570 likes | 1.44k Views
CHAPTER 12. Inventory Management การจัดการวัสดุคงคลัง. Inventory Management. ของคงคลังหรือ Inventory เป็นทรัพย์สินหมุนเวียนที่มีมูลค่าสูงที่สุด ของคงคลังในแง่ของการผลิตประกอบด้วย Raw material: วัตถุดิบ Component or part: ชิ้นส่วนประกอบ Supplies: วัสดุสิ้นเปลือง
E N D
CHAPTER 12 Inventory Management การจัดการวัสดุคงคลัง
Inventory Management • ของคงคลังหรือ Inventory เป็นทรัพย์สินหมุนเวียนที่มีมูลค่าสูงที่สุด • ของคงคลังในแง่ของการผลิตประกอบด้วย • Raw material: วัตถุดิบ • Component or part: ชิ้นส่วนประกอบ • Supplies: วัสดุสิ้นเปลือง • Work-in-process: งานระหว่างทำ • Finished goods: สินค้าสำเร็จรูป
Functions of inventory • Finished good inventory • To meet anticipated demand • To smooth production requirements • To protect against stock-outs • Work-in-process inventory • To decouple operations • To permit operations • Raw material and part inventory • To take advantage of order cycles • To help hedge against price increases • To take advantage of quantity discounts
Inventory management • การตัดสินในพื้นฐานเกี่ยวกับ Inventory มีอยู่ 2 ด้าน • How much?: จะสั่งซื้อครั้งละเท่าไหร่ • When?: จะสั่งซื้อเมื่อใด
Inventory cost • เป้าหมายสำคัญในการจัดการของคงคลัง คือ การกำหนดระดับของคงคลังที่ทำให้ต้นทุนของคงคลังทั้งสิ้นอยู่ในระดับต่ำที่สุด • ต้นทุนที่เกิดจากการมีของคงคลัง ได้แก่ • Ordering costs or setup costs • Carrying costs • Storage costs • Out-of-stock costs
Inventory cost • Ordering costs or setup costs • ต้นทุนในการสั่งซื้อ: ค่าจัดทำเอกสารจัดซื้อต่าง ๆ ค่าสินค้า ค่าตรวจรับสินค้า • ต้นทุนในการสั่งผลิต: ค่าจัดวางสายการผลิต ค่าวัตถุดิบ ค่าจัดเตรียมเอกสาร • Carrying costs: ค่าขนส่ง ค่าประกันภัย ค่าของเสียหาย ค่าเสื่อม • Storage costs: ค่าพื้นที่ ค่าพลังงานไฟฟ้า ค่าคนงาน • Out-of-stock costs: รายรับที่ควรจะได้ ความเชื่อมั่นของลูกค้า
Inventory Management • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริหารสินค้าคงคลัง • อุปสงค์ หรือ ความต้องการสินค้าคงคลัง (Demand of inventory) • การจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง (Inventory catalog) • การจัดระดับความสำคัญ (Priority of inventory)
Inventory Management • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริหารสินค้าคงคลัง • อุปสงค์ หรือ ความต้องการสินค้าคงคลัง (Demand of inventory) • การจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง (Inventory catalog) • การจัดระดับความสำคัญ (Priority of inventory)
Inventory Management • อุปสงค์อิสระ (Independent Demand) หมายถึงอุปสงค์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับอุปสงค์ของรายการสินค้าอื่นๆ ในองค์กร เช่น อุปสงค์ของสินค้าสำเร็จรูปที่มีความต้องการมาจากความต้องการของลูกค้า อุปสงค์ของชิ้นส่วนในการซ่อมบำรุงเครื่องจักรที่เกิดการชำรุด • อุปสงค์ตาม (Dependent Demand) หมายถึงอุปสงค์ที่มีความสัมพันธ์กับ รายการสินค้าอื่น ๆ หรือมีความต้องการมาจากโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ตามลำดับ เช่น ความต้องการชิ้นส่วนในการประกอบตามใบแสดงรายการวัสดุ (Bill of Material-BOM)
Inventory Management • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริหารสินค้าคงคลัง • อุปสงค์ หรือ ความต้องการสินค้าคงคลัง (Demand of inventory) • การจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง (Inventory catalog) • การจัดระดับความสำคัญ (Priority of inventory)
Inventory Management ประโยชน์ของการจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง • ช่วยป้องกันการตั้งรายการสินค้าคงคลังซ้ำ • ใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อสาร
Inventory Management • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริหารสินค้าคงคลัง • อุปสงค์ หรือ ความต้องการสินค้าคงคลัง (Demand of inventory) • การจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง (Inventory catalog) • การจัดระดับความสำคัญ (Priority of inventory)
Inventory Management • หากให้ความสำคัญสินค้าคงคลังเท่ากันทั้งหมดจะทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายและเวลามาก • ใช้หลักการ ABC Analysis ในการจัดลำดับความสำคัญ
Inventory Management ABC Analysis • ประเภท A มีรายการสินค้าคงคลังประมาณ 10-20% ของรายการสินค้าคงคลังทั้งหมด มีมูลค่าประมาณ 60-70% ของมูลค่าสินค้าคงคลังที่ใช้ทั้งหมด • ประเภท B มีรายการสินค้าคงคลังอีกประมาณ 30-40% ของรายการสินค้าคงคลังทั้งหมด มีมูลค่าประมาณ 20-30% ของมูลค่าสินค้าคงคลังที่ใช้ทั้งหมด หรือเมื่อรวมกับประเภท A แล้ว จะมีมูลค่าประมาณ 90% ของมูลค่าสินค้าคงคลังที่ใช้ทั้งหมด • ประเภท C มีรายการสินค้าคงคลังอีกประมาณ 50-60% ของรายการสินค้าคงคลังทั้งหมด มีมูลค่าประมาณ 10-15% ของมูลค่าสินค้าคงคลังที่ใช้ทั้งหมด
Inventory Management ABC Analysis • ประเภท A เนื่องจากมีมูลค่าที่สูง จึงจะต้องถูกทบทวนสถานะ การเก็บและการซื้อในระยะสั้น เช่น รายเดือน • สินค้าคงคลังประเภท B มีมูลค่ารองลงมา อาจทำการทบทวนสถานะ การเก็บและการซื้อในระยะกลาง เช่น ทุก 1-6 เดือน • สินค้าคงคลังประเภท C เป็นสินค้าคงคลังกลุ่มที่มีมูลค่าต่ำ สามารถทำการทบทวนสถานะ การเก็บและการซื้อในระยะที่ยาวขึ้น เช่น ทุก 6-12 เดือน
ตัวอย่าง บริษัทผู้ผลิตแผงวงจรคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง มีสินค้าคงคลังทั้งสิ้น 10 รายการ แสดงดังตาราง
Inventory Models • Inventory models คือ แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ซึ่งใช้วิเคราะห์หาขนาดที่ประหยัดสำหรับการสั่งซื้อหรือสั่งผลิตแต่ละครั้ง • การบริหารสินค้าคงคลัง มีวิธีดำเนินการได้ 3 แนวทาง คือ • วิธีระบบปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity, EOQ) • วิธีการ Moving Average • วิธีการสร้างแบบจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ (Simulation)
Inventory Models วิธีปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity, EOQ) • เป็นวิธีการคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้ออย่างง่ายที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมาเป็นเวลานาน • ช่วยในการกำหนดปริมาณการสั่งซื้อแต่ละครั้ง • การคำนวณ EOQ มีต้นทุนที่สำคัญอยู่ 2 อย่าง คือ • ต้นทุนการเก็บรักษา (Carrying cost) • ต้นทุนการสั่งซื้อ (Ordering cost)
Economic Order Quantity, EOQ Assumption of EOQ model • Only one product is involved: สินค้าชนิดเดียว • Annual demand requirements known: ทราบความต้องการต่อปี • Demand is even throughout the year: ความต้องการสม่ำเสมอทั้งปี • Lead time does not vary: ทราบ Lead time ที่แน่นอน • Each order is received in a single delivery: สินค้าที่สั่งซื้อไปจะต้องได้รับพร้อมกันทั้งหมด • There are no quantity discounts: ไม่มีส่วนลดจากการสั่งซื้อ
EOQ: Inventory parameters TC Total cost: ต้นทุนรวมต่อหน่วย (บาทต่อหน่วย) P Ordering cost: ต้นทุนในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง (บาทต่อครั้ง) H Holding cost or Carrying cost: ต้นทุนในการจัดเก็บของคงคลัง (บาทต่อปี) Q Order quantity: ปริมาณการสั่งซื้อแต่ละครั้ง (หน่วยต่อครั้ง) D Annual demand: ความต้องการของต่อปี (หน่วยต่อปี) K Annual cost: ต้นทุนรวมทั้งสิ้นต่อปี (บาทต่อปี) C Purchasing cost: ราคาสินค้าต่อหน่วย (บาทต่อหน่วย) iอัตราค่าใช้จ่ายในการจัดให้มีของคงคลัง (ร้อยละต่อปี)
EOQ การหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด ต้นทุนคงคลังต่อปี ต้นทุนในการซื้อสินค้า ต้นทุนการสั่งซื้อต่อปี ต้นทุนการเก็บของคงคลังต่อปี
EOQ การหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (ต่อ) ต้นทุนต่อปี 1 ต้นทุนต่อหน่วย 2
EOQ การหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (ต่อ) การหาปริมาณการสั่งซื้อที่ทำให้ค่า TC ต่ำที่สุดทำโดยหาอนุพันธ์ขั้นที่ 1 ของ TC เทียบกับ Q แล้วกำหนดให้ผลลัพธ์เท่ากับ 0
EOQ การหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (ต่อ) ต้นทุนต่อหน่วย 2 หาอนุพันธ์ขั้นที่ 1 ของ TC เทียบกับ Q เท่ากับ 0 3
ตัวอย่าง บริษัท Sharp Inc ตัวแทนขายเข็มฉีดยาสำหรับใช้ในโรงพยาบาล ต้องการที่จะลดค่าใช้จ่ายสินค้าคงคลังของบริษัทให้น้อยลง โดยใช้ตัวแบบปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดความต้องการสินค้าต่อปีเท่ากับ 1,000 หน่วย (D)ต้นทุนการสั่งซื้อเท่ากับ 10 ดอลลาร์ต่อครั้ง (P)ต้นทุนการเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปีเท่ากับ 0.50 ดอลลาร์ต่อหน่วยต่อปี (H)จงคำนวณหาปริมาณสั่งซื้อเข็มฉีดยาที่เหมาะสมที่สุด = 200 หน่วย ปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม จำนวนครั้งของการสั่งซื้อต่อปี (N) N = ปริมาณความต้องการต่อปี / ปริมาณสั่งซื้อที่เหมาะสมที่สุด = 1,000/200 = 5ครั้งต่อปี
ต้นทุนรวมสินค้าคงคลังต่อปีต้นทุนรวมสินค้าคงคลังต่อปี ช่วงเวลาการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง K = (10x1000/200) + ((0.5x200)/(2)) = 1000 ดอลลาร์ต่อปี T = จำนวนวันทำงานต่อปี / N T = 250/5 = 50 วันต่อครั้ง
ตัวอย่างที่ 2 ผู้จัดจำหน่ายยางรถยนต์คาดการณ์ว่าจะสามารถขายยางรุ่นพิเศษได้ 9,600 เส้นในปีถัดไป โดยการเก็บสต๊อกสินค้ามีต้นทุน $16 ต่อยางหนึ่งเส้น และมีต้นทุนในการสั่งซื้อ $75 ต่อครั้ง และจำนวนวันทำงานคือ 288 วันต่อปี1. จงหาจุดสั่งซื้อที่ประหยัด2. จงหาจำนวนครั้งในการสั่งซื้อต่อปี3. จงหาช่วงเวลาในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง4. จงคำนวณต้นทุนรวมต่อปีสำหรับการสั่งแบบประหยัด = 300 เส้น ปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม จำนวนครั้งของการสั่งซื้อต่อปี (N) N = ปริมาณความต้องการต่อปี / ปริมาณสั่งซื้อที่เหมาะสมที่สุด = 9,600/300 = 32ครั้งต่อปี
ต้นทุนรวมสินค้าคงคลังต่อปีต้นทุนรวมสินค้าคงคลังต่อปี ช่วงเวลาการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง K = (75x32) + ((16x300)/(2)) = 4,800 ดอลลาร์ต่อปี T = จำนวนวันทำงานต่อปี / N T = 288/32 = 9วันต่อครั้ง สั่งสินค้าทุกๆ 9 วัน
EOQ: Discount การหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด:กรณีมีส่วนลด ต้นทุนในการซื้อสินค้า ต้นทุนการสั่งซื้อต่อปี ต้นทุนการเก็บของคงคลังต่อปี
ตัวอย่าง ร้านค้าปลีก Wohl’sผู้จำหน่ายรถแข่งเด็กเล่น ได้จัดทำตารางส่วนลดสำหรับรถแข่ง ดังตาราง ราคาปกติของรถแข่ง 5ดอลล่าร์สหรัฐต่อคัน สำหรับยอดการสั่งซื้อจำนวนระหว่าง 1,000-1,999 คัน ราคาจะลดลงเหลือ 4.80ดอลล่าร์สหรัฐ หากสั่งซื้อจำนวนตั้งแต่ 2,000 คันขึ้นไปจะได้รับส่วนลดเหลือเพียงคันละ 4.75 ดอลล่าร์สหรัฐ นอกจากนี้ ต้นทุนการสั่งซื้อต่อครั้งเท่ากับ 49ดอลล่าร์สหรัฐ ปริมาณความต้องการต่อปีเท่ากับ 5,000 คัน ต้นทุนการเก็บรักษาคิดเป็นร้อยละ 20 ของค่าใช้จ่าย หรือ 0.2 จงคำนวณหาปริมาณสั่งซื้อที่จะทำให้ต้นทุนสินค้าคงคลังโดยรวมต่ำที่สุด
คำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด iคือ ต้นทุนการเก็บรักษา (ร้อยละต่อปี) ต้นทุนการเก็บของคงคลัง H = iC Cคือ ราคาสินค้าต่อหน่วย (บาทต่อหน่วย) Q1 = 700 คัน Q2 = 1,000 คัน Q3 = 2,000 คัน
ตัวอย่าง ร้านค้าปลีก Wohl’sผู้จำหน่ายรถแข่งเด็กเล่น ได้จัดทำตารางส่วนลดสำหรับรถแข่ง ดังตาราง ราคาปกติของรถแข่ง 5ดอลล่าร์สหรัฐต่อคัน สำหรับยอดการสั่งซื้อจำนวนระหว่าง 1,000-1,999 คัน ราคาจะลดลงเหลือ 4.80ดอลล่าร์สหรัฐ หากสั่งซื้อจำนวนตั้งแต่ 2,000 คันขึ้นไปจะได้รับส่วนลดเหลือเพียงคันละ 4.75 ดอลล่าร์สหรัฐ นอกจากนี้ ต้นทุนการสั่งซื้อต่อครั้งเท่ากับ 49ดอลล่าร์สหรัฐ ปริมาณความต้องการต่อปีเท่ากับ 5,000 คัน ต้นทุนการเก็บรักษาคิดเป็นร้อยละ 20 ของค่าใช้จ่าย หรือ 0.2 จงคำนวณหาปริมาณสั่งซื้อที่จะทำให้ต้นทุนสินค้าคงคลังโดยรวมต่ำที่สุด
คำนวณต้นทุนโดยรวม ต้นทุนการสั่งซื้อต่อปี ต้นทุนการเก็บรักษาต่อปี ต้นทุนราคาสินค้าต่อปี Q1 = 700 คัน Q2 = 1,000 คัน Q3 = 2,000 คัน
ต้นทุนการสั่งซื้อต่อปีต้นทุนการสั่งซื้อต่อปี ต้นทุนการเก็บรักษาต่อปี ต้นทุนราคาสินค้าต่อปี คำนวณต้นทุนโดยรวม เลือกปริมาณการสั่งซื้อที่มีต้นทุนโดยรวมต่ำที่สุด กรณีที่ 2
ตัวอย่าง โรงงานผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าแห่งหนึ่งต้องใช้สวิตช์จำนวน 4,000 ตัวต่อปี ราคาสินค้าต่อหน่วยแสดงดังตาราง โดยมีส่วนลดเมื่อสั่งซื้อในปริมาณมาก ต้นทุนในการสั่งซื้อสินค้า $30 ต่อครั้ง และต้นทุนในการเก็บสินค้าคงคลังเป็นร้อยละ 40 ต่อปีจงคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ทำให้ต้นทุนคงคลังต่อปีต่ำที่สุด
คำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด iคือ ต้นทุนการเก็บรักษา (ร้อยละต่อปี) ต้นทุนการเก็บของคงคลัง H = iC Cคือ ราคาสินค้าต่อหน่วย (บาทต่อหน่วย) Q1 = 817 ชิ้น Q2 = 840 ชิ้น Q3 = 1,000 ชิ้น
ตัวอย่าง โรงงานผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าแห่งหนึ่งต้องใช้สวิตช์จำนวน 4,000 ตัวต่อปี ราคาสินค้าต่อหน่วยแสดงดังตาราง โดยมีส่วนลดเมื่อสั่งซื้อในปริมาณมาก ต้นทุนในการสั่งซื้อสินค้า $30 ต่อครั้ง และต้นทุนในการเก็บสินค้าคงคลังเป็นร้อยละ 40 ต่อปีจงคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ทำให้ต้นทุนคงคลังต่อปีต่ำที่สุด
คำนวณต้นทุนโดยรวม ต้นทุนการสั่งซื้อต่อปี ต้นทุนการเก็บรักษาต่อปี ต้นทุนราคาสินค้าต่อปี Q2 = 840 ชิ้น Q3 = 1,000 ชิ้น
ต้นทุนการสั่งซื้อต่อปีต้นทุนการสั่งซื้อต่อปี ต้นทุนการเก็บรักษาต่อปี ต้นทุนราคาสินค้าต่อปี คำนวณต้นทุนโดยรวม เลือกปริมาณการสั่งซื้อที่มีต้นทุนโดยรวมต่ำที่สุด กรณีที่ 3
Safety Stock กรณีจัดให้มีของเหลือเผื่อ (Safety stock)
Out of Stock กรณียอมให้ของขาดแคลน (Out of Stock)