260 likes | 554 Views
บทที่ 16 การติดตั้งระบบ( System Implementation). แนวคิดของการติดตั้งระบบงานใหม่ เป็นการดำเนินการหลังจากที่โปรแกรมระบบงานพัฒนาเสร็จสมบูรณ์ และผ่านการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมของ การทดสอบ มีการจัดอบรมผู้ใช้ระบบ ก่อนที่มีการติดตั้งใช้งาน
E N D
บทที่ 16 การติดตั้งระบบ(System Implementation) • แนวคิดของการติดตั้งระบบงานใหม่ • เป็นการดำเนินการหลังจากที่โปรแกรมระบบงานพัฒนาเสร็จสมบูรณ์ • และผ่านการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมของการทดสอบ • มีการจัดอบรมผู้ใช้ระบบ ก่อนที่มีการติดตั้งใช้งาน • ดำเนินการติดตั้งระบบ ตามแผนการปรับเปลี่ยนระบบ(Conversion Plan)
ขั้นตอนของการติดตั้งระบบขั้นตอนของการติดตั้งระบบ • Time Management • เป็นการควบคุมเวลาที่ใช้ในการติดตั้งระบบให้เป็นไปตามแผน • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเวลา • 1. ขนาดของโครงการ • 2. คุณภาพ และ ความสมบูรณ์ของระบบ • 3. เทคนิคที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม • 4. วิธีการปรับเปลี่ยนระบบที่นำมาใช้ • Create Environment • ต้องทำการจัดสร้างสภาพแวดล้อมของการติดตั้งระบบในส่วนของ • สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการ( Operational Environment ) • สภาพแวดล้อมของการทดสอบระบบ( Testing Environment )
ส่วนประกอบของสภาพแวดล้อมส่วนประกอบของสภาพแวดล้อม Operational Environment Hardware Software JCL • Mainframe Com. • Mini Computer Testing Environment Testing Documentation Data
ขั้นตอนการติดตั้งระบบขั้นตอนการติดตั้งระบบ • System Training • เป็นการเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจหน้าที่และกฎเกณฑ์ในการปฏิบัติการของระบบ ควรมีเอกสารคู่มือประกอบในการฝึกอบรมด้วย • กรณีที่มีการจัดซื้อโปรแกรมและอุปกรณ์จากผู้ขายควรระบุเงื่อนไขการฝึกอบรมในสัญญาซื้อขายด้วย
ขั้นตอนการติดตั้งระบบขั้นตอนการติดตั้งระบบ • ส่วนประกอบของการจัดอบรม มี 2 ชนิด คือ • System Operator Training เป็นการอบรมผู้รับผิดชอบ อุปกรณ์ที่ใช้ในการประมวลผลระบบ เกี่ยวกับพื้นฐานการใช้งาน และแนวทางการรับมือกับปัญหาฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้นได้ • User Training เป็นการอบรมวิธีการใช้อุปกรณ์ โดยระบุรวมถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นและวิธีการแก้ปัญหา • วิธีการจัดการอบรม ทำได้ 2 วิธี คือ • Vender & In-Service Training • In-house Training
ขั้นตอนการติดตั้งระบบขั้นตอนการติดตั้งระบบ • File Conversion เป็นการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานจากระบบเก่า ไปสู่ระบบใหม่ โดยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ • File Conversion • System Changeover File Conversionเป็นการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลเพื่อการดำเนินงาน ซึ่งทำได้ 2 วิธีคือ • การบันทึกข้อมูลใหม่ทั้งหมด • การใช้โปรแกรมสำหรับการส่งออกข้อมูล(Export Data) จากระบบเดิมไปสู่ระบบใหม่
ขั้นตอนการติดตั้งระบบขั้นตอนการติดตั้งระบบ • System Changeoverเป็นกระบวนการในการยกเลิกระบบเก่า และเข้าสู่การใช้งานระบบใหม่ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ คือ • Define System Changeover Style • Create Conversion Plan • Site Preparation • Data & File Preparation • Record Counts
System Conversion Style • 1. Direct Cut over • ยกเลิกระบบเก่า เปลี่ยนระบบใหม่ทันที • เป็นวิธีที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด • ก่อให้เกิดปัญหาของการดำเนินงานมากที่สุด • มักใช้กับระบบข้อมูลที่ไม่ค่อยสำคัญเท่าใดนัก • ควรเปลี่ยนระบบ ณ จุดเริ่มต้นของเวลา
System Conversion Style • 2. Parallel Operation • ดำเนินระบบใหม่ และระบบเดิมคู่ขนานกันไป • ต้องมีทรัพยากรมากเพียงพอกับการใช้งาน • O/S สามารถทำงานคู่ขนานได้ • ผลกระทบจากการใช้งานน้อยมาก
System Conversion Style • 3. Pilot Operation • เป็นการนำร่องระบบใหม่ของหน่วยงานย่อยก่อน จนกระทั่งครบถ้วนทั้งองค์กร • เป็นวิธีที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด • เกิดความเสี่ยงในการพบข้อผิดพลาดน้อย • 4. Phased Changeover • ดำเนินระบบใหม่เป็นระยะ ทีละส่วนงาน • เป็นการผสมผสานวิธีการ 3 วิธีข้างต้น • จำกัดความเสี่ยงในการเกิดข้อผิดพลาด
Conversion Plan • เป็นแผนที่รวบรวมรายละเอียดของกิจกรรมทั้งหมด ที่เกิดขึ้นในการติดตั้งระบบใหม่ • ต้องกำหนดตัวบุคคลที่รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอน • ต้องกำหนดช่วงเวลาของการเกิดเหตุการณ์แต่ละขั้น • มีการคาดการณ์ปัญหาที่เป็นไปได้ และวิธีการแก้ปัญหาล่วงหน้า Define New Data Define Process Define File Define Table Conversion Plan Define Documentation Define Control Plan Define Member
Site Preparation • สิ่งที่ต้องจัดเตรียม • รายการและคุณสมบัติของการเดินสายไฟ • ความต้องการของเครื่องปรับอากาศ • การควบคุมความชื้น • เนื้อที่ว่างสำหรับติดตั้งเครื่อง • Layout ของจุดการติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ข้อแนะนำในการจัดเตรียมสถานที่ • หลีกเลี่ยงการใช้พรมปูพื้นห้อง และการลงพื้นด้วยน้ำยาขัดเงา เพราะอาจทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต • เตรียมพื้นที่ว่างสำหรับการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์การบำรุงรักษา และการให้บริการของผู้ขาย • จัดสถานที่ให้มีการหมุนเวียนของอากาศที่ดี
Data & File Preparation • สิ่งที่ต้องจัดเตรียม • ข้อมูลนำเข้าของระบบงาน • แฟ้มข้อมูลหลัก ของระบบงาน • แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง ของระบบงาน • แฟ้มตารางข้อมูลรหัสข้อมูล • เจ้าหน้าที่ป้อนข้อมูลนำเข้าระบบ
RecordCounts • เป็นการควบคุมพื้นฐานของการป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบโดยการคีย์ข้อมูลเข้า หรือ โอนข้อมูลจากระบบเก่าเข้าสู่ระบบใหม่ • ใช้วิธีการเขียนโปรแกรมตรวจสอบการทำงานตามลำดับ (Batch Processing) • มีการตรวจนับข้อมูลและแสดงผลข้อมูลเป็นระยะ • มีการตรวจสอบข้อมูลที่เป็นจำนวนเงินหรือตัวเลข
การประเมินผลระบบ(System Evaluation) • แนวคิดของการประเมินผลระบบ • เป็นการประเมินผลคุณภาพของการติดตั้งใช้งานระบบงานใหม่ และให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงระบบให้ตรงกับความต้องการใช้งาน • ระยะเวลาที่ทำการประเมินผลระบบ ควรเป็นภายหลังการปรับเปลี่ยนระบบ 1 สัปดาห์ • จัดทำแบบสอบถาม เพื่อเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมประเมินผลระบบ
การประเมินผลระบบ(System Evaluation) แนวคิดของการประเมินผลระบบ (ต่อ) • เงื่อนไขที่ใช้ในการประเมินผล • ความสอดคล้องกับความต้องการใช้งาน • ความแม่นยำของผลลัพธ์ที่ได้จากระบบ • ความสมบูรณ์ของระบบ • เวลาที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ • ความพอใจของผู้ใช้งาน • ฟังก์ชั่นในการควบคุมระบบ • มาตรการของการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
การประเมินผลระบบ(System Evaluation) แนวคิดของการประเมินผลระบบ (ต่อ) • เงื่อนไขที่ใช้ในการประเมินผล • ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ • คุณภาพของระบบฐานข้อมูล • ประสิทธิภาพของทีมงานวิเคราะห์ • คุณภาพและความสมบูรณ์ของเอกสารประกอบระบบ • ผลตอบสนองจากการอบรมผู้ใช้ • ความแม่นยำของการประมาณการค่าใช้จ่ายและ ประโยชน์ที่ได้รับ
การประเมินผลระบบ(System Evaluation) • ขั้นตอนของการประเมินผลระบบ • จัดตั้งทีมงาน ที่รับผิดชอบการประเมินผล • จัดทำแบบประเมินผลระบบ • เก็บรวบรวมข้อมูลภายหลังระยะเวลาติดตั้งใช้งาน • ประเมินผลระบบ • จัดทำรายงานสรุปการประเมินผล ตามรูปแบบและหัวข้อที่กำหนดไว้
การประเมินผลระบบ(System Evaluation) • ส่วนประกอบของการประเมินผลระบบ • การประเมินผลการติดตั้งใช้โปรแกรมระบบ • การวัดและประเมินคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ • Computer Evaluation & Measurement • เป็นการเปรียบเทียบความแตกต่างของระบบคอมพิวเตอร์ โดยการอาศัยพื้นฐานของประสิทธิภาพของข้อมูลที่ใช้ • นิยมใช้โปรแกรมสังเคราะห์ ที่เรียกว่า Benchmark เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ
การประเมินผลระบบ(System Evaluation) • Benchmark Technique • เป็นเทคนิคของการจัดทำโปรแกรมประยุกต์ ที่เลียนแบบโปรแกรมที่ใช้ประมวลผลข้อมูลจริง • มีการผสมผสานของงาน ที่เป็นตัวแทนโครงการทำงานของผู้ใช้ • เป็นการแสดงเทคนิคการใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูล และให้โอกาสในการทดสอบงานที่เป็นหน้าที่ของระบบ • นำข้อจำกัดของอุปกรณ์มาเป็นปัจจัยสำคัญในการหาข้อเปรียบเทียบ เช่น ความเร็วของระบบประมวลผลกลาง
การประเมินผลระบบ(System Evaluation) • การจัดทำรายงานเสนอผู้บริหาร เป็นรายงานฉบับสุดท้ายของการพัฒนาระบบที่นำเสนอผู้บริหาร ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ • เอกสารประกอบการทำงานของระบบฉบับปรับปรุงครั้งสุดท้าย • ตารางแสดงพัฒนาการของค่าใช้จ่าย และประโยชน์ที่ได้รับ • เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงกับประมาณการ • ผลการประเมินหลังติดตั้งระบบ
การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance) • วัตถุประสงค์ • เพื่อให้สามารถใช้ระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดอายุการใช้งาน • เพื่อให้ระบบสามารถสนับสนุนการทำงานในปัจจุบัน • เพื่อให้ระบบสามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ ได้ในอนาคตอันใกล้ • แนวทางการบำรุงรักษาระบบ • การปรับปรุงโปรแกรมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • การปรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • การปรับรุ่นของคอมพิวเตอร์ หรือซอฟต์แวร์ระบบ
การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance) • ข้อพิจารณาในการบำรุงรักษาระบบ • เป็นขั้นตอนที่ใช้ค่าใช้จ่ายสูง ควรเน้นขั้นตอนของการทดสอบและแก้ไขโปรแกรมมากกว่า • เน้นจุดของการบำรุงรักษาเอกสารประกอบระบบควบคู่ไปด้วย