1 / 98

การบริหารความเสี่ยง

การบริหารความเสี่ยง. ความเสี่ยงคืออะไร ?. ความเสี่ยงคือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง มีโอกาสที่จะประสบกับความสูญเสียหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์.

sileas
Download Presentation

การบริหารความเสี่ยง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารความเสี่ยง

  2. ความเสี่ยงคืออะไร?

  3. ความเสี่ยงคือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง มีโอกาสที่จะประสบกับความสูญเสียหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์

  4. สิ่งที่ไม่พึงประสงค์ ได้แก่ การบาดเจ็บ ความเสียหาย เหตุร้าย การเกิดอันตราย เกิดความไม่แน่นอน การไม่พิทักษ์สิทธิหรือศักดิ์ศรีหรือเกิดความสูญเสียจนต้องมีการชดใช้ค่าเสียหาย

  5. ผลกระทบของความเสี่ยง • ทางกายภาพ • ทางอารมณ์ • ทางสังคม • ทางจิตวิญญาณ

  6. การบริหารความเสี่ยง เพื่อรับรู้ จำกัดและควบคุมผลกระทบ เพื่อลดโอกาสและปริมาณความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น

  7. ระบบบริหารความเสี่ยงเดิมที่มีอยู่ระบบบริหารความเสี่ยงเดิมที่มีอยู่ • อาชีวอนามัย • การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ • การดูแลรักษาพยาบาล • ระบบยา • การป้องกันอัคคีภัย • การรักษาความปลอดภัย

  8. ใครมีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยงในโรงพยาบาล ?

  9. เราจะเริ่มต้นการบริหารความเสี่ยงอย่างไร?เราจะเริ่มต้นการบริหารความเสี่ยงอย่างไร?

  10. การบริหารความเสี่ยง ระดับหน่วยงาน

  11. การค้นหาความเสี่ยง • การประเมินความเสี่ยง • การจัดการความเสี่ยง • การประเมินผล

  12. กระบวนการบริหารความเสี่ยงกระบวนการบริหารความเสี่ยง ควบคุมความเสี่ยง -หลีกเลี่ยง -ป้องกัน -ถ่ายโอน -แบ่งแยก -ลดความสูญเสีย การจ่ายเงินชดเชย ประเมินความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง -ศึกษาจากอดีต -สำรวจในปัจจุบัน -เฝ้าระวังไปข้างหน้า ประเมินผลระบบ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:05

  13. การค้นหาความเสี่ยง( risk identification ) • การเรียนรู้จากประสบการณ์ในอดีต ก.ระบบบันทึกข้อมูลที่มีอยู่แล้ว ข. ประสบการณ์ของบุคคล • เรียนรู้จากประสบการณ์ของคนอื่น • เรียนรู้จากกระบวนการทำงาน • จากเพื่อนนอกหน่วยงาน

  14. แหล่งความเสี่ยง • ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ • ผู้ปฏิบัติงาน • กระบวนการทำงาน/การสื่อสาร • เครื่องมือ/อุปกรณ์ • โครงสร้างทางกายภาพ

  15. อุบัติการณ์คืออะไร ? • อุบัติการณ์คือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นนอกเหนือความคาดหมายจากการทำงานตามปกติ

  16. การรายงานอุบัติการณ์มีความสำคัญอย่างไร ? • รวบรวมบันทึกเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น • รวบรวมเป็นบทเรียนเพื่อการแก้ไข • สร้างวัฒนธรรมในการเรียนรู้ร่วมกันโดยไม่กล่าวโทษกัน

  17. การรายงานอุบัติการณ์อาจอยู่ในรูปแบบของการรายงานอุบัติการณ์อาจอยู่ในรูปแบบของ • รายงานอุบัติการณ์ • การบันทึกลงสมุด • การบอกเล่าหัวหน้างาน • อื่นๆ

  18. รายงานอุบัติการณ์ • รายงานอุบัติการณ์ • เป็นการระบุเหตุการณ์ทั้งหมดซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการดูแลผู้ป่วยตามปกติ • เป็นการระบุปัญหาและผลที่ตามมา • ไม่แทรกความคิดเห็น • ไม่ได้เป็นการตำหนิหรือกล่าวโทษเพื่อนร่วมงาน • ไม่ได้เป็นการยอมรับว่าละเลย • นำไปสู่การตั้งคำถามต่อวิธีปฏิบัติที่ข้องใจ

  19. ระบบรายงานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ระบบรายงานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ • มีคำจำกัดความของอุบัติการณ์/เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ของรพ. • มีแนวทางที่ชัดเจนว่า ในกรณีใดที่จะต้องรายงาน • กำหนดผู้มีหน้าที่ในการเขียนรายงาน • กำหนดเส้นทางเดินของรายงานที่รัดกุม เป็นหลักประกันในการรักษาความลับ และไม่อนุญาตผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ • การสร้างความเข้าใจว่า การแก้ปัญหานี้มิใช่การลงโทษ

  20. การรายงานอุบัติการณ์ • ระบบรายงานไม่ยุ่งยากซับซ้อน เสียเวลา • ระบบรายงานทำให้ผู้รายงานไม่รู้สึกกลัว • ข้อมูลรายงานต้องได้รับการรักษาความลับ • หน่วยรับระบบรายงานต้องเป็นอิสระจากอำนาจการบริหารที่สามารถให้คุณให้โทษได้ • รายงานจะได้รับการวิเคราะห์โดยผู้ที่เข้าใจสถานการณ์

  21. รายงานจะได้รับการตอบสนองอย่างทันเวลารายงานจะได้รับการตอบสนองอย่างทันเวลา • ข้อเสนอแนะในการแก้ไขมุ่งที่การปรับปรุงระบบ • หน่วยงานที่รับรายงานต้องประสานงานให้เกิดการปรับเปลี่ยนเชิงระบบให้เป็นรูปธรรม

  22. กระบวนการบริหารความเสี่ยงกระบวนการบริหารความเสี่ยง ควบคุมความเสี่ยง -หลีกเลี่ยง -ป้องกัน -ถ่ายโอน -แบ่งแยก -ลดความสูญเสีย การจ่ายเงินชดเชย ประเมินความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง -ศึกษาจากอดีต -สำรวจในปัจจุบัน -เฝ้าระวังไปข้างหน้า ประเมินผลระบบ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:05

  23. การประเมินความเสี่ยง

  24. ตารางวิเคราะห์ความเสี่ยงตารางวิเคราะห์ความเสี่ยง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:18

  25. Probability May happen Likely/Frequent 1/100 Several times in 1 year Possible/Occasional 1/1000 Several times in 1-2 years Unlikely/Uncommon 1/10000 Sometime in 2-5 years Rare/Remote <1/10000 Sometime in 5-30 years ระดับของโอกาสเกิดความเสี่ยง (Probability)

  26. Description Catastrophic event เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดการเสียชีวิตหรือทุพพลภาพ (permanent loss of function) ฆ่าตัวตายถูกข่มขืน Major event Major permanent harm รวมทั้งปฏิกิริยาจากการให้เลือด (hemolytic transfusion reaction), การผ่าตัดผิดคน/ผิดข้าง, การขโมยทารก, การจำหน่ายทารกผิด, ต้องมีการผ่าตัดแก้ไข, ผู้ป่วยต้องอยู่นานขึ้นหรือเข้า ICU มากกว่า 15 วัน, ผู้รับบริการมีความไม่พึงพอใจสูง Moderate event Semi-permanent harm (up to 1 year), นอนรพ.นานขึ้นหรือเข้า ICU 8-15 วัน Minor event Non-permanent harm (up to 1 month), นอนรพ.นานขึ้นหรือเข้า ICU 1-7 วัน ระดับความรุนแรงของความเสี่ยง (Severity)

  27. Minor Moderate Major Catastrophic Likely/Frequent Low Moderate High High Possible/Occasional Low Moderate High High Unlikely/Uncommon Low Low Moderate High Rare/Remote Low Low Moderate High Risk Matrix

  28. เมื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงได้แล้ว ควรนำมาจัดหาวิธีการป้องกันความเสี่ยงที่มีความสำคัญในลำดับต้นๆ

  29. กระบวนการบริหารความเสี่ยงกระบวนการบริหารความเสี่ยง ควบคุมความเสี่ยง -หลีกเลี่ยง -ป้องกัน -ถ่ายโอน -แบ่งแยก -ลดความสูญเสีย การจ่ายเงินชดเชย ประเมินความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง -ศึกษาจากอดีต -สำรวจในปัจจุบัน -เฝ้าระวังไปข้างหน้า ประเมินผลระบบ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:05

  30. การควบคุมความเสี่ยง • การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง • การผ่องถ่ายความเสี่ยง • การป้องกันความเสี่ยง • การลดความสูญเสีย • การแบ่งแยกความเสี่ยง

  31. กระบวนการบริหารความเสี่ยงกระบวนการบริหารความเสี่ยง ควบคุมความเสี่ยง -หลีกเลี่ยง -ป้องกัน -ถ่ายโอน -แบ่งแยก -ลดความสูญเสีย การจ่ายเงินชดเชย ประเมินความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง -ศึกษาจากอดีต -สำรวจในปัจจุบัน -เฝ้าระวังไปข้างหน้า ประเมินผลระบบ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:05

  32. การประเมินผลโดยใช้วงจรPDCAการประเมินผลโดยใช้วงจรPDCA

  33. แนวทางการป้องกันความเสี่ยงแนวทางการป้องกันความเสี่ยง ความเสี่ยง แนวทางป้องกัน • จัดทำแนวทางปฏิบัติในการเตรียมและให้เลือดเทียบกับแนวทางของสภากาชาดไทย • จัดทำแนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาล • สื่อสารให้เกิดการปฏิบัติอย่างครอบคลุม • ติดตามประเมินผลการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง การให้เลือดผิด

  34. ความเสี่ยง แนวทางป้องกัน • จัดทำคู่มือการให้ Magnesium Sulfate ในห้องคลอด ผู้ป่วยครรภ์เป็นพิษมีการชักในห้องคลอด แนวทางการป้องกันความเสี่ยง

  35. ความเสี่ยง แนวทางป้องกัน • ประเมินผู้ป่วยที่เสี่ยงถูกต้อง • จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วย • นำลงสู่การปฏิบัติ • วิเคราะห์ทบทวนแนวทาง ผู้ป่วยครรภ์เป็นพิษ ชักในห้องคลอด แนวทางการป้องกันความเสี่ยง

  36. ROOT CAUSE ANALYSIS

  37. RCAคือการค้นหาปัจจัย ที่เป็นรากของปัญหาหรือสาเหตุของการเกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ โดยมุ่งเน้นที่ระบบ/กระบวนการ เพื่อที่จะหาโอกาสที่จะปรับปรุง อันจะนำไปสู่การลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวซ้ำ

  38. จะทำ RCAเมื่อใด • RCA เชิงรับ คือการวิเคราะห์เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์หรือเกิดเหตุเกือบพลาด เพื่อนำไปสู่การกำหนดแนวทางป้องกัน • RCA เชิงรุก คือการวิเคราะห์โอกาสเกิดปัญหาหรือข้อบกพร่องต่างๆ โดยมีสมมติฐานว่าความบกพร่องสามารถเกิดขึ้นได้ตั้งแต่เหตุการณ์ยังไม่เกิด อาจเรียกว่า failure mode analysis

  39. ลักษณะที่ดีของ RCA & action plan • มุ่งเน้นที่ระบบและกระบวนการ • เริ่มจากสาเหตุที่เกิดไปสู่สาเหตุร่วมของระบบในองค์กร • เจาะลึกด้วยคำถาม “ทำไม”. • ค้นหาการเปลี่ยนแปลงระบบและกระบวนการที่เป็นไปได้

  40. วิเคราะห์อย่างครอบคลุม ทั้งปัจจัยด้านคน ระบบ/กระบวนการ ระบุจุดเสี่ยงและผลที่มีโอกาสเกิดขึ้น รวมทั้งโอกาสที่จะปรับปรุงกระบวนการหรือระบบ • เป็นที่น่าเชื่อถือ • ผลการวิเคราะห์ควรถูกต้อง ชัดเจน สอดคล้อง สมบูรณ์ เป็นระบบ

  41. กระบวนการตอบสนองต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์กระบวนการตอบสนองต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ • การดำเนินการขั้นต้น (immediate action)เพื่อให้แก้ไขเฉพาะหน้าได้อย่างทันท่วงทีและเหมาะสม • พิจารณาระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ • จัดตั้งทีม ระบุปัญหา และวางแผนปฏิบัติการ • การศึกษาปัญหาและรวบรวมข้อมูล

  42. 5. การค้นหาสาเหตุเบื้องต้น 5.1 พิจารณาว่าเกิดอะไรขึ้น 5.2 ค้นหาปัจจัยกระบวนการที่ส่งเสริมให้เกิดเหตุ (contributing factor) 5.3 ค้นหาเหตุอื่นๆ 5.4 เก็บตัวชี้วัดเกี่ยวกับสาเหตุ 5.5 การออกแบบและดำเนินการเปลี่ยนแปลง

  43. 6. การค้นหา root cause 6.1 ระบุระบบที่เกี่ยวข้อง 6.2 สรุปบัญชีรายการ root cause 6.3 การยืนยัน root cause 7. การออกแบบและดำเนินการปรับปรุง 8. การทบทวนข้อมูลอุบัติการณ์รวม

  44. การวิเคราะห์สาเหตุรากการวิเคราะห์สาเหตุราก การวิเคราะห์สาเหตุราก จะมุ่ง 1)ระบบและกระบวนการเป็นหลัก ไม่ใช่การปฏิบัติส่วนบุคคล โดยมุ่งจาก 2)สาเหตุเฉพาะที่เกิดขึ้นในกระบวนการทางคลินิกจนถึงสาเหตุทั่วไปในกระบวนการขององค์กรและ 3)ระบุการเปลี่ยนแปลงกระบวนการหรือระบบที่มีศักยภาพในการลดโอกาสเกิดเหตุการณ์เช่นเดิมในอนาคต

  45. เหตุการณ์พึงสังวร(sentinel events) เหตุการณ์พึงสังวร เป็นอุบัติการณ์ที่ไม่คาดคิดซึ่งนำไปสู่การตาย หรือบาดเจ็บรุนแรงต่อร่างกาย หรือ จิตใจ หรือความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติการณ์ดังกล่าว ผู้ป่วยต้องกลับเข้ามารักษาตัวในหอผู้ป่วยหนัก

  46. การยืนยันสาเหตุราก เมื่อได้รายการสาเหตุมาจำนวนหนึ่ง ให้พิจารณาตัดทอนให้เหลือสาเหตุที่เป็น สาเหตุราก จริงๆ โดยการตั้งคำถาม • ถ้าแก้ไขสาเหตุนี้แล้ว จะเกิดปัญหาซ้ำขึ้นอีกได้หรือไม่ • ถ้าปัจจัยนี้เป็นสาเหตุรากที่จริงแล้ว จะอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างไร

  47. การยืนยันสาเหตุราก JCAHO รวบรวมการวิเคราะห์ สาเหตุราก จากโรงพยาบาลต่างๆ พบว่าเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงแต่ละครั้งจะมีสาเหตุราก 4-6 ประการ ถ้าทีมระบุได้มากกว่า 4 ประการ อาจเนื่องจาก 1) มีการระบุสาเหตุเฉพาะมากเกินไป 2) ควรทบทวนว่าจะรวมสาเหตุบางประการเข้าด้วยกัน เพื่อสะท้อนสาเหตุเชิงระบบที่เป็นพื้นฐานได้หรือไม่ 3) ทีมควรตรวจสอบความถูกต้องและความสอดคล้องในข้อมูลของสาเหตุรากที่เหลือแต่ละประเด็น

  48. การยืนยันสาเหตุราก คำถามที่จะช่วยให้ทีมตรวจสอบได้ว่าระบุสาเหตุรากครบถ้วนแล้ว • เมื่อถามว่าอะไรทำให้เกิดสาเหตุรากนี้แล้วไม่มีคำตอบ • การสนทนาจบลงในเชิงบวก • ทุกคนที่สืบสวนเห็นพ้องว่าสิ่งนี้คือสาเหตุรากซึ่งทำให้เกิดปัญหาอยู่เรื่อยๆ • สาเหตุรากสามารถอธิบายได้จากทุกมุมมองว่าทำไมจึงเกิดปัญหา

  49. การยืนยันสาเหตุราก คำถามที่จะช่วยให้ทีมตรวจสอบได้ว่าระบุสาเหตุรากครบถ้วนแล้ว • จุดเริ่มของเหตุการณ์ได้รับการสำรวจและเป็นที่เข้าใจ • สาเหตุรากมีตรรกะ รับฟังได้ และขจัดความสับสนทั้งหมด • สาเหตุรากเป็นสิ่งที่สามารถจัดการแก้ไข และควบคุมได้ • ทุกคนเกิดความหวังว่าจะสามารถจัดการบางสิ่งบางอย่างเพื่อป้องกันการเกิดซ้ำได้ • เห็นคำตอบที่นำไปปฏิบัติได้ เพื่อจัดการกับอาการที่หนักหนา • เห็นคำตอบที่เป็นไปได้สำหรับการแก้ไขปัญหาที่ยั่งยืน

  50. ขั้นตอนการทำ RCA แบบง่าย • จัดตั้งทีม • ระบุปัญหา • ศึกษาปัญหา • วิเคราะห์สาเหตุที่เป็นไปได้ • วิเคราะห์หา root cause

More Related