1 / 9

สาขาโลจิสติกส์

สาขาโลจิสติกส์. โดย ม.ล. ณัฐสิทธิ์ ดิศกุล สำนักเจรจาการค้าบริการและการลงทุน. 22 กันยายน 2552. Thailand’s Logistics Cluster. ธุรกิจทีเกี่ยวกับสินค้า. ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง. กิจกรรมหลัก. ผู้ผลิตอุปกรณ์ขนส่ง. ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ขนส่ง.

selia
Download Presentation

สาขาโลจิสติกส์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สาขาโลจิสติกส์ โดย ม.ล. ณัฐสิทธิ์ ดิศกุล สำนักเจรจาการค้าบริการและการลงทุน 22 กันยายน 2552

  2. Thailand’s Logistics Cluster ธุรกิจทีเกี่ยวกับสินค้า ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง กิจกรรมหลัก ผู้ผลิตอุปกรณ์ขนส่ง ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ขนส่ง • รถยนต์ รถบรรทุก รถโดยสาร รถไฟ เรือ เครื่องบิน อุปกรณ์ยกขนสินค้า และชิ้นส่วนต่างๆ ผู้ประกอบการลอจิสติกส์ • อู่รถ อู่ต่อและซ่อมเรือ อู่ซ่อมเครื่องบิน • รถบรรทุก รถโดยสาร รถไฟ เรือสินค้า เรือโดยสาร เฟอร์รี่ เรือสำราญ สายการบิน บริการจัดส่งเอกสารและพัสดุภัณฑ์ด่วน ตัวแทนเรือ ขนส่งทางท่อ บริการกระจายสินค้า บริการจัดระบบลอจิสติกส์ บรรจุภัณฑ์ ผู้จำหน่ายอุปกรณ์ขนส่ง • บริการบรรจุภัณฑ์ บริการตู้คอนเทนเนอร์ คัดแยกและตรวจสินค้า บริการรหัสสากล • ผู้จำหน่ายรถยนต์และชิ้นส่วน ผู้ให้เช่ายานพาหนะ ผู้ให้เช่าอุปกรณ์ยกขนสินค้า บริการติดตั้งอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ • E-Commerce, Logistics Software, EDI, Computer Reservation System, ผู้ให้บริการระบบข้อมูล ธุรกิจสนับสนุน ผู้ให้บริการขนถ่ายสินค้าและผู้โดยสาร ตัวกลางรวบรวมสินค้าและผู้โดยสาร • สถานีขนส่งผู้โดยสาร สถานีขนส่งสินค้า สถานีรถไฟ ท่าเรือ สถานีตู้สินค้า สนามบิน คลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า ห้องเย็น บริการขนถ่ายสินค้า อื่น ๆ • ตัวแทนรับจัดการขนส่ง ผู้ประกอบ การนำเที่ยว จำหน่ายตั๋วโดยสาร • บริหารสินค้าคงคลัง จัดซื้อ บริการลูกค้า ที่ปรึกษา ชิ้ปปิ้ง ประกันภัยขนส่ง ธนาคาร ตรวจสอบยานพาหนะและอุปกรณ์ขนส่ง จัดหาคนประจำเรือ บริการอาหารและเก็บขยะจากยานพาหนะ ฯลฯ อื่น ๆ • สร้างและพัฒนาเส้นทางขนส่ง จัดระบบจราจรและความปลอดภัยการขนส่ง พลังงาน สถาบันสนับสนุนเครือข่ายวิสาหกิจลอจิสติกส์ สถาบันการศึกษา และฝึกอบรม สถาบันและสมาคม ผู้ประกอบการต่าง ๆ • หน่วยงานรัฐ • คมนาคม, พาณิชย์, อุตสาหกรรม, คลัง, ศึกษาธิการ, พลังงาน, เทคโนโลยีฯ, มหาดไทย, ต่างประเทศ, สภาพัฒน์, สำนักงานตำรวจฯ

  3. ประเทศไทยยังมีสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์อยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงโดยเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เช่น • โครงสร้างพื้นฐานไม่เพียงพอ • มีกฎระเบียบที่ยังเป็นอุปสรรค • โครงสร้างการผลิตของไทยเป็นการผลิตสินค้ามูลค่าไม่สูงมาก ทำให้สัดส่วนต้นทุนฯ เทียบกับ GDP มีค่าสูง • ภาคเอกชนขาดทักษะปฏิบัติและเทคโนโลยีการบริหารงาน โลจิสติกส์ โดยเฉพาะ SME ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP โดยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ

  4. 5.0 6.0 3.4 4.8 5.1 5.0 ต้นทุนบริหารจัดการ 19.5 ต้นทุนการถือครองสินค้า 20 (%) • สินค้าส่งออกสำคัญของไทยต้องแบกรับภาระต้นทุน โลจิสติกส์ที่ค่อนข้างสูง • ต้นทุนโลจิสติกส์ส่วนมากจะมาจากต้นทุนการบริหารจัดการ และต้นทุนการถือครองสินค้า ต้นทุนขนส่งสินค้า ต้นทุนโลจิสติกส์ที่เกิดขึ้นกับอุตสาหกรรมต่างๆ 15.5 14.2 4.0 13.6 15 11.4 3.8 10 7 10 6.5 5.2 สัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อยอดขาย 2.9 5 4.0 6.5 0.9 5.5 1.3 4.4 3 1.7 2.6 2.7 0 ข้าว ผลไม้ เสื้อผ้า เฟอร์นิเจอร์ อาหารทะเล อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนยานยนต์ ที่มา: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

  5. พรบ. เรือไทย (2481) พรบ. การเดินเรือในน่านน้ำไทย (2456) พรบ. ส่งเสริมการพาณิชยนาวี (2521) พรบ. ศุลกากร (2469) พรบ. ไปรษณีย์ (2477) พรบ. การเดินอากาศ (ปรับปรุง 2551) พรบ. ขนส่งทางบก (ปรับปรุง 2550) พรบ. รถยนต์ (2522) พรบ. การทำงานของคนต่างด้าว (2521) พรฎ. งานในอาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทำ (2522) พรบ. การรถไฟแห่งประเทศไทย (ปรับปรุง 2543) พรบ. ขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (2548) พรบ. ประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว (2542) กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง สาขาโลจิสติกส์

  6. “ไทยหนีกระแสการเปิดตลาดฯ ไม่ได้ แต่จะทำอย่างไรจึงจะใช้ประโยชน์ จากการเปิดตลาดให้ได้มากที่สุด และบรรเทาผลเสียจากการเปิดตลาด ให้ได้อย่างเหมาะสมและค่อยเป็นค่อยไป” • ข้อดี • ต่างชาติมีความมั่นใจในการนำเงินมาลงทุน • เกิดการแข่งขันพัฒนาบริการใหม่ๆ ทำให้ผู้ใช้บริการมีต้นทุนลดลง • ช่วยให้เกิดการรวมตัว/สร้างเครือข่ายมากขึ้น • ช่วยขยายขนาดของตลาด • การจ้างงานเพิ่มขึ้น เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีและความรู้ ข้อดี/ ข้อเสียในการเปิดตลาดการค้าบริการ • ข้อเสีย • ผู้ประกอบการบางรายอาจได้รับผลกระทบ • หากไม่มีนโยบายและกฎหมายที่ดีพอ อาจทำให้คนไทยไม่ได้รับประโยชน์จากการเปิดตลาด (เช่น กฎหมายแข่งขันทางการค้า)

  7. แนวทางเชิงรุก • มีมาตรการที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรมในการส่งเสริมคนไทยให้ไปลงทุนและทำงานในต่างประเทศ แนวทางการรองรับการเปิดตลาด • แนวทางเชิงรับ • เสริมสร้างความเข้าใจในนโยบายการเปิดตลาดโดยเฉพาะสาขาที่เป็น service infrastructure • ปรับปรุงกฎระเบียบภายในประเทศเพื่อรองรับการเปิดตลาด เพื่อให้เกิด fair trade • ส่งเสริมการปรับโครงสร้างและขีดความสามารถทางการแข่งขัน • ส่งเสริมการรวมตัวและการสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการไทย

  8. รมช. พณ. (อลงกรณ์ พลบุตร) คณะกรรมการโลจิสติกส์การค้า • อำนาจหน้าที่: • กำหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาโลจิสติกส์การค้า • จัดทำแผนปฏิบัติการ และโครงการต่างๆ • ประสาน รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาอุปสรรค • กำกับ ดูแลและติดตามผลการดำเนินการของหน่วยงานต่างๆ

  9. THANK YOU

More Related