช่น 5 Div 2 ได้ผลลัพธ์ 2 Mod หารผลลัพธ์เอาเฉพาะจำนวนเต็ม (ไม่เอาเศษจากการหาร) เช่น 5 Mod 2 ได้ผลลัพธ์ 1

  10. ตัวดำเนินการทางการเปรียบเทียบ = เท่ากับ < > ไม่เท่ากับ > มากกว่า < น้อยกว่า >= มากกว่าหรือเท่ากับ <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ

  11. กลุ่มฟังก์ชันด้านการแปลงชนิดของข้อมูล เพื่อให้สามารถใช้งานข้ามประเภทได้ โดยไม่เกิดข้อผิดพลาด Strtointแปลงข้อมูลจากสตริงให้เป็นตัวเลขจำนวนเต็ม Inttost แปลงข้อมูลจากเลขจำนวนเต็มให้เป็นสตริง Floattostrแปลงข้อมูลจากทศนิยมให้เป็นสตริง Datatostrแปลงข้อมูลจากวันเดือนปีให้เป็นสตริง Timetostrแปลงข้อมูลจากเวลาให้เป็นสตริง DataTimetostr แปลงข้อมูลจากวันเวลาให้เป็นสตริง

  12. if … then … else จะเป็นการทำงาน ที่มีการเลือกหลายทางเลือก รูปแบบ if เงื่อนไข then Statement 1; Else if เงื่อนไข then Statement 2; Else if เงื่อนไข then Statement 3; Else Statement 4; การใช้งาน if … then … else if … then … else จะเป็นการทำงานที่มีการเลือก 2 ทางเลือก รูปแบบ if เงื่อนไข then Statement1; Else Statement2;

  13. การใช้งาน Dialog Box Dialog Box ถือเป็น Form อีกชนิดหนึ่ง มีการโต้ตอบกับผู้ใช้งาน ซึ่งสามารถเรียกใช้ได้ดังนี้ ShowMessage แสดงข้อความอย่างเดียว เป็นการสร้าง Formเพื่อบรรจุข้อความสั้นๆ เพื่อบอกกับผู้ใช้งาน โดยหลังจากผู้ใช้งานใช้งานเสร็จแล้ว กดปุ่ม เพื่อปิด Dialog box รูปแบบ คำสั่ง ShowMessage(‘ข้อความ’); ตัวอย่าง ShowMessage('สวัสดัครับ');

  14. MessageDlg แสดงข้อความและตอบโต้กับผู้ใช้งาน เป็นการสร้าง Form ที่นอกจากจะแสดงข้อความให้ผู้อ่าน ได้อ่าน แล้วผู้ใช้งานจะต้องเลือก Click ปุ่มใดปุ่มหนึ่ง เพื่อปิด Dialog box ซึ่งเราจะนำผลการ Click เลือกนั้น ไปใช้งานต่อมีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ MessageDlg(Msg, DialogType, Button, HelpCtx) Msg คือ ข้อความที่เราจะแสดงใน Dialog box DialogType คือ ประเภทของข้อความซึ่งมีหลายประเภท Button คือ ปุ่มที่มีใน Dialog box HelpCtx คือ หมายเลขข้อมูลเชื่อมโยงกับ Help ถ้าไม่มี กำหนดเป็น 0

  15. ประเภทของปุ่ม mrYes mrNomrOK mrCancel mrAbort mrRetry mrIgnore mrHelp mrAll mbYes mbNombOK mbCancel mbAbort mbRetry mbIgnore mbHelp mbAll

  16. รูปแบบ คำสั่ง MessageDlg(ข้อความ,ประเภท,ปุ่ม,ข้อมูลเชื่อมโยงช่วยเหลือ); ตัวอย่าง MessageDlg('Confirm Your Answer ?', mtConformation,[mbOK,mbCancel,mbHelp],0);

  17. InputBox รับข้อความที่กรอกจากผู้ใช้งาน สำหรับการเรียกใช้ InputBox นั้น เราจะเรียกผ่านคำสั่งดังนี้รูปแบบ InputBox(Caption,Prompt,Default); Caption คือ ข้อความบน Title bar ของ Dialog box Prompt คือ ข้อความที่ถาม Default คือ ค่า Default ถ้าผู้ใช้งานไม่กรอกข้อความอะไร แล้ว Click OKตัวอย่าง InputBox('ข้อมูลลับ','กรุณากรอกชื่อของคุณ, Please fill your name' ,'Name');

  18. InputQuery รับข้อความจากผู้ใช้ไปเก็บไว้ในตัวแปรได้ทันที ซึ่งในการใช้งานคำสั่ง InputBox นั้น เราต้องมีตัวแปร 1 ตัว ไว้เก็บผลลัพธ์ ที่ได้จากการกรอกข้อความเอาไว้ ซึ่งเราสามารถนำชื่อตัวแปรนั้นมาใส่เอาไว้ในคำสั่ง InputQuery ได้เลย ซึ่งมีรูปแบบคำสั่งดังนี้รูปแบบ InputQuery(Caption, Prompt, VarName); Caption คือ ข้อความบน Title bar ของ Dialog box Prompt คือ ข้อความที่ถาม VarName คือ ชื่อตัวแปรที่จะใช้เก็บค่าที่กรอกหลังจากคลิกปุ่ม ตัวอย่าง InputQuery('ข้อมูลส่วนบุคคล','กรุณาใส่จำนวนเงินเดือนที่คุณต้องการ',Salary); ข้อมูลที่ได้ จะถูกเก็บในตัวแปร Salary

More Related