530 likes | 1.07k Views
การวิเคราะห์มิติสัมพันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS. ดร.ประพันธ์ วงศ์บางโพ และ ชูชาติ เมสันธสุวรรณ. สารบัญ. การ เฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss มิติสัมพันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS การวิเคราะห์ด้านเงินทุน – C apital การวิเคราะห์ด้านสินทรัพย์ – A sset
E N D
การวิเคราะห์มิติสัมพันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS ดร.ประพันธ์ วงศ์บางโพ และ ชูชาติ เมสันธสุวรรณ
สารบัญ • การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss • มิติสัมพันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS • การวิเคราะห์ด้านเงินทุน – Capital • การวิเคราะห์ด้านสินทรัพย์ – Asset • การวิเคราะห์ด้านกำไร – Earnings • การวิเคราะห์ด้านสภาพคล่อง – Liquidity
CFSAWS:ss Cooperative Financial Surveillance and Warning System : set standard เครื่องมือเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงิน ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
เครื่องมือเตือนภัยและเฝ้าระวังทางการเงินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเครื่องมือเตือนภัยและเฝ้าระวังทางการเงินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร CFSAWS:ss อัตราส่วนค่าใช้จ่าย ดำเนินงานต่อกำไร อัตราส่วนค่าใช้จ่าย ดำเนินงานต่อกำไร อัตราลูกหนี้ที่ชำระหนี้ ได้ตามกำหนด อัตราลูกหนี้ที่ชำระหนี้ ได้ตามกำหนด อัตราส่วนทุนสำรอง ต่อสินทรัพย์ อัตราส่วนทุนสำรอง ต่อสินทรัพย์ CFSAWS:ss CFSAWS:ss CFSAWS:ss CFSAWS:ss จดลิขสิทธิ์ จดลิขสิทธิ์ Cooperative Financial Surveillance and Warning System : Set Standard
แสดงถึงความสามารถที่ล้ำหน้า ควรรักษาระดับให้คงอยู่อย่างต่อเนื่อง แสดงถึงความสามารถพอใช้ได้ ซึ่งอาจจะสามารถปรับปรุงพัฒนาได้อีก แสดงถึงความสามารถที่อาจต้องแก้ไขปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้น
สารบัญ • การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss • มิติสัมพันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS • การวิเคราะห์ด้านเงินทุน – Capital • การวิเคราะห์ด้านสินทรัพย์ – Asset • การวิเคราะห์ด้านกำไร – Earnings • การวิเคราะห์ด้านสภาพคล่อง – Liquidity
มิติสัมพันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS สภาพของ ดิน ฟ้า อากาศ กำบังและแหล่งที่มา ของเงินทุน C ปริมาณน้ำฝนเข้าtank แหล่งที่เอาเงินไปเพิ่มมูลค่าหรือทำลายมูลค่า A ตัดสินใจ บริหาร และจัดการ M ปริมาณสำรองน้ำ แหล่งกำเนิดเงินที่เลี้ยงองค์กรทำธุรกิจต่อไปได้ E มีเงินสดเพียงพอชำระหนี้ L S ปัจจัยสภาพแวดล้อม สภาพรูรั่วของtank เลือกขนาด ความหนา บำรุงรักษา tank และกำหนดปริมาณใช้น้ำ CFSAWS:ss อาการพื้นฐานที่สำคัญ CAMELS ปริมาณน้ำพียงพอการใช้
ประเด็นที่วิเคราะห์ในแต่ละมิติประเด็นที่วิเคราะห์ในแต่ละมิติ วัตถุประสงค์ CAMELS Component ประเด็น • ระดับและคุณภาพของทุน • ความสามารถของฝ่ายจัดการในการระดมทุนฉุกเฉิน • ความเสี่ยงนอกงบดุล • ระดับการตั้งสำรอง • ความเพียงพอทุนกับการเจริญเติบโต • ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง Capital • สัดส่วนของหนี้สูญ • สัดส่วนของสินทรัพย์เสี่ยง • การกระจุกตัวของสินทรัพย์ • การขยายตัวของสินเชื่อ • การให้ความสำคัญฝ่ายจัดการกับคุณภาพสินทรัพย์ Asset • คุณภาพของสินทรัพย์ • นโยบายผลตอบแทนของ • พนักงานและผู้บริหาร • ความสามารถของฝ่ายบริหารและการสืบทอดการบริหาร • บทบาทในการบริหารความเสี่ยง • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ • ความสามารถของคณะกรรมการและฝ่ายจัดการ Management • ระดับของกำไรรวมแนวโน้ม • และความผันผวน • คุณภาพของกำไร • ค่าใช้จ่าย • กระบวนการควบคุมงบประมาณ Earnings • ความสามารถในการทำกำไร • ความเพียงพอของสภาพคล่อง • ความผันผวนของเงินฝาก • สินทรัพย์สภาพคล่อง • การให้ความสำคัญของฝ่ายบริหารกับสภาพคล่อง • ความเพียงพอของสภาพคล่องต่อความต้องการใช้เงิน Liquidity • ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย • ราคาหุ้น ราคาสินค้า • ระบบของการบริหารความเสี่ยง • ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภายนอกที่จะเกิดขึ้นต่องบการเงิน Sensitivity To market risk
ปัจจัยกำหนดผลลัพธ์ทางด้านการเงินปัจจัยกำหนดผลลัพธ์ทางด้านการเงิน วัฐจักรเศรษฐกิจ วัฐจักรสินค้า โครงสร้างองค์กร และสมาชิก ภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรม การวางกลยุทธ์และตำแหน่งการแข่งขัน C E การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี่ A L ความสามารถหลักขององค์กร นโยบายและข้อปฏิบัติ อำนาจต่อรองของผู้ซื้อ วัฒนธรรม อำนาจต่อรองของผู้ขาย การทดแทนของสินค้า ผลลัพธ์ทางการเงินคืออิทธิพลระหว่างปัจจัยภายนอกกับภายใน การมองจากภายนอกเข้าสู่ภายใน ปัจจัยแวดล้อมทางเศรษฐกิจและธุรกิจ(S) โครงสร้างองค์กรและการบริหารงาน (M) ผลการดำเนินงานทางด้านการเงินขององค์กร (CAEL)
มิติการวิเคราะห์ในระบบของ CAMELS การเงิน การบริหาร ความเสี่ยง C A E L M S จัดกลุ่มใหม่ ปัจจุบัน อนาคต มิติการวิเคราะห์ในระบบของ CAMELs ประกอบไปด้วย 6 ด้านหลัก เพื่อให้ครอบคลุมการเปลี่ยนแปลงในอนาคต และเป็นเครื่องมือในการเตือนภัยล่วงหน้า (early warning system) Rating Component การพิจารณาด้านที่จะนำมาวิเคราะห์ Capital Asset Management Earnings Liquidity Sensitivity To market risk CAMELS
สารบัญ • การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss • มิติสัมพันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS • การวิเคราะห์ด้านเงินทุน – Capital • การวิเคราะห์ด้านสินทรัพย์ – Asset • การวิเคราะห์ด้านกำไร – Earnings • การวิเคราะห์ด้านสภาพคล่อง – Liquidity
ประเด็นที่วิเคราะห์ในเรื่องทุนประเด็นที่วิเคราะห์ในเรื่องทุน เงินทุนเป็นเกราะป้องกันการผันผวนของการดำเนินงานได้ และยังเป็นที่มาของเงินทุนที่มีต้นทุนต่ำ แต่ในระบบสหกรณ์ ทุนเรือนหุ้นยังสามารถไถ่ถอนได้นอกจากนั้น มีการจ่ายเงินปันผลสูงเป็นประเพณีปฏิบัติโดยอาศัยการกู้ยืมเงินภายนอก งบดุล งบกำไรขาดทุน สินทรัพย์ = กำไร การขาดทุน จะกัดกร่อนทุน หนี้สิน ภาระที่ต้องคืน แนวโน้มมีการดำเนินงาน จากกำไรไปขาดทุน หนี้สิน + ทุน หนี้สิน ทุนเรือนหุ้น ไถ่ถอนคืน ทุน - ทุน ภาวะปกติ ภาวะอ่อนแอ อาจเกิดภาวะ เงินออมวิ่งออก (deposit and shares run) ภาวะล้มละลาย หนี้สิน>สินทรัพย์ ประเด็นที่ควรวิเคราะห์ 1. ความเพียงพอและความเข้มแข็งของทุน 2. การก่อหนี้ ขาดทุน
ความเพียงพอและความเข้มแข็งของทุนความเพียงพอและความเข้มแข็งของทุน ความเข้มแข็งขององค์กรสามารถวัดได้จากการมีทุนสถาบันเพียงพอกับความเสี่ยงต่างๆได้ ทุนสถาบันควรมีลักษณะที่ไม่สามารถถอนได้และไม่ผูกพันที่จะต้องจ่ายผลตอบแทน ความเข้มแข็ง ขององค์กร • ความผันผวน • ทางด้านธุรกิจ • การกู้ยืมเงินมากไป • หนี้สูญ (ความเสี่ยง • ด้านเครดิต) • การลงทุนที่มี • ผลตอบแทนต่ำ • ระยะยาว หรือมี • ผลตอบแทนที่ผัน • ผวน (ความเสี่ยงด้าน • ตลาดการเงิน) • ทุนที่มีอยู่ติดองค์กร • ตลอด • ทุนที่ไม่ผูกพันที่จะต้องจ่ายผลตอบแทน ความเสี่ยง ทุนสถาบัน
CAMELSมิติ C : ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง/ความเข้มแข็งของเงินทุน 1 เงินทุนดำเนินงาน …...บาท/ล้านบาท ผลตอบแทนต่อส่วนของทุน ……% 2 แหล่งเงินทุน 3 สัดส่วนหนี้สินทั้งสิ้นต่อทุน ของสหกรณ์ .....เท่า • ภายในสหกรณ์ .…บาท/ล้านบาท ..% • - เงินรับฝากสมาชิก.…บาท/ล้านบาท ..% • - ทุนของสหกรณ์ ….บาท/ล้านบาท ..% • - อื่นๆ ….บาท/ล้านบาท ..% • ภายนอกสหกรณ์ ….บาท/ล้านบาท ..% • - เงินกู้ยืม/เครดิตการค้า..บาท/ล้านบาท ..% • - เงินรับฝากสหกรณ์และอื่นๆ...บาท/ล้านบาท...% • ทุนสำรองต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น ….. เท่า • หนี้สินทั้งสิ้น ...บาท/ล้านบาท • ทุนของสหกรณ์ ...บาท/ล้านบาท การเติบโตทุนของสหกรณ์ .....% การเติบโตของหนี้สิน .....%
การวัดความเพียงพอและความเข้มแข็งของทุนการวัดความเพียงพอและความเข้มแข็งของทุน ในระบบสถาบันการเงินจะใช้เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงเป็นอัตราส่วนที่สำคัญ และมีแนวโน้มจะเริ่มใช้วิธีใหม่ที่ประเมินความเสี่ยงออกมาเป็นตัวเลขในอนาคตอันใกล้ ระดับคุณภาพโดยรวม ชื่อเรียก สูตรอัตราส่วน ทุน สินทรัพย์ทั้งหมด ความเพียงพอและเข้มแข็งของ สถาบัน ทุนต่อสินทรัพย์รวม > 7%-8% ทุนสำรอง สินทรัพย์ทั้งหมด ทุนสถาบันต่อสินทรัพย์รวม > 5%-7%
การวัดระดับการก่อหนี้การวัดระดับการก่อหนี้ ในการวัดระดับการก่อหนี้ ควรให้ความสำคัญกับระดับหนี้ที่เหมาะสมตามทุนสำรอง และเน้นแหล่งเงินภายในเป็นหลัก การวัดระดับการก่อหนี้ สูตรอัตราส่วน ระดับคุณภาพโดยรวม อัตราส่วนที่ใช้วัด อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนสำรอง (debt to capital reserve ratio) หนี้สิน + ทุนเรือนหุ้น ทุนสำรอง + สำรองเผื่อหนี้สูญ + สำรองอื่นๆ < 10 เท่า การกู้บืมเงินภายนอก (borrowed fund ratio) ยอดคงค้างเงินกู้ยืมภายนอก สินทรัพย์ < 5%-7%
การวัดความสามารถในการชำระหนี้-ก่อหนี้การวัดความสามารถในการชำระหนี้-ก่อหนี้ การวัดความสามารถในการชำระหนี้ (debt capacity) สูตรอัตราส่วน ระดับคุณภาพโดยรวม อัตราส่วนที่ใช้วัด อัตราส่วนคุ้มครองดอกเบี้ย (interest coverage) กำไรก่อนหักภาษี ดอกเบี้ย ค่าเสื่อม และ ค่าตัดจ่าย (EBITDA) หนี้สินรวม > 25%-30% หรือ กระแสเงินจากการดำเนินงาน หนี้สินรวม อัตราส่วนคุ้มครองดอกเบี้ย (interest coverage) กำไรก่อนหักภาษีและดอกเบี้ย ( EBIT) ดอกเบี้ยจ่าย > 3-4 เท่า
สารบัญ • การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss • มิติสัมพันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS • การวิเคราะห์ด้านเงินทุน – Capital • การวิเคราะห์ด้านสินทรัพย์ – Asset • การวิเคราะห์ด้านกำไร – Earnings • การวิเคราะห์ด้านสภาพคล่อง – Liquidity
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สินทรัพย์วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สินทรัพย์ การวิเคราะห์ถึงคุณภาพของสินทรัพย์ต่างๆ โดยมุ่งไปที่สินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้และผลกระทบต่อฐานะการเงินของสหกรณ์ ความเพียงพอของสำรองต่อการด้อยคุณภาพของสินทรัพย์เพื่อป้องกันผลกระทบต่อฐานะการเงินของสหกรณ์ และแหล่งที่มาของเงินทุนเพื่อมาลงทุนในสินทรัพย์เหล่านี้ สินทรัพย์ สินทรัพย์ ไม่สร้าง กำไร เกินความต้องการ สินทรัพย์ หมุนเวียน กำไร ไม่มีคุณภาพ เงินให้กู้และ เงินลงทุน ไม่มีประสิทธิภาพ สินทรัพย์ถาวร แหล่ง เงินทุน
การวิเคราะห์แนวโน้มของคุณภาพของสินทรัพย์การวิเคราะห์แนวโน้มของคุณภาพของสินทรัพย์ การวิเคราะห์คุณภาพสินทรัพย์ส่วนใหญ่จะเน้นไปที่สภาพปัจจุบัน ไม่ครอบคลุมไปถึงอนาคตด้วยทำให้ไม่สามารถคาดการณ์การเกิดความผันผวนของผลการดำเนินงานในอนาคต การกระจายตัวของสินเชื่อและเงินลงทุน มาตรฐานของกฎระเบียบและการปฏิบัติของการปล่อยกู้ การบริหารสินทรัพย์ที่เหมาะสมใน การเร่งรัดการจัดเก็บและ แก้ไขหนี้ที่มีปัญหา ความเสี่ยงของการลงทุน แนวโน้ม สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
CAMELSมิติ A : คุณภาพของสินทรัพย์ 1 สินทรัพย์ ………บาท/ล้านบาท ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ...…% 2 การลงทุนในสินทรัพย์ 3 อัตราหมุนของสินทรัพย์ …..รอบ • เงินสด/เงินฝากธนาคาร/สก......บาท/ล้านบาท ..% • ลูกหนี้ ...บาท/ล้านบาท ..% (ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) (...)บาท/ล้านบาท (..)% • ที่ดิน/อาคาร/อุปกรณ์ ...บาท/ล้านบาท ..% • หลักทรัพย์/ตราสาร ...บาท/ล้านบาท ..% • สินค้าและอื่น ๆ …บาท/ล้านบาท ..% • NPL/หนี้ชำระไม่ได้ตามกำหนด..บาท/ล้านบาท • หรืออัตราการค้างชำระหนี้ .…..% ขาย/บริการ ... บาท/ล้านบาท (รายได้ธุรกิจหลัก) การเติบโตของสินทรัพย์ ....%
การวัดคุณภาพสินทรัพย์ของธุรกิจการเงินการวัดคุณภาพสินทรัพย์ของธุรกิจการเงิน การวัดคุณภาพสินทรัพย์ของธุรกิจการเงินจะเน้นไปที่หนี้ที่ค้างชำระและสินเชื่อไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) อัตราส่วนวัดสภาพคล่องจากการให้สินเชื่อ สูตรอัตราส่วน ระดับคุณภาพโดยรวม อัตราส่วนที่ใช้วัด อัตราส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL ratio) สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ สินเชื่อทั้งสิ้น < 1%-2% ลูกหนี้ค้างชำระหนี้ สินเชื่อทั้งสิ้น อัตราการค้างชำระหนี้ (delinquency ratio) < 3%-4%
การวัดประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ของธุรกิจทั่วไปการวัดประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ของธุรกิจทั่วไป การวัดประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ของธุรกิจทั่วไปจะเป็นไปด้วยความยากลำบาก เนื่องจาก ลักษณะที่แตกต่างกันไปตามธุรกิจ ฉะนั้นการวัดจึงเน้นไปที่ตัวภาพรวมอย่างอัตราการหมุนและผลตอบแทนของสินทรัพย์ อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ สูตรอัตราส่วน ระดับคุณภาพโดยรวม อัตราส่วนที่ใช้วัด อัตราส่วนหมุนเวียนของสินทรัพย์ (asset turnover ratio) ขาย/บริการ สินทรัพย์ทั้งสิ้นถัวเฉลี่ย แตกต่างไปแต่ละธุรกิจ ควรเปรียบเทียบภายในธุรกิจเดียวกัน กำไรจากดำเนินงาน สินทรัพย์ทั้งสิ้นถัวเฉลี่ย แตกต่างไปแต่ละธุรกิจ ควรเปรียบเทียบภายในธุรกิจเดียวกัน อัตราตอบแทนของสินทรัพย์ (ROA ratio)
สารบัญ • การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss • มิติสัมพันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS • การวิเคราะห์ด้านเงินทุน – Capital • การวิเคราะห์ด้านสินทรัพย์ – Asset • การวิเคราะห์ด้านกำไร – Earnings • การวิเคราะห์ด้านสภาพคล่อง – Liquidity
วัตถุประสงค์ของวิเคราะห์กำไรวัตถุประสงค์ของวิเคราะห์กำไร การวิเคราะห์ความยั่งยืนขององค์กรที่จะสามารถแข่งขัน ระดมเงินทุนได้ ปรับตัวตามภาวะที่เปลี่ยนแปลงไป และไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่เลวร้าย กฎระเบียบและนโยบายรัฐ การเปลี่ยน แปลงทาง สภาวะทาง สังคมและประชากร ศาสตร์ ภาวะแข่งขัน การเพิ่มขึ้นของจำนวนสมาชิกของสหกรณ์ไม่ได้เป็นตัวชี้ที่เพียงพอในการบ่งบอกความสำเร็จของสหกรณ์ ถ้าหากความสามารถในการทำกำไรของสหกรณ์ยังต่ำและมีแนวโน้มลดลงด้วย จะให้สัญญาณเตือนขีดความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์ ภาวะเศรษฐกิจ
ความได้เปรียบการแข่งขัน (Competitive Advantage) • สามารถในบริการหรือเสนอ • สินค้าได้ตามความต้องการของลูกค้าและแตกต่างจากคู่แข่งขัน • สามารถลดต้นทุนให้กับลูกค้า • สามารถเพิ่มผลการดำเนินงานให้กับลูกค้า • ให้ลูกค้ารับรู้ถึงคุณค่าของสินค้า • การประหยัดต่อขนาด • การควบคุมกิจกรรมเพื่อลดต้นทุน • การบริหารการเรียนรู้ • การบริหารกำลังการผลิต • การบริหารห่วงโซ่อุปทาน • การรวมกลุ่มและแยกกลุ่มธุรกิจ • การใช้เทคโนโลยี่ ความได้เปรียบการแข่งขัน ความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์เท่านั้นจะเป็นตัวบ่งบอกถึงความยั่งยืนโดยธรรมชาติขององค์กร ความได้เปรียบในการแข่งขัน สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่……. ราคา/ต้นทุน ต่อหน่วย แหล่งที่มาความได้เปรียบ ราคาสูงกว่า ทางความแตกต่าง • ผู้ซื้อสินค้ายินดีที่จ่ายสินค้าสูงกว่า • ต้นทุนต่อหน่วยต้องใกล้เคียงต้นทุนโดยเฉลี่ยของธุรกิจนี้ Differentiation ต้นทุนต่อหน่วย โดยเฉลี่ยของธุรกิจ สหกรณ์ ก. ทางต้นทุน ราคา/ต้นทุน ต่อหน่วย • ต้นทุนต่อหน่วยต้องต่ำกว่าหรือใกล้เคียงต้นทุนโดยเฉลี่ยของธุรกิจนี้ • ผู้ซื้อสินค้าพอใจกับคุณภาพสินค้า-บริการเท่ากับที่อื่น จึงยินดีที่จ่าย ณ ราคาสินค้าเท่ากับที่อื่น ราคา Cost Advantage ต้นทุนต่อหน่วยต่ำกว่า สหกรณ์ ก. โดยเฉลี่ยของธุรกิจ
CAMELSมิติ E : การทำกำไร 1 ความสามารถในการทำกำไร อัตรากำไรสุทธิ ....% 2 กำไร(ขาดทุน)..บาท/ล้านบาท 3 อัตราเฉลี่ยต่อสมาชิก • รายได้ ....บาท/ล้านบาท 100 % • รายได้ธุรกิจ ...บาท/ล้านบาท ....% • รายได้เฉพาะธุรกิจ ...บาท/ล้านบาท ....% • รายได้อื่น ...บาท/ล้านบาท ....% • ค่าใช้จ่าย ....บาท/ล้านบาท ....% • ต้นทุนธุรกิจ ....บาท/ล้านบาท ...% • ค่าใช้จ่ายเฉพาะธุรกิจ....บาท/ล้านบาท ...% • ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ....บาท/ล้านบาท ...% • อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร • ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน.... % • รายได้ต่อสมาชิก ..บาท/คน • ค่าใช้จ่ายต่อสมาชิก .. บาท/คน • กำไรต่อสมาชิก .. บาท/คน • เงินออมต่อสมาชิก..บาท/คน • หนี้สินต่อสมาชิก ..บาท/คน • การเติบโตของกำไร ..% • การเติบโตของทุนสำรอง ..% • การเติบโตของทุนสะสมอื่น ..% 28
การเปรียบเทียบการวัดความสามารถการทำกำไรการเปรียบเทียบการวัดความสามารถการทำกำไร การวัดความสามารถในการทำกำไรในธุรกิจการเงินส่วนใหญ่จะใช้ฐานเป็นสินทรัพย์ ขณะที่ธุรกิจทั่วไปจะใช้ฐานเป็นรายได้ ธุรกิจการเงิน ธุรกิจทั่วไป อัตราส่วนที่ใช้วัด สูตรอัตราส่วน สูตรอัตราส่วน ระดับคุณภาพโดยรวม ระดับคุณภาพโดยรวม กำไรสุทธิ (profit margin ratio) กำไรสุทธิ สินทรัพย์รวม กำไรสุทธิ รายได้ แตกต่างไปแต่ละธุรกิจ ควรเปรียบเทียบภายใน ธุรกิจเดียวกัน >2% ค่าใช้จ่าย (expense ratio) ค่าใช้ดำเนินงาน* รายได้ ค่าใช้ดำเนินงานไม่รวมดอกเบี้ยจ่าย ยอดเงินกู้ถั่วเฉลี่ย แตกต่างไปแต่ละธุรกิจ ควรเปรียบเทียบภายใน ธุรกิจเดียวกัน <.5% *ไม่รวมดอกเบี้ยจ่าย
ประเด็นที่ต้องวิเคราะห์ต่อไปประเด็นที่ต้องวิเคราะห์ต่อไป การวิเคราะห์กำไรส่วนใหญ่จะเน้นไปที่สภาพปัจจุบัน ไม่ครอบคลุมไปถึงอนาคตด้วยทำให้ผลการวิเคราะห์ค่อนข้างล่าช้าไม่สามารถเตือนภัยล่วงหน้า ในอนาคต ในปัจจุบัน • ความอ่อนไหวของกำไรในอนาคตต่อ • ภาวะการแข่งขันและราคาผลิตภัณฑ์ ระดับความสามารถในการทำกำไร แหล่งที่มาและคุณภาพของกำไร • ความเพียงพอของการตั้งสำรองทางด้านหนี้สูญ • กระบวนการในการบริหารจัดการงบประมาณ • ต่างๆ การจัดทำค่าใช้จ่ายล่วงหน้า • และการจัดเก็บข้อมูล การบริหารจัดการค่าใช้จ่าย
สารบัญ • การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss • มิติสัมพันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS • การวิเคราะห์ด้านเงินทุน – Capital • การวิเคราะห์ด้านสินทรัพย์ – Asset • การวิเคราะห์ด้านกำไร – Earnings • การวิเคราะห์ด้านสภาพคล่อง – Liquidity
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สภาพคล่องวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สภาพคล่อง วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สภาพคล่อง คือ การพิจารณาว่า องค์กรจะมีแหล่งที่มาของกระแสเงินสดเพียงพอกับภาระผูกพันทางการเงิน (financial obligation) ที่จะถึงกำหนด หรือไม่ ภาระผูกพัน ทางการเงิน (financial obligation แหล่งที่มาของ สภาพคล่อง
สาเหตุของการขาดสภาพคล่องสาเหตุของการขาดสภาพคล่อง สาเหตุหลักของการขาดสภาพคล่องนั้นมาจากการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน (asset and liability management หรือ ALM) ไม่ดีพอ รวมทั้งปัญหาจากผลการดำเนินงาน แหล่งที่มาสภาพคล่อง งบดุล • สินทรัพย์ • สภาพคล่อง • สินเชื่อปกติ • สินเชื่อและ • การลงทุนที่ • ด้อยคุณภาพ • เงินลงทุน • สินทรัพย์คงที่ ดำรงไว้ไม่เพียงพอ ภาระผูกพันทางการเงิน ขยายตัวมากไป งบดุล ไม่มีกระแสเงินเข้า ภาระหนี้สิน ระยะสั้นมาก ภาระ นอกงบดุล ระยะยาวเกินไป ลงทุนมากไปและ ไม่มีผลตอบแทน การถอน เงินฝากมาก กว่าปกติ งบกำไรขาดทุน กระแสเงินสด จากการ ดำเนินงาน มีผลการดำเนินงานที่ไม่ดี
ปัญหาความเหลื่อมล้ำอายุกระแสเงินสด (mismatching) ความเหลื่อมล้ำอายุกระแสเงินสดเกิดจากการพึ่งพิงแหล่งเงินระยะสั้น อย่าง เงินกู้ยืมระยะสั้น เพื่อนำมาลงทุนหรือให้เงินกู้แก่สมาชิกระยะยาว และถ้าไม่สามารถกู้เงินระยะสั้นต่อไปได้เรื่อยๆ ก็อาจนำไปสู่ปัญหาการขาดสภาพคล่องได้ การกู้เงินต่อเรื่อยๆ หนี้สินระยะสั้น ระยะเวลา สินทรัพย์ระยะสั้น ให้กู้ยืม/ ลงทุนระยะยาว เงินที่ได้กลับจากการปล่อยกู้ระยะยาว
การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องน้อยเกินไปการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องน้อยเกินไป การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องไว้ในระดับขั้นต่ำโดยไม่คำนึงถึงภาวะความผันผวนของการถอนเงินหรือการเพิ่มขึ้นในอนาคตอาจก่อให้เกิดปัญหาการขาดเงินสดที่รองรับการถอนเงิน ความผันผวนของการถอนเงิน มีการถอนเงินมากกว่าปกติ ยอดคงค้างเงินฝาก และหุ้น สภาพคล่องที่ต้องจัด เตรียมไว้ สภาพคล่องที่ต้องจัด เตรียมไว้ขั้นต่ำ
คุณภาพของสินทรัพย์สภาพคล่องคุณภาพของสินทรัพย์สภาพคล่อง ช่วงก่อนแปลง หลังแปลง การวิเคราะห์ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นไปที่ความเพียงพอของปริมาณสินทรัพย์สภาพคล่อง มักจะละเลยวิเคราะห์ด้านคุณภาพของสินทรัพย์เหล่านั้น โดยเฉพาะถ้าสินทรัพย์เหล่านั้นเป็นลูกหนี้ที่มีการกู้ยืมเงินต่อ (roll over) ไปเรื่อยๆ หรือ กรณีที่ลงทุนในหุ้นหรือ ตราสารที่มีความเสี่ยงการลดลงของราคาเมื่อขาย มูลค่าสินทรัพย์สภาพคล่องต่ำ แปลงเป็นเงินสด
CAMELSมิติ L : สภาพคล่อง 1 สภาพคล่อง ทางการเงิน อัตราส่วนทุนหมุนเวียน ……..เท่า 2 ร้อยละของสินทรัพย์ หมุนเวียน 4 ระยะเวลา 3 ร้อยละของหนี้สิน หมุนเวียน • เงินสด ..% • เงินฝากธนาคาร/สหกรณ์ ..% • ลูกหนี้ระยะสั้น ..% • หลักทรัพย์/ตราสาร/หุ้น ..% • สินค้า ..% • สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ ..% • อัตราลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระหนี้ได้ตาม • กำหนดต่อหนี้ถึงกำหนดชำระ ...% อายุเฉลี่ยของสินค้า ..วัน • - เจ้าหนี้เงินกู้ระยะสั้น ...% • - เจ้าหนี้การค้า ...% • เงินรับฝาก ...% • เงินค้างจ่ายและอื่นๆ ...%
การวัดสภาพคล่องของธุรกิจการเงินการวัดสภาพคล่องของธุรกิจการเงิน การวิเคราะห์สภาพคล่องจะเน้นไปที่การดำรงสภาพคล่องและการกู้ยืมที่เกินกำลังขององค์กร อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง สูตรอัตราส่วน ระดับคุณภาพโดยรวม อัตราส่วนที่ใช้วัด อัตราส่วนการดำรงสภาพคล่อง (liquidity reserve ratio) เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้น ทุนเรือนหุ้น + เงินรับฝาก + เจ้าหนี้ระยะสั้น > 5% ยอดสินเชื่อคงค้างทั้งหมด เงินออม (ทุนเรือนหุ้น + เงินฝาก) สินเชื่อต่อการออม (loan to deposit ratio) < 100%-120%
การวัดสภาพคล่องของธุรกิจทั่วไปการวัดสภาพคล่องของธุรกิจทั่วไป การวัดสภาพคล่องจะเน้นที่สินทรัพย์หมุนเวียนและรอบการเปลี่ยนเป็นเงินสด อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง อัตราส่วนที่ใช้วัด สูตรอัตราส่วน ระดับคุณภาพโดยรวม สินทรัพย์หมุนเวียน (current ratio) ทรัพย์สินหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน >1.1 เท่า สินทรัพย์หมุนเวียน (quick ratio) ทรัพย์สินหมุนเวียน - สินค้าคงคลัง หนี้สินหมุนเวียน > 0.6 เท่า ลูกหนี้การค้า ขาย/365 > 50-60 วัน + รอบของการเปลี่ยนเป็นเงินสด (cash conversion cycle) สินค้าคงเหลือเฉลี่ย ต้นทุนขาย/365 >30 -40 วัน ค้าปลีก >60-90 วัน ค้าส่ง - เจ้าหนี้การค้า ขาย/365 ควรสอดล้องกับ ระยะเวลาสินท้าคงคลัง
CAMELSมิติ M : ขีดความสามารถในการบริหาร การบริหารจัดการ ขีดความสามารถ/ สมรรถนะของคณะ กรรมการและฝ่าย จัดการ 2 การบริหารงานและ การควบคุมภายใน 1 โครงสร้างธุรกิจ • จำนวนสมาชิก ….คน • ขนาดสหกรณ์ ….. • ธุรกิจสหกรณ์ • รับฝากเงิน .. บาท/ลบ. …% • ให้กู้เงิน .. บาท/ลบ. …% • จัดหาสินค้า ..บาท/ลบ. …% • รวบรวมผลิตผล..บาท/ลบ. ..% • ให้บริการ ...บาท/ลบ. ...% • มูลค่าธุรกิจรวม ....ลบ./ปี • .... ลบ./เดือน • การเติบโตของธุรกิจ … % • การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มี / ไม่มี • - จัดหาผู้ปฎิบัติงานที่มีความรู้ความ • สามารถเหมาะสมกับงาน มี / ไม่มี • - การแบ่งส่วนงานและการกำหนด • หน้าที่ความรับผิดชอบ มี / ไม่มี • - การจัดทำบัญชีและเอกสารหลักฐาน มี / ไม่มี • - การตรวจสอบกิจการ มี / ไม่มี • - การทำแผนและงบประมาณ มี / ไม่มี • - การติดตามประเมินผล มี / ไม่มี • - ชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับ .... • *จัดทำงบการเงิน ได้ / ไม่ได้ ..... • *จัดจ้าง / ไม่จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี ..... 3 แนวโน้มปีหน้า - สมาชิกเพิ่ม(ลด) …% - ทุนเพิ่ม(ลด) …% - ธุรกิจเพิ่ม(ลด) …% - กำไรเพิ่ม(ลด) ....%
CAMELSมิติ S: ผลกระทบของธุรกิจ ความเสี่ยง ผลกระทบของธุรกิจ • ปัจจัยเสี่ยง • ภาวะคู่แข่งทางธุรกิจ • อัตราดอกเบี้ย/ราคาสินค้า • นโยบายการเงินของรัฐ • นโยบายช่วยเหลือของภาครัฐ • ระเบียบ ข้อบังคับ พรบ.ที่เกี่ยวข้อง • สภาพตลาด/เทคโนโลยี/วิทยาการใหม่ๆ • ภัยธรรมชาติ • ฯลฯ
Q&A Thank You