1 / 65

Gastrointestinal Tract (GI tract) Hepatobiliary System

Gastrointestinal Tract (GI tract) Hepatobiliary System. GI tract Esophagus Stomach Small and large intestine. Hepatobiliary liver gall bladder pancreas. GI Tract. Oropharynx. Salivary gland Parotid Submanibular gland Sublingual gland. A = Nasopharynx B = Uvula

siran
Download Presentation

Gastrointestinal Tract (GI tract) Hepatobiliary System

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Gastrointestinal Tract (GI tract)Hepatobiliary System

  2. GI tract Esophagus Stomach Small and large intestine Hepatobiliary liver gall bladder pancreas GI Tract

  3. Oropharynx • Salivary gland • Parotid • Submanibular gland • Sublingual gland A = Nasopharynx B = Uvula C = Hypopharynx D = Larynx E = Tongue F = Oropharynx

  4. การเคี้ยว(Chewing or Mastigation) • รู้ตัว/ไม่รู้ตัว (หลับตื้น) • หน้าที่ • บดอาหารให้เล็กลง (5-15มล) • หล่อลื่น • น้ำย่อยแป้ง (amylase) • แรงบดเคี้ยว 50-80กก./ฟันกราม!

  5. การกลืน Swallowing • เส้นประสาทรับความรู้สึกในคอหอย (afferent) • ศูนย์การกลืนในก้านสมอง medulla & lower pons • เส้นประสาทส่งออก (efferent) • เส้นหลัก ไปที่คอหอยและหลอดอาหารส่วนต้น • เส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 (vagus) ไปที่หลอดอาหาร • ไปที่ศูนย์หายใจ

  6. การกลืน Swallowing • Oral phase • ตัวกระตุ้นคืออาหารหรือน้ำลาย (saliva) (1000/d) • ลิ้นผลักอาหารไปที่คอหอยส่วนบน โดยดันขึ้นติดกับเพดานแข็ง (hard palate) • pharyngeal phase • เพดานอ่อนยกสูงปิดทางเข้าไปโพรงจมูก • กล่องเสียงปิด เส้นเสียงชิดกัน • หูรูด upper esophageal sphincter คลายตัว • กล้ามเนื้อหลอดอาหารส่วนต้น(กล้ามเนื้อลาย)บีบตัว • esophageal phase • กล้ามเนื้อของหลอดอาหาร (ส่วนถัดมาเป็นกล้ามเนื้อเรียบ) บีบตัวไล่ • กล้ามเนื้อลาย -กล้ามเนื้อเรียบ

  7. หลอดอาหาร (Esophagus) • upper esophageal sphincter (UES) • กล้ามเนื้อส่วนบน • กล้ามเนื้อส่วนล่าง • เยื่อบุ(mucosa) • peristalsis lower esophageal sphincter (LES)

  8. กระเพาะอาหาร (Stomach) • reservoir • grinding • mixing with digestive fluid • continuous intestine filling Lower EG sphincter Fundus Cardia Pylorus Body Antrum Duodenum nerve control vago-vagus

  9. Stomach: Reservoir • empty vol 50 ml- max vol 4L • chyme settle to layers according to density • large pieces leave last • lipid... digest last • fluid... bypass

  10. Stomach: Ginding and mixing • Antrum peristalsis • Retropulsis Filling the gut • continuous processing by duodenum • prevent duodenal injury by acid • prevent bile reflux Emptying time~3 hr

  11. Stomach: Secretion • กรดไฮโดรคลอริก (HCl) 2L/d • หลั่งเมือก (mucous) • หลั่งน้ำย่อย pepsinogen ย่อยโปรตีน • หลั่งปัจจัยในการดูดซึมวิตามินบี 12 • ฮอร์โมนบางชนิด (gut hormone) • ดูดซึมวิตามินบางชนิด

  12. ลำไส้เล็ก (Small intestine) • ความยาว 3-5 m • duodenum 5% ~25cm. • jejunum 40% 1-1.5 • ileum 55% 2-2.5 • การย่อยเกิดที่ duodenum และ jejunum • หลั่งน้ำย่อย • Disaccharidase ย่อย disaccharide เป็น monosaccharide • Amino peptidase และ carboxypeptidase's ย่อยเปบไทด์ให้เป็นกรดอะมิโน

  13. Duodenum • 25 cm • Bunner’s gland: หลั่งด่าง สำหรับน้ำย่อยจากตับอ่อน • มีทางเปิดรับน้ำดีจากตับและน้ำย่อยจากตับอ่อน • มีน้ำย่อย • Disaccharidase ย่อย disaccharide เป็น monosaccharide • Aminopeptidase ย่อย peptide เป็นกรดอะมิโน

  14. Jejunum • 1-1.5 m • มีการย่อยและการดูดซึมสารอาหาร • ดูดซึมน้ำและเกลือแร่ • หลั่ง secretion

  15. Ileum • 2-2.5 m • ดูดซึมสารอาหาร น้ำและเกลือแร่ • หลั่ง secreation

  16. caecum Ascending colon transverse colon Large Intestine • Parts • ดูดซึมน้ำและเกลือแร่ที่ลงมาลำไส่ใหญ่ (1L) เหลือ <200 ml • สารที่ย่อยไม่ได้จะถูกขับออกมาเป็นอุจจาระ Descending colon sigmoid colon Rectum

  17. Accessory Organ • ต่อมน้ำลาย (Salivary gland) • ตับอ่อน (pancreas) • ตับ (liver)

  18. ตับอ่อน (Pancreas) • หลั่งน้ำและด่าง • หลั่งน้ำย่อย • Amylase ย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ • Lipase ย่อยไขมัน ให้เป็น กรดไขมัน + glycerol • Esterase ย่อย cholesteryl ester • Trypsin + chymotrypsin ย่อยโปรตีนให้เป็นเป็บไทด์ย่อย

  19. สร้างน้ำดีเก็บไว้ที่ถุงน้ำดีสร้างน้ำดีเก็บไว้ที่ถุงน้ำดี การกระตุ้นการหลั่งน้ำดี มีอาหารเข้าสู่ลำไส้ น้ำดี กรดน้ำดี ฟอสโฟลิปิด โคเลสเตอรอล Liver and Biliary system

  20. ถุงน้ำดี (Gall Bladder)และน้ำดี (Bile) • เก็บน้ำดีที่สร้างจากตับและทำให้น้ำดีเข้มข้น • น้ำดี • เกลือน้ำดี • Bile pigment (bilirubin) • Cholesterol • เกลือแร่ • หน้าที่ของน้ำดี • ช่วยในการย่อยไขมัน • ช่วยในการดูดซึมไขมัน วิตามินที่ละลายในไขมัน โคเลสเตอรอล

  21. What Does the Liver Do?The liver does >500 jobs. Some of the jobs include: • Storage • Storing energy • Store vitamins A, D, E and K • Detoxification • Killing germs, helping keep the body healthy • Keeping pollutants from hurting the body • Filtering toxic chemicals from the body • Remove waste products of nutrient breakdown • Synthesis • Stopping cuts from bleeding • Break down the major nutrients in foods (protein, fats and carbohydrates) • Build proteins • Helping build muscles • Make and secrete bile to help digest foods

  22. Nutrient Digestion and Absorption • Fat • Carbohydrate • Protein • Vitamin • minerals

  23. CHO Absorption

  24. Protein Absorption • เริ่มถูกย่อยที่กระเพาะอาหาร โดย pepsin • ย่อยอย่างสมบูรณ์เป็นกรดอะมิโนที่ลำไส้เล็กด้วยน้ำย่อยจากตับอ่อนและจากลำไส้เล็ก • ดูดซึมในรูปของกรดอะมิโน • 60-90 g/d

  25. Fat Digestion Liver Duodenum BiliaryTransportand Storage Jejunum Ileum Colon

  26. Fat Digestion DietaryCholesterol Triglycerides Fatty Acids +Monoglycerides

  27. Fat Absorption Liver Duodenum BiliaryTransportand Storage Jejunum Lymphatic System Ileum Colon

  28. Vitamin Absorption • Water soluble vitamin • ดูดซึมเช่นเดียวกับกรดอะมิโนและน้ำตาลโดย active transport และ passive diffusion, ที่ Jejunum และ Ileum • Fat soluble vitamin • ดูดซึมไปพร้อมไขมัน • B12 • ต้องอาศัย กรดในกระเพาะอาหาร intrincic factor ในกระเพาะอาหาร • น้ำย่อยตับอ่อน • ดูดซึมที่ terminal ileum

  29. เกลือแร่

  30. น้ำและเกลือแร่ • น้ำ~9L/d • Reabsorption > 90% reabsorbed, only 0.1 - 0.2 litres are discarded in the faeces • Upper small intestine: • 4 to 5 litres reabsorbed • Ileum: • active transport of NaCl • 3 to 4 litres reabsorbed • Colon: • active transport of NaCl in exchange for K+ and HCO3- • normally 700 - 1500 ml absorbed (up to 7 litres) • regulated by mineracorticoids

  31. ใยอาหาร (Dietary Fiber) • เป็นกลุ่ม CHO ที่ไม่ถูกย่อยโดยทางเดินอาหาร • แบ่งเป็น • ละลายน้ำ • ไม่ละลายน้ำ • พบมากใน all-natural cereals, whole-grain, beans, fruits, vegetables, nuts. • จำเป็นต่อการทำงานของทางเดินอาหาร • ควรได้รับ 25-30 g/d • ควรค่อยๆเริ่ม และกินให้หลากหลาย • ช่วยลดท้องผูก ริดสีดวง ควบคุมน้ำหนัก ป้องกันโรคเรื้อรังบางชนิด

  32. ประเภทของใยอาหาร

  33. Short Chain Fatty Acid (SCF) • แหล่งพลังงานของเซลล์ลำไส้ใหญ่ • กระตุ้นการดูดซึมน้ำและเกลือ • กระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์ลำไส้ใหญ่ • กระตุ้นการไหลเวียนโลหิตของลำไส้ • กระตุ้นการสร้างเมือก • เพิ่มความเป็นกรดในลำไส้ใหญ่ • รักษาความแข็งแรงของเยื่อบุ

  34. บทบาทของใยอาหารต่อทางเดินอาหารบทบาทของใยอาหารต่อทางเดินอาหาร

  35. ปัญหาที่พบบ่อยของระบบทางเดินอาหารปัญหาที่พบบ่อยของระบบทางเดินอาหาร

  36. Choking • Prevent is no accident • small pieces, chew slowly, avoid laughing, talking, heavy alcohol • Conscious • If cough, breath, speak, do not interfere • If not, Heimlich maneuveruntil FB is expelled or victim unconscious • Unconscious

  37. Symptoms of GERD include: Heartburn Water brash (reflex salivary hypersecretion in response to peptic esophagitis), Laryngitis Aspiration (passage of gastric fluid up the esophagus and down into the lungs) Wheezing  Night time awakening with choking Gastro esophageal Reflux Disease: GERD

  38. อาหารกับ GERD • พบได้ทุกเพศ เชื้อชาติและอายุ • พบมากที่สุดในช่วงอายุ 45-64 • อาหาร • อาหารรสจัดไม่ได้ทำให้เกิด GERD แต่ทำให้อาการเลวลง • อาหารมัน • อาหารมื้อใหญ่

  39. สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง • เลี่ยงการนอนราบหลังกินอาหาร • เสื้อผ้าคับ • กิจกรรมหรือการออกกำลังกายที่มีการเบ่ง หรือก้มตัว • แอลกอฮอล์

  40. ภาวะแทรกซ้อนของ GERD • แผลที่หลอดอาหาร (ulcer) • หลอดอาหารตีบ (stenosis) • กล่องเสียงอักเสบ • ไอเรื้อรัง • หอบหืด • Barrett’s esophagus

  41. Peptic Ulcer Diseases

  42. Aggressive factors HCl, pepsis Vagal stimulation: stress NSAID H. pylori Bile reflux hypercalcemia Defensive factors Mucous HCO3 Microcirculation Prostaglandin Mucosal barrier สาเหตุ: เสียดุลย์ระหว่าง

  43. อาการ ปวดท้อง: ปวดตื้อ หรือแสบลิ้นปี่ ปวดสัมพันธ์กับมื้ออาหาร GU: ปวดหลังกินอาหาร DU: ปวดเวลาท้องว่าง กินอาหารแล้วปวดลดลง หรือปวดกลางคืน อาการเป็นๆหายๆ Alarm symptoms น้ำหนักลด ซีด อิ่มเร็ว ถ่ายเป็นเลือด ควรต้องได้รับการส่องกล้องตรวจ PUD

  44. Alarm Symptoms • น้ำหนักลด • ซีด • อิ่มเร็ว • เลือดออกในทางเดินอาหาร • ส่วนต้น: ถ่ายดำ เหลว เหนียว เหม็นคาว (melena) หรือ อาเจียนเป็นเลือด • ส่วนล่าง: ถ่ายเป็นเลือด

  45. เป้าหมาย ลดปวด ป้องกันการเป็นซ้ำ กำจัด H pylori ยา ยาลดกรด ยาออกฤทธิ์ที่เยื่อบุ ยากำจัด H pylori การปฏิบัติตัว งดบุหรี่ งดกาแฟ เลี่ยง NSAID การรักษา

  46. ท้องอืดเฟ้อ (Dyspepsia) อาการที่รู้สึกไม่สบายท้องส่วนบนหรือใต้ลิ้นปีเป็นครังคราวหรือติดต่อกัน ประกอบด้วย ปวดจุกแน่น อืด เรอ อิ่มเร็ว เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน แสบยอดอกขย้อนอาหาร แบ่งเป็น • organic dyspepsia: มีสาเหตุชัด เช่น PUD, เนื้องอก นิ่วในถุงน้ำดี หลอดอาหารอักเสบ • functional dyspepsia ไม่มีสาเหตุชัด ตรวจไม่พบความผิดปกติทั้งโครงสร้างและชีวเคมีที่จะอธิบาย

  47. สาเหตุของ Functional Dyspepsia • การหลั่งกรดมาก หรือไวต่อกรดมากกว่าปกจิ • การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติของหลอดอาหาร กระเพาะ ลำไส้หรือท่อน้ำดี • ปัญหาด้านจิตใจ

  48. ประเภท • dysmotility like dyspepsia: จุกแน่น อิ่มเร็ว อืดท้อง เรอ คลื่นไส้ อาเจียน • ulcer like dyspepsia ปวดท้องใต้ลิ้นปี่ ปวดกลางคืน กินอาหารแล้วดีขึ้น • reflux like dyspepsia แสบร้อนใต้ลิ้นปี่ ขย้อนกรดหรืออาหารด้วย

  49. ต้องตรวจสืบค้นโรคทันทีต้องตรวจสืบค้นโรคทันที • อายุ >45 ปี • มี alarm symptoms • น้ำหนักลด • เลือดออกในทางเดินอาหาร: melena, อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายเป็นเลือด • เหลือง • คลำได้ก้อน • รักษาแล้วไม่ดีขึ้น

  50. ท้องผูก (Constipation) • ถ่ายปกติ ไม่น้อยกว่า 3/สัปดาห์-ไม่เกิน 3/วัน • ท้องผูก ถ่ายอุจจาระแข็งปริมาณน้อย (<3/สัปดาห์) อาจมีอาการถ่ายลำบากด้วย • พบบ่อยใน • สูงอายุ • ตั้งครรภ์ หลังคลอด • physical inactivity

More Related