1 / 16

หน่วยที่ 3 โปรแกรมภาษาและการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี

หน่วยที่ 3 โปรแกรมภาษาและการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี. รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น. ซอฟต์แวร์คืออะไร.

Download Presentation

หน่วยที่ 3 โปรแกรมภาษาและการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 3 โปรแกรมภาษาและการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

  2. ซอฟต์แวร์คืออะไร ซอฟต์แวร์ (software) คือ ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้

  3. ชนิดของซอฟต์แวร์

  4. ชนิดของซอฟต์แวร์ 1.ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ คือ ดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์

  5. ชนิดของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบแบ่งเป็น 2 ประเภท 1.1. ระบบปฏิบัติการ เช่น DOS, Windows, Unix และ Linux 1.2. ตัวแปลภาษาเช่น แอสเซมเบลอ คอมไพเลอร์ และอินเตอร์พรีเตอร์

  6. ชนิดของซอฟต์แวร์ 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟต์แวร์สำเร็จ เช่น ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน 2.2 ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ

  7. ระดับภาษาคอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ 1. ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 2. ภาษาระดับต่ำ หรือภาษาแอสเซมบลี จะเป็นการใช้ตัวอักษรมาเรียงกันเป็นคำ แทนเลขฐานสอง

  8. ระดับภาษาคอมพิวเตอร์ 3. ภาษาระดับสูง เป็นภาษาที่สามารถนำไปใช้กับเครื่องต่างระบบกันได้ ไม่ต้องเสียเวลาเรียนรู้ใหม่ทั้งหมด ได้แก่ ภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล ภาษาเบสิก ภาษาซี ฯลฯ

  9. ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซีขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี มี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 เขียนโปรแกรม (source code) • เขียนโปรแกรมภาษาซีและทำการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น.cเช่น work.c

  10. ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซีขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี มี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 2 คอมไพล์โปรแกรม (compile) • หากเกิดข้อผิดพลาด จะแจ้งให้ผู้เขียนโปรแกรมทราบ • หากไม่พบข้อผิดพลาด คอมไพเลอร์จะแปลไฟล์ source code จากภาษาซีไปเป็นภาษาเครื่อง (ไฟล์นามสกุล .obj)

  11. compile แบ่งออกเป็น 2 แบบ 1. คอมไพเลอร์ (compile)จะทำการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ แล้วทำการแปลผลทีเดียว 2. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) จะทำการอ่านและแปลโปรแกรมทีละบรรทัด

  12. ข้อดี – ข้อเสีย ตัวแปลภาษา คอมไพเลอร์

  13. ข้อดี – ข้อเสีย ตัวแปลภาษา อินเตอร์พรีเตอร์

  14. ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซีขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี มี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงโปรแกรม (link) • ต้องนำไฟล์ .objมาเชื่อมโยงเข้ากับ library ก่อน ซึ่งผลจากการเชื่อมโยงจะทำให้ได้ ไฟล์นามสกุล .exe เช่น work.exe ขั้นตอนที่ 4 ประมวลผล (run) • ต้องนำไฟล์ .exe ประมวลผลก็จะได้ผลลัพธ์ (output)

  15. ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซีขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซี Editor Library สร้าง Work.c ……….. ……….. Work.obj Work.exe Compile run Output C Compiler link Object Program Executable program

  16. THE END

More Related