1 / 24

การทดสอบ ไค - สแควร์

การทดสอบ ไค - สแควร์. 1. ข้อมูลที่อยู่ในรูปความถี่ (Frequency Data). ข้อมูลที่อยู่ในรูปความถี่ หรือที่เรียกว่าข้อมูลจำแนกประเภท หมายถึง จำนวนหรือความถี่ของแต่ละระดับ หรือความถี่ของแต่ละกลุ่มของข้อมูลเชิงคุณภาพ.

sine
Download Presentation

การทดสอบ ไค - สแควร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทดสอบ ไค- สแควร์

  2. 1.ข้อมูลที่อยู่ในรูปความถี่ (Frequency Data) ข้อมูลที่อยู่ในรูปความถี่ หรือที่เรียกว่าข้อมูลจำแนกประเภท หมายถึง จำนวนหรือความถี่ของแต่ละระดับ หรือความถี่ของแต่ละกลุ่มของข้อมูลเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจะทำได้โดยการนับจำนวน หรือนับความถี่ของแต่ละระดับหรือแต่ละกลุ่มของข้อมูลเชิงคุณภาพแต่ละตัว

  3. ข้อมูลที่อยู่ในรูปความถี่ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะดังนี้ • ข้อมูลจำแนกประเภททางเดียว(One-Way Frequency Table) เป็นข้อมูลที่จำแนกตามลักษณะใดลักษณะหนึ่งเพียงลักษณะเดียว เช่น จำแนกจำนวนทีวีสีที่ขายได้ตามยี่ห้อ จำแนกจำนวนนักศึกษาในแต่ละคณะที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย เป็นต้น • ข้อมูลจำแนกแบบสองทาง(A Two-Way table)เป็นข้อมูลที่จำแนกตามลักษณะ 2ลักษณะ เช่น จำแนกจำนวนทีวีสีที่ขายได้ตามยี่ห้อ และขนาด เป็นต้น

  4. ตัวอย่างที่ 1 ข้อมูลความถี่ 1.1ข้อมูลจำแนกแบบทางเดียว

  5. 1.2ข้อมูลจำแนกแบบสองทาง1.2ข้อมูลจำแนกแบบสองทาง

  6. 2. การทดสอบสมมติฐานสำหรับข้อมูลจำแนกทางเดียว การทดสอบสมมติฐานสำหรับข้อมูลจำแนกทางเดียว บางครั้งเรียกว่า การทดสอบภาวะรูปสนิทดี (Goodness of Fit Test)เป็นการทดสอบเกี่ยวกับลักษณะหนึ่งของประชากร โดย พิจารณาจากความถี่ในแต่ละระดับ

  7. 2. การทดสอบสมมติฐานสำหรับข้อมูลจำแนกทางเดียว การทดสอบลักษณะต่างๆ ของประชากรเป็นการทดสอบสัดส่วนของลักษณะต่างๆ ของประชากรว่าเป็นไปตามที่คาดไว้หรือไม่ การตั้งสมมติฐาน เมื่อ Oi แทน ความถี่ที่ได้จากการสังเกตที่เกิดขึ้นในระดับที่ i Eiแทน ความถี่ที่คาดหวังที่จะเกิดขึ้นในระดับที่ i

  8. สถิติทดสอบ เมื่อ Oi แทน ความถี่ที่ได้จากการสังเกตที่เกิดขึ้นในระดับที่ i Eiแทน ความถี่ที่คาดหวังให้เกิดขึ้นในระดับที่ i k แทน จำนวนกลุ่มตัวแปร

  9. จะปฏิเสธ H0เมื่อ โดยค่า สามารถหาได้โดยเปิดตารางไคสแควร์ เขตปฏิเสธ H0 Acceptanceregion Rejectionregion

  10. ตัวอย่างที่ 2 ในการสอบถามนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ของวิทยาลัยแห่งหนึ่งจำนวน 200 คน เกี่ยวกับพฤติกรรมการสอนของอาจารย์พบว่านักศึกษาพอใจมาก 72 คน พอใจ 60คน เฉยๆ22 คน ไม่พอใจ 46 คน อยากทราบว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อพฤติกรรมการสอนของอาจารย์มีสัดส่วนเท่ากันหรือไม่ ระหว่างพอใจมาก พอใจ เฉยๆ และไม่พอใจ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01

  11. ความคิดเห็นของนักศึกษาในระดับต่างๆ มีจำนวนไม่แตกต่างกัน ความคิดเห็นของนักศึกษาในระดับต่างๆ มีจำนวนแตกต่างกัน วิธีทำ ขั้นที่ 1ตั้งสมมติฐาน ขั้นที่ 2เลือกสถิติทดสอบ

  12. ขั้นที่ 3คำนวณค่าสถิติทดสอบ

  13. จะปฏิเสธสมมติฐานว่างเมื่อจะปฏิเสธสมมติฐานว่างเมื่อ ขั้นที่ 4กำหนดระดับนัยสำคัญ a= 0.01 ขั้นที่ 5เขตปฏิเสธสมมติฐาน a= 0.01

  14. ขั้นที่ 6สรุป ปฏิเสธสมมติฐานว่าง และสรุปผลได้ว่าความคิดเห็นของนักศึกษาแตกต่างกันหรือสัดส่วนความคิดเห็นไม่เท่ากัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01

  15. ลักษณะทั้งสองเป็นอิสระต่อกันหรือไม่สัมพันธ์กันลักษณะทั้งสองเป็นอิสระต่อกันหรือไม่สัมพันธ์กัน ลักษณะทั้งสองไม่เป็นอิสระต่อกันหรือสัมพันธ์กัน 3.การทดสอบสมมติฐานสำหรับข้อมูลจำแนกสองทาง การทดสอบสมมติฐานสำหรับข้อมูลจำแนกสองทางจะเป็นการทดสอบความสัมพันธ์ของลักษณะสองลักษณะ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับความสนใจทางการเมือง โดยลักษณะที่หนึ่งคือ เพศ และลักษณะที่สองคือ ความสนใจทางการเมือง การตั้งสมมติฐาน

  16. สถิติทดสอบ เมื่อ Oij แทน ความถี่ที่ได้จากการสังเกตจากแถว i คอลัมน์j Eijแทน ความถี่ที่คาดหวังของแถว i คอลัมน์ j rแทน จำนวนแถว c แทน จำนวนคอลัมน์

  17. จะปฏิเสธ H0เมื่อ โดยค่า สามารถหาได้โดยเปิดตารางไคสแควร์ เขตปฏิเสธ H0 Acceptanceregion Rejectionregion

  18. ตัวอย่างที่ 3 เพื่อที่จะตรวจสอบว่ามีความสัมพันธ์กันบ้างหรือไม่ ระหว่างผลสัมฤทธิ์ของพนักงานในขณะที่เข้าโครงการฝึกอบรมกับผลสัมฤทธิ์ของพนักงานในการปฏิบัติหน้าที่ในองค์กร จึงได้มีการเลือกตัวอย่างพนักงานมา 400 คน แล้วเก็บข้อมูลได้ดังนี้

  19. จงทดสอบสมมติฐานว่างที่ว่าผลสัมฤทธิ์ในโครงการฝึกอบรมกับผลสัมฤทธิ์ในหน้าที่การงานนั้นเป็นอิสระต่อกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 วิธีทำ ขั้นที่ 1 ตั้งสมมติฐาน H0 : ผลสัมฤทธิ์ในโครงการฝึกอบรมและในหน้าที่การงานไม่มีความสัมพันธ์กัน H1 : ผลสัมฤทธิ์ในโครงการฝึกอบรมและในหน้าที่การงานมีความสัมพันธ์กัน

  20. โดยที่ คือค่าที่สังเกตได้จากตารางเช่น ส่วน เป็นค่าคาดหมายหาได้ดังนี้ ขั้นที่ 2 เลือกสถิติทดสอบ ขั้นที่ 3คำนวณสถิติทดสอบ

  21. ดังนั้น สถิติทดสอบ

  22. ขั้นที่ 4กำหนดระดับนัยสำคัญ a = 0.01 ดังนั้น ขั้นที่ 5สร้างเขตปฏิเสธสมมติฐาน H0 โดยจะปฏิเสธ H0 เมื่อค่าสถิติทดสอบ ขั้นที่ 6สรุป จะได้ว่า ปฏิเสธ H0หมายความว่าผลสัมฤทธิ์ในโครงการฝึกอบรมและในหน้าที่การงานมีความสัมพันธ์กัน ที่ระดับนัย สำคัญ 0.01

  23. ข้อตกลงเบื้องต้นในการใช้สถิติทดสอบไคสแควร์ข้อตกลงเบื้องต้นในการใช้สถิติทดสอบไคสแควร์ 1. ความถี่ที่คาดไว้ของแต่ละระดับ Ei ไม่ควรต่ำกว่า 5 ถ้ามีระดับใดต่ำกว่า 5ให้ทำการรวมข้อมูลความถี่กับความถี่ที่อยู่ในระดับที่ติดกัน 2. ไม่สามารถใช้ได้กับ repeated measures design

More Related