310 likes | 591 Views
การวัดและประเมินผล. น.อ.ศิรัส ลิ้มเจริญ ผช.ผอ.กบท.สปช.ทร. ท่านเข้าใจสิ่งต่อไปนี้หรือไม่. ตัวชี้วัด กลุ่มตัวชี้วัด ดัชนีชี้วัด และกลุ่มดัชนีชี้วัด การวัดแบบ วัตถุวิสัย Objective Measurement อัตวิสัย Subjective Measurement ระดับของข้อมูล Nominal Ordinal Interval Ratio.
E N D
การวัดและประเมินผล น.อ.ศิรัส ลิ้มเจริญ ผช.ผอ.กบท.สปช.ทร.
ท่านเข้าใจสิ่งต่อไปนี้หรือไม่ท่านเข้าใจสิ่งต่อไปนี้หรือไม่ • ตัวชี้วัด กลุ่มตัวชี้วัด ดัชนีชี้วัด และกลุ่มดัชนีชี้วัด • การวัดแบบ • วัตถุวิสัย Objective Measurement • อัตวิสัย Subjective Measurement • ระดับของข้อมูล • Nominal • Ordinal • Interval • Ratio
การบริหารในอดีต ควบคุมด้วย กฎ ระเบียบ บังคับบัญชาตามลำดับชั้น การแก้ปัญหาต้องเป็นไปตามกลไกและทิศทางที่กำหนด เน้นผู้เชี่ยวชาญในงานแต่ละประเภท เป็นอิสระต่อกัน การบริหารในอนาคต เน้นความยืดหยุ่น โครงสร้างองค์กรแบบ matrix แก้ไขปัญหาด้วยความร่วมมือ สร้างทีมที่ทำงานได้หลายด้าน และต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน การบริหารในอดีต vs อนาคต
แนวคิดหลักในการบริหารสมัยใหม่แนวคิดหลักในการบริหารสมัยใหม่ • Key Success Factors • ปริมาณ • คุณภาพ • ต้นทุน • ระยะเวลา Value Chain Analysis การบรรลุพันธกิจ/ความพอใจลูกค้า SWOT Analysis Continuous Improvement
การวัดและประเมินผล • หมายถึง กระบวนการรวบรวมข้อมูล เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ ให้เกิดสารสนเทศในการบ่งชี้สถานะ หรือเทียบวัดกับเกณฑ์เป้าหมายหรือมาตรฐาน อันจะนำไปสู่การตัดสินใจ รศ.ดร.สุรชาติ ณ หนองคาย
การวัดและประเมินผล • เครื่องมือที่ช่วยให้ผู้บริหารเข้าใจกระบวนการทำงานขององค์กร และปรับปรุงการทำงานขององค์กรให้ดีขึ้น • How well we are doing? • if we are meeting goal • If our customer are satisfied • if our process are in statistical control • if and where improvements are necessary • การวัดผลต้องสัมพันธ์กับ Goal และ/หรือ Objective
การวัดและประเมินผล • “การวัดผลงานเป็นการเฝ้าระวัง และการรายงานผลความสำเร็จ อย่างต่อเนื่อง เทียบกับวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กำหนด” GAO General Accounting Office • หรืออาจกล่าวง่ายๆว่า การวัดผลงาน คือ • กระบวนการประเมินผลงาน และความก้าวหน้าในการดำเนินงาน เพื่อให้ได้ผลงานตามที่ตั้งเป้าหมายไว้นั่นเอง
เราวัดผลไปทำไม • Control : Reduce variation. • Self-Assessment : How well a process is doing? • Continuous Improvement : Identify defect sources and prevention. • Management Assessment : • Planning and meeting established operating goals/standards • detecting deviations from planned levels of performance • restoring performance to the planned levels
เราวัดผลไปทำไม You can’t manage what you can’t measure • ตรวจสอบ/กำหนดสถานะขององค์การ • เปรียบเทียบสถานะของตัวเอง • ติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินการ • พัฒนาองค์การ • สื่อถึงสถานะขององค์การ
เราวัดผลไปทำไม • เพื่อให้ทราบว่าขณะนี้เราทำได้ดีเพียงใด • เพื่อให้ทราบว่าขณะนี้ผลงานของเราอยู่ห่างจากเป้าหมายเพียงใด • เพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนการของเรายังอยู่ในสภาวะควบคุม และมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลตามที่มุ่งหวัง • เพื่อให้มั่นใจว่าผู้รับบริการ / ลูกค้ายังคงพึงพอใจในสินค้า หรือ บริการของเรา • เพื่อให้ทราบว่า เรา ยังมีจุดอ่อน หรือโอกาสพัฒนาในประเด็นใดบ้าง
2558 We’ll be there. How do we know where we are? 2548 We are now here. Continuous Improvement
แนวทางในการประเมินผล • การวัดและประเมินผลแบบแยกส่วนAnalytical Approach • การวัดและประเมินผลแบบยึดตัวคนActor System • การวัดและประเมินผลแบบสัมพันธ์เชิงระบบSystem Approach • Resource • Relation • Results
การวัดและประเมินผลแบบสัมพันธ์เชิงระบบการวัดและประเมินผลแบบสัมพันธ์เชิงระบบ C I P P Model Context Input Process Product (Output)
ความหมาย • ตัวชี้วัด Indicator =ประเด็น + ตัวชี้ + ตัววัด (หน่วยนับ) + ตัวเกณฑ์ • [ อ้วน ] + [ พุง ] + [ รอบเอว (นิ้ว) ] + [ 40 ] • กลุ่มตัวชี้วัด Indicators • [ อ้วน ] + [ พุง ] + [ รอบเอว (นิ้ว) ] + [ 40 ] • [ อ้วน ] + [ ความสูง ] + [ ส่วนสูง (ซ.ม.) ] + [ 150 ] • ดัชนีชี้วัด Index • [ อ้วน ] + [ ร่างกาย ] + [Body mass Index] + [… ] • กลุ่มตัวชี้วัด Indices
การประเมินในกระบวนการบริหารการประเมินในกระบวนการบริหาร • ประกันกระบวนการ (Ensuring Process) • ประหยัด (Economy) • ประสิทธิภาพ (Efficiency) • ประสิทธิผล (Effectiveness) • ประทับใจ (Emotional Satisfaction) • ประพฤติชอบ (Ethics)
จุดเริ่มต้นของการวัดและประเมินผลจุดเริ่มต้นของการวัดและประเมินผล • การให้คำจำกัดความสิ่งที่จะประเมิน Definition • การกำหนดหรือจำแนกองค์ประกอบของสิ่งที่จะประเมิน Analyze • การกำหนดตัวชี้วัด และวิธีการวัด Measure • การกำหนดตัวเทียบวัด กับผลที่เกิดขึ้น Benchmark • การจัดเก็บข้อมูล Data Collecting • การจัดทำรายงาน Report
คำถามก่อนการวัดและประเมินผลคำถามก่อนการวัดและประเมินผล • กลุ่ม ตัวชี้วัดผลการำเนินงาน • จะเรียกตัวชี้วัดนี้ว่าอะไร • ชื่อตัวชี้วัดสอดคล้องกับประเด็นที่จะวัดหรือไม่ • เป็นชื่อที่ทุกคนเข้าใจหรือไม่ • กลุ่ม วัตถุประสงค์ • ทำไมจึงมีการนำตัวชี้วัดนี้มาใช้ • จุดมุ่งหมายของการวัดผลคืออะไร • เมื่อนำมาใช้และวจะเกิดพฤติกรรมอะไรตามมา
คำถามก่อนการวัดและประเมินผลคำถามก่อนการวัดและประเมินผล • กลุ่ม เป้าหมาย • อะไรคือผลการดำเนินงานที่ต้องการ • จะใช้เวลาเท่าใดจึงจะถึงเป้าหมายนั้น • เป้าหมายนั้นเมื่อเทียบกับคู่แข่ง/มาตรฐานแล้วเป็นอย่างไร • กลุ่ม สูตร • จะวัดผลอย่างไร • เขียนในรูปสมการทางคณิตศาสตร์ได้หรือไม่ • สูตร บอกถึงข้อมูลที่ต้องการชัดเจนหรือไม่ • ข้อมูลที่ใช้ มีความถูกต้องหรือไม่
คำถามก่อนการวัดและประเมินผลคำถามก่อนการวัดและประเมินผล • กลุ่ม ข้อมูล • ควรเก็บข้อมูลบ่อยแค่ไหน • ควรรายงานผลบ่อยแค่ไหน • ใคร (ระบุชื่อ) เป็นผู้รับผิดชอบในการเก็บข้อมูล • ข้อมูลจะมาจากแหล่งไหน • กลุ่ม การเตรียมการ • ระหว่างการดำเนินงาน ต้องมีมาตรการอะไรบ้าง เพื่อให้มั่นใจว่าผลการดำเนินงานจะดีขึ้น
การวัดผลการดำเนินงานยุคใหม่การวัดผลการดำเนินงานยุคใหม่ • ให้ความสำคัญกับการวัดผลงานหลายมิติ - ไม่เน้นการวัดผลเพียงด้านเดียว • เน้นการสร้างความยั่งยืนของผลงาน - ไม่เน้นผลงานระยะสั้น • มีความสอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์การมากขึ้น • คำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (หุ้นส่วน) stakeholder มากขึ้น
ตัวชี้วัดความสำเร็จ Indicators • เป็นเครื่องมือในการกำหนดวัตถุประสงค์ และวัดความเปลี่ยนแปลงของการดำเนินงาน • ใช้วัดความสำเร็จของผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ • มีเกณฑ์วัดและหน่วยวัดชัดเจนที่ใช้ได้ในเวลาที่เหมาะสม • สามารถวัดปริมาณ คุณภาพ เวลาและ ค่าใช้จ่าย เพื่อการประเมินผลได้
ลักษณะของตัวชี้วัดที่ดีลักษณะของตัวชี้วัดที่ดี • มีความสอดคล้องตรงประเด็น (Relevance) • เที่ยงตรง (Validity) • เชื่อถือได้ (Reliability) • ความเป็นรูปธรรม (Objective and Reproductive) • ความไว(Sensitivity) • ความยอมรับจากผู้ใช้ผลการประเมิน (Acceptance)
การทดสอบตัวชี้วัด • สมเหตุสมผล สามารถอธิบายได้ • ความมีอยู่ของข้อมูล • ความเชื่อถือได้ของข้อมูล • ความเคลื่อนไหวของผลที่เกิดขึ้น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงประมาณหรือคุณภาพของการดำเนินกิจกรรม
ชนิดของตัวชี้วัด • แบ่งตามผลของความสำเร็จ • ตัวชี้วัดความสำเร็จโดยตรง (Direct Indicator) เช่น จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา • ตัวชี้วัดความสำเร็จโดยอ้อม (Indirect Indicator, Proxy Indicator) เช่น การทดสอบคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา อาจวัดได้จากผลการปฏิบัติงาน เป็นต้น • แบ่งตามการนำไปใช้ • ตัวชี้วัดนำ (Leading Indicator) • ตัวชี้วัดตาม (Lagging Indicator)
ค่าของตัวชี้วัด • ร้อยละ Percentage • อัตราส่วน Ratio • แสดงความสัมพันธ์เปรียบเทียบระหว่างตัวเลขของสองกลุ่มที่อยู่ในเหตุการณ์เดียวกัน • สัดส่วน Proportion • แสดงความสัมพันธ์เปรียบเทียบระหว่างตัวเลขกลุ่มหนึ่ง กับอีกกลุ่มหนึ่ง โดยตัวเลขกลุ่มแรกรวมอยู่ในกลุ่มหลังด้วย • อัตรา Rate • อัตราส่วนของตัวเลขจำนวนหนึ่งกับอีกจำนวนหนึ่ง ภายในระยะเวลาหนึ่ง • จำนวน Number • ค่าเฉลี่ย Mean
มิติตัวชี้วัดของสำนักงบประมาณมิติตัวชี้วัดของสำนักงบประมาณ • Q uantity เชิงปริมาณ • Q uality เชิงคุณภาพ (หรือความพึงพอใจ) • C ost เชิงค่าใช้จ่าย (หรือต้นทุน) • T ime เชิงเวลา (เวลาที่ใช้ดำเนินการ หรือเวลาในการตอบสนอง) Quantity Quality (Satisfaction) Time Cost
การเขียนตัวชี้วัด • เชิงปริมาณ - ระบุจำนวนงานที่กระทำ เช่น “จำนวนอาคารที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ” • เชิงคุณภาพ - ระบุจำนวนงานที่ทำแล้วเสร็จเทียบกับมาตรฐานของงาน เช่น “ร้อยละผู้ผ่านการฝึกอบรมตามเกณฑ์การทดสอบ” • เชิงค่าใช้จ่าย - ระบุต้นทุนของการดำเนินงาน เช่น “ราคาต่อหน่วยภายในวงเงินที่กำหนด” • เชิงเวลา - ระบุความรวดเร็วของการส่งมอบงาน เช่น “ไม่เกิน 30 นาทีต่อราย”
Performance Index Quantity Quality (Satisfaction) Time Cost Quantity Satisfaction x Performance Index = Cost x Time PI
ตัวชี้วัดแต่ละมิติอาจมีหน่วยวัดไม่เท่ากัน ก่อนหาค่าPI ควรปรับหน่วยวัดให้เท่ากันก่อน โดย • หาค่าร้อยละของตัวชี้วัดเชิงปริมาณ QI • หาค่าร้อยละของตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ SI • หาค่าร้อยละของตัวชี้วัดเชิงค่าใช้จ่าย CI • หาค่าร้อยละของตัวชี้วัดเชิงเวลา TI ผลการดำเนินงานเชิง... ที่ทำได้จริง X100 .. I= เป้าหมายเชิง... ที่กำหนดไว้ตามแผน
Quantity Index (QI) Satisfaction Index (SI) x Performance Index (PI) = Cost Index (CI) Time Index (TI) x