740 likes | 1.13k Views
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายภายหลังตาย และการประมาณเวลาตาย. (Changes after Death & Time since Death). การเปลี่ยนแปลงของร่างกายภายหลังตาย. ประโยชน์ ใช้ประมาณระยะเวลาภายหลังตาย ใช้บ่งชี้สาเหตุของการตาย ใช้บ่งบอกการรบกวนต่อศพ. การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย. ขณะตาย ระยะแรกภายหลังตาย
E N D
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายภายหลังตายการเปลี่ยนแปลงของร่างกายภายหลังตาย และการประมาณเวลาตาย (Changes after Death & Time since Death)
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายภายหลังตายการเปลี่ยนแปลงของร่างกายภายหลังตาย • ประโยชน์ • ใช้ประมาณระยะเวลาภายหลังตาย • ใช้บ่งชี้สาเหตุของการตาย • ใช้บ่งบอกการรบกวนต่อศพ
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย • ขณะตาย • ระยะแรกภายหลังตาย • ระยะท้ายภายหลังตาย
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายขณะตายการเปลี่ยนแปลงของร่างกายขณะตาย • การไม่รู้สึกตัวและไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบอัตโนมัติ • ระบบการหายใจหยุดทำงานอย่างสิ้นเชิงและถาวร • ระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานอย่างสิ้นเชิงและถาวร • การอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ • คาดาเวอริค สปาซึม
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายระยะแรกภายหลังตายการเปลี่ยนแปลงของร่างกายระยะแรกภายหลังตาย • 1. การเปลี่ยนแปลงของตา • 2. การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง • 3. การเย็นตัวลงของศพ • 4. การเกิดจ้ำเลือดภายหลังตาย • 5. การแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อ • 6. การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในของเหลวของร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายระยะท้ายภายหลังตายการเปลี่ยนแปลงของร่างกายระยะท้ายภายหลังตาย • 1. การเน่าของศพ • 2. การกัดกินศพของตัวอ่อนแมลงและสัตว์กินเนื้อ • 3. การเหลือแต่ซากกระดูก • 4. การกลายสภาพเป็นมัมมี่ • 5. การแข็งตัวของไขมัน
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายขณะตาย(Immediate change at death) !!!
ไม่รู้สึกตัวและไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบอัตโนมัติจากแกนสมองไม่รู้สึกตัวและไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบอัตโนมัติจากแกนสมอง • ระบบการหายใจหยุดทำงานอย่างสิ้นเชิงและถาวร • ระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานอย่างสิ้นเชิงและถาวร • การอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ • คาดาเวอริค สปาซึม
การไม่รู้สึกตัวและไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบอัตโนมัติการไม่รู้สึกตัวและไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบอัตโนมัติ • สูญเสียความรู้สึกตัว • ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เอง • ไม่สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก • ไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบอัตโนมัติใด ๆ โดยเฉพาะที่แสดงถึงการทำงานของแกนสมอง • ตรวจคลื่นสมองมีลักษณะเป็นเส้นราบเรียบ
ระบบการหายใจหยุดทำงานอย่างสิ้นเชิงและถาวรระบบการหายใจหยุดทำงานอย่างสิ้นเชิงและถาวร • สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอก • ไม่มีลมหายใจเข้าออกทางจมูก ทดสอบได้โดยใช้สำลีจ่อบริเวณปลายจมูก เพื่อดูการเคลื่อนไหวของสำลี หรือใช้กระจกอังบริเวณปลายจมูก เพื่อดูการเกิดฝ้าไอน้ำ • ใช้เครื่องมือช่วยฟังเสียงการหายใจที่ทรวงอกทั้งสองข้าง โดยเฉพาะทรวงอกส่วนบนและบริเวณคอหอย
ระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานอย่างสิ้นเชิงและถาวรระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานอย่างสิ้นเชิงและถาวร • หัวใจหยุดเต้น ทดสอบได้โดยการจับชีพจรที่เส้นเลือดบริเวณข้อมือ คอ หรือขาหนีบ ฟังเสียงการเต้นของหัวใจด้วยการแนบหูที่ทรวงอก หรือด้วยการใช้เครื่องฟัง • วัดความดันเลือดไม่ได้ • ตรวจการทำงานของหัวใจด้วยการใช้เครื่องตรวจคลื่นหัวใจ พบว่า มีลักษณะราบเรียบ
การอ่อนตัวของกล้ามเนื้อปฐมภูมิการอ่อนตัวของกล้ามเนื้อปฐมภูมิ • กล้ามเนื้ออ่อนตัวทันทีขณะตาย ทำให้ร่างกายไม่สามารถคงลักษณะท่าทางเดิมได้ เช่น ถ้าอยู่ในท่ายืนก็จะล้มพับลงทั้งร่างกายลงมากองอยู่ที่พื้น คอจะพับไปด้านใดด้านหนึ่ง แขนและขาจะตกอยู่ข้างลำตัว ตามแรงโน้มถ่วงของโลก ถ้ามือถือของอยู่ ของก็จะตกลงสู่เบื้องล่าง นั่นคือ ทุกส่วนของร่างกายจะตกลงสู่ตำแหน่งที่ต่ำสุดที่จะเป็นไปได้ขณะนั้น
คาดาเวอริค สปาซึม • จะเกิดทันทีขณะตาย ซึ่งมักจะเป็นการตายที่เกิดขึ้นทันทีทันใดด้วย • เป็นการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อขณะตาย ที่ไม่ผ่านขบวนการอ่อนตัวของกล้ามเนื้อแบบปฐมภูมิมาก่อน • เป็นปรากฎการณ์ที่พบได้น้อยมาก
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายระยะแรกภายหลังตายการเปลี่ยนแปลงของร่างกายระยะแรกภายหลังตาย (Early Postmortem change)
1. การเปลี่ยนแปลงของตา (Eye change) • 2. การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง (Skin mortis) • 3. การเย็นตัวลงของศพ (Algor mortis) • 4. การเกิดจ้ำเลือดภายหลังตาย (Livor mortis) • 5. การแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อ (Rigor mortis) • 6. การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในของเหลวของร่างกาย (Chemical change in body fluids)
การเปลี่ยนแปลงของตา (Eye change) • 1. หลอดเลือดที่มาเลี้ยงจอรับภาพ มีลักษณะเป็นท่อน ๆ มองดูคล้ายขบวนตู้โดยสารรถไฟ เรียกลักษณะนี้ว่า “Trucking” • 2. เม็ดเลือดแดงในหลอดเลือดดังกล่าว ตกนอนก้นอยู่เบื้องล่างตามแนวโน้มถ่วงของโลก เรียกลักษณะนี้ว่า “Rouleaux” หรือ “Boxcar”
3. การอ่อนนุ่มของลูกตา (Softness of eye ball) เนื่องจากไม่มีความดันในลูกตา และในที่สุดลูกตาจะจมลงไปในเบ้าตา • 4. กระจกตาขุ่น (Opacity of cornea) • 5. เยื่อบุตาขาวแห้งและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล เรียกลักษณะนี้ว่า “Tacke noire”
การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง (Skin change) 1. การสูญเสียความใสของผิวหนัง (Loss of transparency) 2. การสูญเสียความยืดหยุ่นของผิวหนัง (Loss of elasticity) 3. การเปลี่ยนสีของผิวหนัง (Discoloration)
การเย็นตัวลงของศพ(Algor mortis) 1. อุณหภูมิปกติของร่างกาย 98.4 ˚ฟ (วัดทางปาก) หรือ 99˚ ฟ (วัดทางทวารหนัก) 2. ในศพจะวัดอุณหภูมิที่อวัยวะภายใน เป็นต้น หรือที่ทวารหนัก (visceral or rectal temperature) 3. อาจวัดที่ส่วนลึกของโพรงจมูก และโพรงหู
กฎการเย็นตัวของนิวตัน(Newton’s Law of Cooling) -อัตราการเย็นตัวเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของศพ กับอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม
ลักษณะกราฟการเย็นตัวของศพเป็นรูป S (Sigmoid or Double Exponential Shape)
อัตราการเย็นตัวของศพภายใต้สภาพแวดล้อมโดยเฉลี่ยทั่วไปอัตราการเย็นตัวของศพภายใต้สภาพแวดล้อมโดยเฉลี่ยทั่วไป • ภายใน 2 – 3 ชั่วโมงแรก 2.0 – 2.5 ˚ฟ/ชม. • ภายใน 12 ชั่วโมงแรก 1.5 – 2.0 ˚ฟ/ชม. • ภายใน 12 – 18 ชั่วโมงถัดไป 1.0˚ ฟ/ชม. โดยคร่าว ๆ หลังจากที่ยอดกราฟผ่านไปแล้ว (< 4 ชั่วโมง) ~ 1˚ซ/ชม. (0.8 ˚ซ/ชม.)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเย็นตัวของศพปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเย็นตัวของศพ 1.อุณหภูมิของร่างกายขณะตาย 2. อุณหภูมิของสภาพแวดล้อม 3. เสื้อผ้าหรือสิ่งที่ปกคลุมร่างกาย 4. อัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อน้ำหนักร่างกาย 5. ท่าทางของศพ 6. การเคลื่อนไหวของอากาศและความชื้น 7. สิ่งแวดล้อมที่ศพสัมผัส 8. การเสียเลือดของร่างกาย
การเกิดจ้ำเลือดภายหลังตายการเกิดจ้ำเลือดภายหลังตาย • เริ่มเกิดเมื่อการไหลเวียนโลหิตหยุดทำงาน • เม็ดเลือดแดงในหลอดเลือดที่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะตกลงสู่เบื้องต่ำ อันเนื่องมาจากแรงโน้มถ่วง • เริ่มปรากฏให้เห็นที่ผิวหนังเป็นสีม่วงแดง • โดยจะมีลักษณะเป็นจ้ำ ๆ ขนาดแตกต่างกัน ต่อมาจะมีขนาดใหญ่ขึ้น แล้วในที่สุดจะรวมตัวกันเป็นปื้น • ลักษณะตำแหน่งที่เกิดจะขึ้นกับท่าทางของศพขณะตาย
ระยะเวลาในการปรากฏของจ้ำเลือดระยะเวลาในการปรากฏของจ้ำเลือด • เริ่มปรากฏ ½ - 2 ชม. ภายหลังตาย • ปรากฏชัดเจน6 – 10 ชม. ภายหลังตาย • ปรากฏถาวร > 8 – 12 ชม. ภายหลังตาย
อาจพบลักษณะจุดเลือดออกอาจพบลักษณะจุดเลือดออก (petechiae haemorrhage) ที่มีชื่อเฉพาะว่า“Tardieu Spots”
สีของจ้ำเลือดช่วยบอกสาเหตุการตายได้สีของจ้ำเลือดช่วยบอกสาเหตุการตายได้ สีชมพู(cherry pink) คาร์บอกซีฮีโมโกลบิน คาร์บอนมอนนอกไซด์
สีของจ้ำเลือดช่วยบอกสาเหตุการตายได้สีของจ้ำเลือดช่วยบอกสาเหตุการตายได้ สีแดง(cherry red) การยับยั้งเอนไซม์ไซโตโครมออกซิเดส ไซยาไนต์
สีของจ้ำเลือดช่วยบอกสาเหตุการตายได้สีของจ้ำเลือดช่วยบอกสาเหตุการตายได้ สีแดงน้ำตาล (brownishred) เมธฮีโมโกลบิน อะนีลีน, คลอเรด
สีของจ้ำเลือดช่วยบอกสาเหตุการตายได้สีของจ้ำเลือดช่วยบอกสาเหตุการตายได้ สีน้ำเงินเขียว(greenish blue) ซัลฟ์ฮีโมโกลบิน โฮโดรเจนซัลไฟด์
การแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อ • จะเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกายในอัตราที่เท่ากัน • แต่จะเกิดขึ้นสมบูรณ์ในกล้ามเนื้อมัดเล็กก่อนกล้ามเนื้อมัดใหญ่ และข้อเล็กก่อนข้อใหญ่ • จะหมดไปก่อนหลังเรียงตามลำดับที่เกิด
ระยะเวลาที่ปรากฏกล้ามเนื้อแข็งเกร็งระยะเวลาที่ปรากฏกล้ามเนื้อแข็งเกร็ง เริ่มปรากฏ 2 – 4 ชั่วโมงภายหลังตาย ปรากฏเต็มที่ 6 – 12 ชั่วโมงภายหลังตาย คงอยู่ 12 – 24 ชั่วโมง หมดไป 36 ชั่วโมง
สาเหตุของการเกิดการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อสาเหตุของการเกิดการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อ 1. การลดลงของปริมาณเอทีพี(ATP) 2. การเพิ่มขึ้นของปริมาณกรดแลคติค(Lactic Acid)
ระบบเมตาโบลิซึมของร่างกายที่ผลิตเอทีพีระบบเมตาโบลิซึมของร่างกายที่ผลิตเอทีพี 1. ระบบฟอสฟาเจน(Phospagen system) 2. ระบบไกลโคเจน – กรดแลกติค (Glycogen – lactic acid system) 3. ระบบใช้ออกซิเจน(Aerobic system)
แอคติน + ไมโอซิน แอคโตมัยซิน การหดตัวของกล้ามเนื้อ
ฟอสเฟต (2) ฟอสฟาเจน เอดีพี ไกลโคเจน กรดแลคติค เอทีพี ครีอะตีน ฟอสเฟต (1)
แอคติน + ไมโอซิน แอคโตมัยซิน การแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อ (ไรกอร์ มอร์ติส) เอทีพี กรดแลคติค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อ • 1. อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม สูง - เร็ว • 2. กิจกรรมทางร่างกายก่อนตาย ออกกำลังกาย • 3. การชัก - เร็ว • 4. การถูกไฟฟ้าดูด - เร็ว • 5. ภาวะอุณหภูมิร่างกายสูง - เร็ว • 6. ภาวะกรดและยูรีเมีย • 7. มวลของกล้ามเนื้อทั้งหมด - เนื้อมาก หรืออ้วน จะแข็งตัวเร็ว
การประมาณระยะเวลาตายจากอุณหภูมิร่วมกับ การแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อ (ไรกอร์ มอร์ติส)
การแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบ • น้ำอสุจิที่ปลายหรือรอบศิวะลึงค์ • ม่านตาขยายไม่เท่ากัน • การแข็งเกร็งของหัวใจ ที่เรียกว่า “Stone heart” • การเกิดลักษณะขนลุกที่ผิวหนัง มีชื่อเรียกว่า“cutis anserina” หรือ “goose skin flesh”
ลักษณะที่อาจเข้าใจผิดว่าเป็นการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อแบบ “ไรกอร์ มอร์ติส” • คาดาเวอริค สปาซึม(Cadaveric spasm) • การแข็งของกล้ามเนื้ออันเนื่องมาจากความร้อน (Heat Stiffening) • การแข็งของกล้ามเนื้ออันเนื่องมาจากความเย็น (Cold Stiffening)
คาดาเวอริค สปาซึม (Cadaveric spasm) • เป็นปรากฏการณ์ที่พบได้น้อยมาก • เกิดทันทีขณะตาย โดยไม่ผ่านการอ่อนตัวของกล้ามเนื้อก่อนและจะไม่ผ่านขบวนการเกิดไรกอร์ มอร์ติส ด้วย • เกิดเมื่อมีความเครียดทางร่างกายหรือจิตใจอย่างสุดขีด เช่น พบในคนที่ตกน้ำตายและไขว่คว้าสิ่งใกล้ตัว • ถูกกระตุ้นโดยการทำงานของเส้นประสาทมอเตอร์ • ปกติจะเกิดที่กล้ามเนื้อมัดที่กำลังทำงานในขณะตาย
การแข็งเกร็งของกล้ามเนื้ออันเนื่องมาจากความร้อน (Heat Stiffening) • เป็นผลเนื่องมาจากการเสื่อมสภาพและการแข็งตัวของโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบของกล้ามเนื้อ • ระดับของการเปลี่ยนแปลงขึ้นกับปริมาณความร้อน และระยะเวลาที่กล้ามเนื้อสัมผัสกับความร้อน • ทำให้เกิดการหดสั้นของกล้ามเนื้ออย่างมาก ศพจะมีลักษณะข้อมือ ข้อศอก ข้อเข่าโค้งในท่าป้องกันตนเองของนักมวย ที่เรียกว่า “pugilistic attitude”
การแข็งของกล้ามเนื้ออันเนื่องมาจากความเย็น (Cold Stiffening) • จะเกิดที่อุณหภูมิต่ำกว่า –5 °ซ • เป็นผลจากของเหลวและไขมันในส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายกลายสภาพเป็นของแข็ง • หมดไปเมื่ออยู่ในที่มีอุณหภูมิสูงขึ้น • เมื่อหมดสภาพของความแข็งแล้วจะเกิดไรกอร์ มอร์ติส ภายหลังได้
การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในของเหลวของร่างกาย (Chemical changes to body fluids) • ของเหลวของร่างกาย ได้แก่ เลือด น้ำลูกตา น้ำไขสันหลัง น้ำดี เป็นต้น • เป็นหัวข้อที่มีการวิจัยและทำการศึกษากันอย่างกว้างขวาง ในช่วงระยะเวลา 30 ปี ที่ผ่านมา • ระดับการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในของเหลวต่าง ๆ ของร่างกายมีความแตกต่างมาก • ไม่เหมาะสมในการใช้ตรวจเป็นงานประจำ กำลังวิจัยยังไม่สามารถนำมาใช้ได้ในปัจจุบัน
การเปลี่ยนแปลงของศพระยะท้ายการเปลี่ยนแปลงของศพระยะท้าย (Late Postmortem Changes)
1. การเน่าของศพ(Decomposition) • 2. การกัดกินศพของตัวอ่อนแมลงและสัตว์กินเนื้อ (Larva infestation and arthropology) • 3. การเหลือแต่ซากกระดูก(Skeletonization) • 4. การกลายสภาพเป็นมัมมี่(Mummification) • 5. การแข็งตัวของไขมัน(Adipocere formation)
กระบวนการเน่า(Decomposition processes) 1. การย่อยสลายตัวเอง(Autolysis) เป็นการย่อยสลายตัวเองของเซลล์และเนื้อเยื่อ โดยกระบวนการทางเคมี และน้ำย่อยที่ปล่อยออกมาจากเซลล์ที่ตาย 2. การเน่า(Putrefaction) เป็นการย่อยสลายเซลล์และเนื้อเยื่อ โดยแบคทีเรีย จากทั้งภายในร่างกายและภายนอกร่างกาย
ลำดับการเปลี่ยนแปลงของการเน่าลำดับการเปลี่ยนแปลงของการเน่า • การเปลี่ยนเป็นสีเขียวของผิวหนังหน้าท้องส่วนล่าง • ก๊าซที่เกิดที่จากการเน่า • การปรากฏสีเขียวหรือแดงคล้ำตามแขนงของเส้นเลือดที่ผิวหนัง • การเกิดตุ่มพองที่มีของเหลวปนเลือดอยู่ภายใน • การหลุดลอกของผิวหนังชั้นนอก • ลิ้นจุกปากและอวัยวะภายในออกมากองอยู่ภายนอก • ศพพองตัวอย่างมากและผิวหนังเปลี่ยนเป็นสีแดงค่อนไปทางดำ