1 / 61

ไขมัน เป็นมหันตภัยมืด ของชาวกรุง

ไขมัน เป็นมหันตภัยมืด ของชาวกรุง. ไขมันที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ อาหาร ๑. ไขมันอิ่มตัว( saturated fat ) ๒. ไขมันไม่อิ่มตัว( unsaturated fat ) - เชิงเดี่ยว( mono-unsaturated fat ) - เชิงซ้อน( poly-unsaturated fat ) อยู่ในร่างกาย (ในเลือด และควรรู้) ๑. โคเลสเตอรอล ( cholesterol)

selene
Download Presentation

ไขมัน เป็นมหันตภัยมืด ของชาวกรุง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไขมัน เป็นมหันตภัยมืด ของชาวกรุง

  2. ไขมันที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพไขมันที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ อาหาร ๑. ไขมันอิ่มตัว(saturated fat) ๒. ไขมันไม่อิ่มตัว(unsaturated fat) - เชิงเดี่ยว(mono-unsaturated fat) - เชิงซ้อน(poly-unsaturated fat) อยู่ในร่างกาย (ในเลือด และควรรู้) ๑. โคเลสเตอรอล (cholesterol) ๒. ไตรกลีเซอไรด์(triglyceride) > โคเรสเตอรอล

  3. แหล่งกำเนิดของโคเลสเตอรอลแหล่งกำเนิดของโคเลสเตอรอล ๑. จากอาหารที่รับ ประทาน = ๒๐ % ๒. ตับสร้างขึ้นเอง = ๘๐ % ทำอย่างไรจึงจะคุมได้ทั้ง ๒ แหล่งกำเหนิด

  4. โคเลสเตอรอล (cholesterol) ภาษากรีก - chole แปลว่าน้ำดี - sterol แปลว่าของแข็ง - พบโดยนักวิทยาศาสตร์ฟรั่งเศษเมื่อ ๒๐๐+ปี - พบในร่างกายและเลือดของสัตว์ - ไม่พบในพืช - ถูกเก็บไว้ในร่างกายเป็นรูปแบบของโคเลส- เตอรอลเอสเตอร์(cholesterol ester) วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๓๒

  5. ไขมัน(lipid)ในเลือดมี ๔ กลุ่มใหญ่ ๆ คือ (เฉพาะสีแดงที่ควรรู้) ๑. โคเลสเตอรอล (cholesterol) - โคเลสเตอรอเลว (LDL - C) ขนส่งโค.ไปยังเนื้อเยื่อต่าง ๆ - โคเลสเตอรอลดี (HDL - C) ขนส่งโค.จากเนื้อเยื่อไปยังตับ - โค.ไม่ดี (VLDL- C) ขนส่งไตร.ไปยังเนื้อเยื่อต่าง ๆ ๒. ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) ผู้ช่วยผู้ร้าย ๓. ฟอสฟอลิปิด (phospholipid) เช่น เลซิทิน ๔. กรดไขมันอิสระ (fatty acid) www.thaiabonline.com

  6. ไลโป โปรตีน โปรตีน น้ำ ไขมัน ไขมัน(lipid)เป็นสารที่ไม่ละลายในน้ำ จะละลายได้ ต้องจับกับโปรตีนเสียก่อน (ยกเว้นกรดไขมันอิสระ) ไขมัน(lipo)(ในข้อ๑-๓) + โปรตีน(protein)ในน้ำเลือด ไลโปโปรตีน(lipoprotein) ซึ่งละลายในน้ำเลือด วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๓๖

  7. ไลโปโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพมี ๓ หมวด (สำคัญและต้องรู้) ๑. ความหนาแน่นต่ำ (low density lipoprotein = LDL) ๒. ความหนาแน่นสูง (high density lipoprotein = HDL) ๓. ความหนาแน่นต่ำมาก (very low density lipoprotein =VLDL)

  8. ๑. ไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำ (LDL- C) โคเลสเตอรอลเมื่อจับกับโปรตีน และมีความหนาแน่นต่ำ เรียกว่า LDL- Cโดยย่อใช้ LDL หรือ โคเลสเตอรอลเลว. โคเลสเตอรอลเลวจะไปจับกับผนังหลอดเลือด(ตัวอันตรายที่สุด) ทำให้หลอดเลือดตีบตัน และขนโคเลสเตอรอลไปยังเซ็ลต่าง ๆ ทั่วร่างกาย. วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๓๖

  9. ๒. ไลโปโปรตีนความหนาแน่นสูง (HDL- C) โคเลสเตอรอลเมื่อจับกับโปรตีน และมีความหนาแน่นสูง เรียกว่า HDL- Cโดยย่อใช้ HDL หรือ โคเลสเตอรอลดี. โคเลสเตอรอลดีจะนำโคเลสเตอรอลที่จับกับผนังหลอดเลือดแดงและจากเนื้อเยื่องต่างๆ ส่งไปตับเพื่อใช้ประโยชน์ ย่อยสลาย และกำจัดออกจากร่างกายต่อไป. วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๓๗

  10. ๓. ไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำมาก (VLDL-C) ไขมันเมื่อจับกับโปรตีน และมีความหนา แน่นต่ำมาก เรียกว่า VLDL- C โดยย่อใช้ VLDL. VLDL เป็นตัวนำไตรกลีเซอไรด์ไหลเวียน ในเลือด. ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูงจะทำให้เกิดโรค หลอดเลือดหัวใจและสมองตีบตัน. วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๓๗

  11. ถ้า VLDL มาก LDL ย่อมมากด้วย = ไตรกลีเซอไรด์ ตับ = โคเรสเตอรอล VLDL VLDL remnant LDL LDL ตับย่อย VLDL ให้เป็น LDL ที่มีโคเลสเตอรอลมากขึ้น เ หน้า๔๐

  12. ส่วนประกอบของไลโปโปรตีนส่วนประกอบของไลโปโปรตีน โคเลสเตอรอลดี - มาจากการเกาะของ (HDL - C) โปรตีน apoE/apoB โคเลสเตอรอลเลว - มาจากการเกาะของ (LDL - C) โปรตีน apaB ไตรกลีเซอไรด์ - มาจากการเกาะของ โปรตีน apqA1 (TRIGLYCERIDE) (VLD - C / VLD - TG) วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ฯ หน้า ๓๗

  13. ความสำคัญของไขมันดี HDL ๒๐+ ปี:แพทย์สนใจว่าโคเลสเตอรอลในเลือดเป็น สาเหตุของโรคหลอดเลือดแข็ง ปัจจุบัน: HDLต่ำจะเพิ่มความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ HDLสูง จะลดความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ. ไตรกลีเซอไรด์......ไม่ค่อยพูดถึงแต่สำคัญ เพราะสะท้อนถึงโรคหลอดเลือดหัวใจ/อาหาร สรุป:HDL มีบทบาทในการลดความเสี่ยง. - แต่ขณะนี้ลงลึกถึงเรื่องอนุมูลอิสระ

  14. น้ำดี น้ำดี: ประกอบด้วยเกลือน้ำดีต่างๆ โคเลสเตอรอล และเลซิทิน ท่อน้ำดี กรดไขมันอิสระ อาหาร + เกลือน้ำดี +ไลเปส โมโนกลีเซอไรด์ ไขมันแตกตัว เป็นเหมือน ละอองเล็กๆ ส่วนใหญ่เป็น ไตรกลีเซอไรด์ แตกตัวเป็น อนุภาคเล็ก ๆ + โปรตีนในผนังลำไส้ อนุภาคไขมัน น้ำย่อยไขมัน เข้าท่อน้ำเหลือง Human Physiology - McGraw-Hill หน้า ๕๙๐

  15. HDL LDL ไตรกลีเซอไรด์ VLDL โคเลสเตอรอล ตับสร้างโปรตีนไป+ไขมัน --> ไลโปรโปตีน อาหาร เป็นอนุภาคเล็กๆ...ไคโม ไมครอน ถูกย่อย ตับสร้าง โปรตีน ค่า VLDL= ค่าไตร. หารด้วย ๕

  16. อาหาร HDL LDL VLDL โค.เลวขนไขมันไปพอกที่หลอดเลือด โคดีขนโค.เลวไปตับ (ระบบส่งกลับ) ตับ ผนังหลอดเลือด ใช้ประโยชน์ ย่อยสลาย และขับออกทางน้ำดี เกิดการป้องกันและฟื้นคืนสภาพภาวะหลอดเลือดแข็ง

  17. ลิ่มเลือดที่อุดตัน คราบไขมัน ผลึกโคเลสเตอรอล ไขมัน แผล ภายในหลอดเลือด เยื่อบุหลอดเลือด กล้ามเนื้อ

  18. ข้อแตกต่างของโค.ดีกับโค.เลวข้อแตกต่างของโค.ดีกับโค.เลว โค.เลวโค.ดี จับกับอ็อกซิเจน ง่าย ป้องกัน แทรกเข้าผนังหลอดเลือด ง่าย ลด สะสมใต้เยื่อบุ ง่าย ยับยั้ง หลอดเลือดแข็งตัว เป็นเหตุ ยับยั้ง กระตุ้นให้เกล็ดเลือดมาเกาะ เป็นเหตุ ยับยั้ง กระตุ้นให้เกิดลิ่มเลือด เป็นเหตุ ยับยั้ง กระตุ้นให้คราบไขมันแตก เป็นเหตุ มั่นคง สะสมอนุภาค LDL เป็นเหตุ เอาออก ทำให้หลอดเลือดหอตัว เป็นเหตุ ยับยั้ง วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๖๓

  19. ไขมันในเลือด ๑. โคเลสเตอรอล < ๒๐๐ มก.% - เลว (LDL-C) < ๑๓๐ - - ดี (HDL-C) > ๔๐ - ๒. ไตรกลีเซอไรด์ < ๑๕๐ - ๓. อื่นๆ ....Clinical Practice Guidelineอายุรกรรม น้อยกว่า มากกว่า

  20. ค่าโคเลสเตอรอลรวม(total cholesterol) โค.รวม =LDL-C + HDL-C + VLDL-C ๒๐๐๑๓๐๔๐๓๐(๑๕๐/๕) ถ้า LDL-C เพิ่ม ค่าอะไรจะเพิ่ม ? ถ้า HDL-C เพิ่ม ....................... ? ถ้า VLDL-C (VLDL-TG) เพิ่ม ..................... ? ถ้าทั้ง LDL และ HDL เพิ่ม จะเกิดอะไรขึ้น ? www.thaiabonline.com

  21. โค.ดี (HDL) > ๔๐ (ค่าเฉลี่ยทั่วไปของไทย) งานวิจัยที่สหรัฐ ค่าเฉลี่ย ค่าก้ำกึ่ง ค่าต่ำ ชาย ๔๐ ๓๐-๔๐ < ๓๐ หญิง ๕๐-๕๕ ๔๐-๕๐ < ๔๐ ปัจจัยเสี่ยง เฉลี่ย สูง สูงมาก ดูค่าอย่างละเอียดของ ม.จอห์น ฮอพกินส์ ต่ำ < ๓๕ ก้ำกึ่ง ๓๕-๔๕ พึงพอใจ > ๔๕ วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๕๙

  22. สาเหตุของโคเลสเตอรอลสูงสาเหตุของโคเลสเตอรอลสูง ๑. พันธุกรรม ๒. พฤติกรรม - การรับประทาน - อาหาร - เครื่องดื่ม (ปริมาณ ชนิด มื้อ เวลา) - ออกกำลังกาย - อารมณ์ ๓. ยาขับปัสสาวะ ฮอร์โมนหญิง(โปรเยสเตอโรน). ๔. โรคไฮโปทัยรอยด์ โรคไต เป็นต้น. ๕. อายุขัย Clinical Practice Guideline อายุรกรรม หน้า ๔๒๔

  23. สาเหตุของ HDL - C ต่ำ ๑. พันธุกรรม ๒. โรคเบาหวาน อ้วน สูบบุหรี่ ไม่ออกกำลังกาย ฮอร์โมนอนาโบลิค ฮอร์โมนชาย บีต้า บล้อคเก้อ ฮอร์โมนหญิง(โปรเยส....). - ถ้าปรับเปลี่ยนแล้วไม่ดีก็เกิดจากพันธุกรรม Clinical Practice Guideline อายุรกรรม หน้า ๔๒๔

  24. สาเหตุของไตรกลีเซอไรด์สูงสาเหตุของไตรกลีเซอไรด์สูง ๑. พันธุกรรม ๒. โรคเบาหวาน อ้วน ไตวาย สุรา ตั้งครรภ์ ยาขับปัสสาวะ บีต้าบล้อคเก้อ ฮอร์โมนหญิง(เอสโตรเจน). Clinical Practice Guideline อายุรกรรม หน้า ๔๒๔

  25. HDL การทำงานของ HDL และการกำจัด LDL เส้นเลือด ตับ LDL น้ำดี ลำใส้ อุจจาระ

  26. คราบ อนุภาคของโคเลสเตอรอล ลิ่มเลือด หลอดเลือดตีบเป็นระยะยาว วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๙๙

  27. ทำอย่างไรจึงจะให้โค.ดี (HDL) สูงขึ้น ๑. ออกกำลังกาย - ตับทำงานเต็มที่ - fibrinolytic activity ๒. งดบุหรี่ เพราะบุหรี่ทำให้ - หลอดเลือดหดรัด - การเกาะตัวของเกร็ดเลือด - เพิ่ม fibrinogen ๓. รับประทานยา.... ( + วืตามิน B3) Clinical Practice Guideline อายุรกรรม หน้า ๔๒๔

  28. วิตามิน B๓ (nicotinic acid) ขนาด ๕๐๐ – ๑๐๐๐ มก. แบ่งทานวันละ ๓ ครั้ง เป็นวิตามินที่ทำให้ - การไหลเวียนเลือดดีขึ้นที่ผิวหนังและสมอง - ช่วยเผาผลาญอาหาร / เพิ่มกรดในกระเพาะ - ลดโคเลสเตอรอล - ช่วยความจำ และผู้ป่วยทางจิต มีในตับวัว บรูเวอยีสต์ กะหล่ำปลี แครอท ชีส แป้ง ข้าวโพด นม ไข ปลา หมู มัน มะเขือเทศ จมูกข้าวสารี ข้าวกล้องสาลี Neutritional healing หน้า ๑๕

  29. ข้อเสียของ B๓ - ร้อนวูบวาบ หน้าแดง - เกิน ๕๐๐ มก./วัน อาจทำลายตับได้. - ต้องใช้อย่างระมัดระวังในผู้ที่ตั้งท้อง เป็นเบาหวาน ต้อหิน เกาท์ โรคตับ และแผลในกระเพาะอาหาร. Neutritional healing หน้า ๑๕

  30. ระดับโค.เลว (LDL) ที่พึงปรารถนา < ๑๓๐ มก.% ก้ำกี่ง ๑๓๐ - ๑๕๙ สูง ๑๖๐ หรือสูงกว่า วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๕๙

  31. ขุ่นมัว ขุ่นคล้ายนม ระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด ค่าที่พึงปรารถนา < ๑๕๐ ก้ำกึ่ง ๑๕๐ - ๒๔๙ สูง ๒๕๐ – ๕๐๐ สูงมาก > ๕๐๐ น้ำเลือด

  32. ไขมันสัตว์ส่วนใหญ่คือไตรกลีเซอไรด์ไขมันสัตว์ส่วนใหญ่คือไตรกลีเซอไรด์ ย่อยเป็นกรดไขมัน ดูดซึม กลับมาเป็นไตรกลีเซอไรด์ + ตับสร้างขึ้น สะสมไว้เป็นไขมันในร่างกาย

  33. ตับ อนุภาค ของ VLDL ไตรกลีเซอไรด์ โคเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์(ผู้ช่วยผู้ร้าย) จากอาหารจะหมดไปในข้ามคืน ตอนเช้าตับจะสร้างขึ้นใหม่

  34. น้ำตาลกับอินซูลิน น้ำตาลถูกดูดซึมเร็ว น้ำตาลในเลือดเพิ่มเร็ว เกิดการหลั่งอินซูลินมากขึ้นอย่างรวดเร็ว อินซูลินกระตุ้นให้ตับสร้างโคเลสเตอรอล อินซูลินกระตุ้นให้กล้ามเนื้อในหลอดเลือด หนาตัว ทำให้รูหลอดเลือดเล็กลง ตับเปลี่ยนน้ำตาลเป็นไตรกลีเซอไรด์ เป็นผลให้ไตรกลีเซอไรด์สูง ลำใส้เองก็ผลิตไตรกลีเซอไรด์ วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๙๐ รู กล้ามเนื้อเรียบของหลอเลือด

  35. น้ำตาลและไตรกลีเซอไรด์สูงส่งผลให้น้ำตาลและไตรกลีเซอไรด์สูงส่งผลให้ - ระดับตาลในเลือดสูง - โค.ดีลด - ความดันสูง - โรคอ้วน - ผนังหลอดเลือดหนา และตีบ - โคเลสเตอรอลสูง

  36. อันตรายจากไขมันในเลือดสูงอันตรายจากไขมันในเลือดสูง ๑. จากขาหมูเพียงมื้อเดียว โค.จะกระตุ้นผนังหลอดเลือดผลิตฮอร์โมนทรอมโบเซน (thromboxane) หลอดเลือดแดงบีบตัว เกล็ดเลือดจับตัวกัน เลือดแข็งตัว รัดเกร็งของหลอดเลือด (ต่อ)

  37. ๒. ตื่นเต้น ตกใจ เสียใจ ดีใจอย่างมาก เช่น ดูกีฬาที่ตื่นเต้น เสียใจมาก หลั่งโคแอดรี นาลินหลอดเลือดบีบตัวแรง คราบแตก. ๓. ออกกำลังกายรุนแรง คราบแตก. ๔. อากาศหนาวจัด หลอดเลือดหดตัว คราบ แตก. ๕. ขาดน้ำ. ๖. ยาลดความดัน. ๗. ยาขับปัสสาวะ ๘. อ่อนเพลียมาก.

  38. อาหารมีไตรกลี....๙๐+% VLDL(+ไตร..) LDL น้ำดี HDL วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๓๗

  39. ตับกับการผลิตโคเลสเตอรอล เมื่อทานโค. เข้าไปมาก...ตับจะสร้างโค.น้อย ตับปกติจะปรับปริมาณการผลิตโค.ตลอดเวลา ตับทำงานไม่ถูกต้อง...ตับจะมีอัตราการสร้าง โค.เท่าเดิม + โค.ที่ทานเข้าไปจึงทำให้โค.สูง วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๔๗

  40. ไขมันอิ่มตัวกับสุขภาพไขมันอิ่มตัวกับสุขภาพ ถ้าทานน้ำมันมะพร้าว เนย ปาลม์ หมู ลดลง ๑๕ % จะลดโค.ในเลือดได้ ๑๕ มก.% เช่นกัน ไขมันอิ่มตัวทำให้ตับกำจัด โค.เลวได้ลดลง... จึงทำให้โค.เลวเพิ่มในเลือด. (ไปลด LDL receptors ของตับ) วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๔๙

  41. ไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยวกับสุขภาพไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยวกับสุขภาพ ผลดี: ถ้าทานน้ำมันมะกอก คาโนล่า.....มากขึ้น จะทำให้โค.ในเลือดลดลง(๑๐%) ไม่ทำให้โค.ดีลด และไตรกลี.ลดลง ผลเสีย: ระยะยาว จะกดระบบภูมิคุ้มกัน ลด โค.ดี นิ่วในถุงน้ำดี มะเร็งลำไส้. นำมันที่ดีที่สุด คือ มะกอก ? (เท่ากับเชิงซ้อน) ตรวจสอบอีกครั้ง วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๕๐

  42. ไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนกับสุขภาพไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนกับสุขภาพ ผลดี: ถ้าทานน้ำมันดอกคำฟอย ทานตะวัน ข้าวโพด(โอเมก้า-๖).....มากขึ้น จะทำให้โค. ในเลือดลดลง. ผลเสีย: ระยะยาว จะกดระบบภูมิคุ้มกัน ลด โค.ดี นิ่วในถุงน้ำดี มะเร็งลำไส้. วิธีป้องกันหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน โดย น.พ.เฉลียว ปิยะชน หน้า ๔๙

  43. ๑. โคเลสเตอรอล ปกติควรน้อยกว่า ๒๐๐ มก. % ๒๐๐ - ๒๓๙ .....สูงปานกลาง ๒๔๐ - ๒๙๙ .....สูง ตั้งแต่ ๓๐๐ ขึ้นไป .....สูงมาก

  44. โคเลสเตอรอลชนิดเลว (LDL) ควรน้อยกว่า๑๓๐ มก.% ๑๓๐ - ๑๕๓ .....สูงปานกลาง ๑๖๐ - ๑๘๙ .....สูง ตั้งแต่ ๑๙๐ ขึ้นไป .....สูงมาก

  45. โคเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) ควรมากกว่า ๔๐ มก.% ต่ำกว่า ๓๕ .....ต่ำ ตัวอย่าง: HDLสูงแต่เป็นความดัน เพราะอะไร ?

  46. สัดส่วนของโคเลสเตอรอลสัดส่วนของโคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอลรวม: ดี ..... ควรน้อยกว่า ๔.๕ ค่าปกติ < ๒๐๐ : > ๔๐ ตัวอย่าง: .......๒๐๐:๔๐ = ๕ : ๑ โคเลสเตอรอลเลว : ดี..... ควรน้อยกว่า๓ ค่าปกติ < ๑๓๐: > ๔๐ ตัวอย่าง: .......๑๓๐:๔๐ =๓.๒ : ๑

  47. คุณสมบัติ/ประโยชน์ของโคเรสเตอรอลคุณสมบัติ/ประโยชน์ของโคเรสเตอรอล ๑. เป็นสารไขมันคล้ายขี้ผึ้ง ๒. เป็นส่วนประกอบของทุกผนังเซ็ลล์ ๓. เป็นสารตั้งของฮอร์โมนบางชนิด ๔. เป็นสารตั้งต้นของน้ำดี ๕. เป็นสารตั้งต้นของวิตามินดี ทุกข้อขาดไม่ได้

  48. เซ็ลกับโคเลสเตอรรอล ทุกเซ็ลของเนื้อสัตว์มีโคเลส.....? นำมันสัตว์จึงอุดมด้วยโค.... ? ผนังเซ็ล นิวเคลียส

  49. โทษของโคเรสเตอรอล โค.จับกับผนังหลอดเลือดแดง หลอดเลือดแดงแข็งตัว > ตีบ > อุดตัน ๑. โรคหัวใจขาดเลือด เช่น .... ๒. โรคหลอดเลือดสมอง เช่น .... ๓. โรคหลอดเลือดส่วนปลายตีบตัน

More Related