1 / 20

การพยากรณ์สถานการณ์การ ผลิตและแนวโน้มราคา สินค้าปศุสัตว์รายช นิดสัตว์ ปี 2557

การพยากรณ์สถานการณ์การ ผลิตและแนวโน้มราคา สินค้าปศุสัตว์รายช นิดสัตว์ ปี 2557. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ไก่เนื้อ. ของโลก. แนวทางบริหารจัดการ และมาตรการ แก้ไข ระยะสั้น  เจรจา เปิดตลาดด้านเทคนิค SPS / ให้ความรู้ /ขยายตลาดส่งออกเนื้อไก่สดและแปรรูป GCC ระยะยาว

Download Presentation

การพยากรณ์สถานการณ์การ ผลิตและแนวโน้มราคา สินค้าปศุสัตว์รายช นิดสัตว์ ปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพยากรณ์สถานการณ์การผลิตและแนวโน้มราคา สินค้าปศุสัตว์รายชนิดสัตว์ปี 2557 กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  2. ไก่เนื้อ ของโลก แนวทางบริหารจัดการ และมาตรการแก้ไข ระยะสั้น เจรจาเปิดตลาดด้านเทคนิค SPS/ให้ความรู้/ขยายตลาดส่งออกเนื้อไก่สดและแปรรูป GCC ระยะยาว เร่งรัดดำเนินการมาตรการด้านสุขอนามัยCompartment/Traceability/Animal health ของไทย DEPARTMENT OF LIVESTOCK กรมปศุสัตว์

  3. ไข่ไก่ ของโลก แนวทางบริหารจัดการ และมาตรการแก้ไข ระยะสั้น เร่งระบายไข่ไก่ฟองเล็กขายต่ำกว่าตลาดฟองละ 10-20สต. เตือนภัยผู้เลี้ยงไก่พันธุ์ปรับสมดุลการผลิตในระบบ ระยะยาว ขยายตลาดส่งออกไข่ไก่สด/แปรรูป เป้าหมาย สิงคโปร์ Supplyไข่ไก่ให้โรงงานแปรรูป ของไทย DEPARTMENT OF LIVESTOCK กรมปศุสัตว์

  4. สุกร แนวทางบริหารจัดการ และมาตรการแก้ไข ระยะสั้น ตรึงราคาสุกรมีชีวิต 77-78 บาท/กก. ขายปลีกเนื้อแดง 150-155 บาท/กก. (1 -30เม.ย.57) จัดระบบการเลี้ยงสุกร/ป้องกันโรคฯ ลด%สูญเสีย ลดต้นทุนการผลิต ใช้ Silageแทนอาหารข้น 10% ระยะยาว จัดทำพื้นที่ปลอด FMD ฟาร์มสุกรต้องได้มาตร ฐานฟาร์มทั้งหมด ของไทย DEPARTMENT OF LIVESTOCK กรมปศุสัตว์

  5. โคเนื้อ แนวทางบริหารจัดการ และมาตรการแก้ไข ระยะสั้น เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (ลดต้นทุนใช้อาหาร Silage/เพิ่มพื้นที่ปลูกหญ้า/เลี้ยงโคยืนคอก) เร่งผลิตโคเนื้อ(โคนมเพศผู้/ธคก./จังหวัด) มาตรการจัดการสัตว์ชายแดน ระยะยาว ปรับเปลี่ยนรูปแบบส่งออกโคมีชีวิตชายแดน เป็นเนื้อโคชำแหละ-แปรรูป ผลักดันการผลิตโคเนื้อเป็นวาระแห่งาติ ของไทย DEPARTMENT OF LIVESTOCK กรมปศุสัตว์

  6. นมแลและผลิตภัณฑ์นม แนวทางบริหารจัดการ และมาตรการแก้ไข ระยะสั้น ลดต้นทุนการผลิต/ใช้อาหารผสมสำเร็จ นำร่องเพิ่มพื้นปลูกหญ้า/ผลิตอาหาร TRM ปรับปรุงคุณภาพน้ำนมดิบ ขยายตลาดส่งออกผลิตภัณฑ์นมภาคเอกชน 30% ระยะยาว โครงการเพิ่มโคสาวทดแทน พัฒนาฟาร์มเข้ามาตรฐาน นำเข้า 50% ของไทย DEPARTMENT OF LIVESTOCK กรมปศุสัตว์

  7. การแปรรูป การตลาด เกษตรกร 34,527 ราย มาตรฐาน 6,549 ฟาร์ม ต้นทุน 36.58 บ./กก. (ลูกไก่เนื้อ15.93 บาท/ตัว) • โรงฆ่าชำแหละ • (ฆจส.2) 324 โรง • -ส่งออก 24 โรง • โรงงานแปรรูป • ส่งออก 92 โรง • ในประเทศ 71 % • เนื้อไก่ 1.389 ล้านตัน • (21 กก./คน/ปี) • - เนื้อไก่สด 80 % • เนื้อไก่แปรรูป 20 % • ราคาเฉลี่ย (ม.ค.-ธ.ค.) • -ไก่มีชีวิต43.35บ./กก. (+17%) • -ไก่สดปลีก 67.36 บ./กก. สถานการณ์ไก่เนื้อ ปี 2556 • การผลิตไก่เนื้อ • เป้าผลิต 27 ล้านตัว/สป. • ไก่เนื้อ 1,400 ล้านตัว/ปี • เนื้อไก่ 2.073 ล้านตัน/ปี เป้าหมายส่งออก ปี 56= 530,000 ตัน -ไก่สด 120,000 ตัน 9% -แปรรูป 480,000 ตัน91% การผลิต ผลิตจริง ปี 2556 (-0.5%) 25.58 ล.ตัว/ส.ป.=1,330 ล.ตัว -ไก่เนื้อ 1,274 ล้านตัว/ปี -เนื้อไก่ 1.918 ล้านตัน/ปี ส่งออก29 % -เนื้อไก่สด = 89,113 ตัน(17%) -เนื้อไก่แปรรูป =440,422ตัน(83%) (E.U.46% ญี่ปุ่น 40% AEC 5% ตะวันออกกลาง 3% อื่นๆ 6%) ส่งออกเนื้อไก่(-1.4%) ปี 55 =552,280 ตัน -มูลค่า 70,870 ล้านบาทปี56 =529,535 ตัน -มูลค่า 71,562 ล้านบาท ปรับปรงข้อมูล 24/ก.พ./57 BUNYOUNG SUANGTHAMAI DLD ที่มา ข้อมูลกรมปศุสัตว์

  8. ปัญหา-อุปสรรค 1. หลายประเทศยังไม่เปิดตลาดนำเข้าเนื้อไก่สดจากไทย เช่น เกาหลีฟิลิปปินส์ ไต้หวันเป็นต้น 2. ตลาดตะวันออกกลางมีขนาดใหญ่ แต่การนำเข้าเนื้อไก่จากไทยยังมีปริมาณน้อย 3. EU ให้ปริมาณโควตาและสิทธิพิเศษทางภาษีการนำเข้าเนื้อไก่สดและแปรรูปจากไทยน้อย ทำให้ไทยต้องส่งออกนอกโควตาในอัตราภาษีสูงมาก โอกาส และแนวโน้มการตลาด ตลาดส่งออกเนื้อไก่สดและแปรรูปของไทยขยายตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง (คาดว่าเนื้อไก่สดจะเพิ่ม 90%) แนวทาง/มาตรการ 1. เข้มงวดมาตรฐานฟาร์ม/ตรวจสอบ เพื่อรักษาระดับมาตรฐานการผลิต 2. เข้มงวดมาตรการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังความเสี่ยงจากโรคระบาดสัตว์ 3. สร้างความเชื่อมั่นผู้บริโภค ระบบ Traceability 4. เจรจาเปิดตลาดกับประเทศคู่ค้าเพิ่มโควตานำเข้าไก่ เช่น กรอบ FTAไทย-EU 5. การส่งเสริมการขายในประเทศคู่ค้าใหม่และคู่ค้าเดิม

  9. ผลผลิต การตลาด แม่ไก่ไข่ให้ไข่ 48.16 ล้านตัว -ไข่ไก่ 13,519 ล.ฟอง (37 ล้านฟอง/วัน) เกษตรกร 51,028 ราย มาตรฐาน 1,792 ฟาร์ม พันธุ์สัตว์ (บาท/ตัว) ปี56=ลูกไก่ไข่ 21.28 บาท =ไก่ไข่รุ่น 145.08 บาท • ในประเทศ 99 % • ไข่ไก่สด 13,160 ล.ฟอง • ปี2556=210 ฟอง/คน/ปีเป้าหมาย • -ปี 2555(200 ฟอง/คน/ปี • -ปี 2556(211 ฟอง/คน/ปี) • ขายปลีกไข่No.3(3.44บาท) สถานการณ์ไข่ไก่ ปี 2556 แผนนำเข้าพันธุ์ -G.P. 4,160 ตัว -P.S. 659,132 ตัว Egg Board เสนอPs.504,483 ตัว ต้นทุนผลิตไข่ไก่ ปี55 =2.58 บาท/ฟอง ปี56 =2.87 บาท/ฟอง (+11%) ราคาไข่ไก่คละ(บาท/ฟอง) ปี55= 2.43 บาท ปี56 = 3.02 บาท (+24%) การผลิต ส่งออกไข่ไก่ 1% ปี 2555 -ไข่สด 180 ล.ฟอง 540 ล.บาท - แปรรูป 3,356 ตัน 273ล.บาท ปี 2556 -ไข่สด 275 ล.ฟอง 449 ล.บาท -แปรรูป 3,960 ตัน 320 ล.บาท (ไข่สด+165% แปรรูป+ 18%) นำเข้าเลี้ยงทั้งหมด ปี 55-P.S. 535,230 ตัว ปี 56-P.S. 621,052 ตัว (+16%) -G.P. 4,290 ตัว โรงงานไข่ไก่แปรรูป (ส่งออก) ปี 56 จำนวน 8 โรงงาน นำเข้าไข่ไก่แปรรูป (เพิ่ม5เท่าตัว) ปี 55 ทั้งปี 168 ตัน 123 ล้านบาท ปี 56 ทั้งปี 810 ตัน 155 ล้านบาท ปรับปรงข้อมูล 24 ก.พ.57 BUNYOUNG SUANGTHAMAI DLD ที่มา: ข้อมูลกรมปศุสัตว์

  10. ปัญหา-อุปสรรค 1.ความสมดุล Demand & Supply 2. โครงสร้างการผลิตไข่ไก่ขยายตัวเพิ่มขึ้น แต่อุตสาหกรรมแปรรูปไข่ไก่มีน้อยกว่า 3. ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นเพิ่มขึ้น 13% 4. การส่งออกไข่ไก่ของไทยมีข้อจำกัดเรื่องตลาดและราคา 5. EU ห้ามนำเข้าไข่ไก่แปรรูปจากไทยไป เนื่องจาก EU ยังไม่มีการตรวจรับรองไข่ไก่ของไทย โอกาส และแนวโน้มการตลาด ตลาดส่งออกไข่ไก่แปรรูปขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 18% แนวทาง/มาตรการ 1. วางแผนการผลิตและการตลาดร่วมภาครัฐ-เอกชน และลดต้นทุนการผลิต 2. เชื่อมโยงสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่กับสหกรณ์พืชไร่เพื่อหาแหล่งวัตถุดิบคุณภาพ 3. สนับสนุนเอกชนลงทุนอุตสาหกรรมแปรรูปเพื่อรองรับผลผลิตไข่ไก่ 4. เพิ่มการบริโภคไข่ไก่โดยให้ความรู้ความเข้าใจคุณประโยชน์ไข่ไก่ที่ถูกต้อง 5. เจรจาเปิดตลาดผลิตภัณฑ์ไข่ส่งออกไป EUและ สิงคโปร์

  11. การแปรรูป การตลาด ศักยภาพผลิต โรงฆ่าสุกร -ใบ (ฆจส.2) 725 แห่ง -รับรองส่งออก 9 แห่งโรงแปรรูปสุกร - ส่งออก 27แห่ง • ภายในประเทศ 97% • เนื้อหมู 1.210 ล้านตัน/ปี • (บริโภค 18 กก./คน/ปี) • ราคาขายเฉลี่ย (ม.ค.-ธ.ค.56) • -สุกรหน้าฟาร์ม 68.91 บาท/กก. • -เนื้อแดงขายปลีก 122.08 บาท/กก. สุกร เกษตรกร0.21 ล้านราย -เลี้ยงสุกรพื้นเมือง 0.08 ล้านราย -เลี้ยงสุกรพันธุ์&ขุน 0.13 ล้านราย เลี้ยงสุกรขุน>50ตัว= 6,676 ฟาร์ม ผ่านรับรองมาตรฐาน 3,011 ฟาร์ม ต้นทุนการผลิต ปี 2556) (ลูกสุกรใช้คิด Cost 1,942 บาท/ตัว) ต้นทุนสุกรขุนปี56=59.44 บาท/กก. ราคาลูกสุกรเฉลี่ย=1,708 บาท/ตัว สถานการณ์สุกร ปี 2556 ส่งออก 3% เนื้อสุกรสด/แปรรูป (6%:94%)เนื้อสุกรสดส่งไปฮ่องกง/แปรรูปไปญี่ปุ่น ปี 2555 =16,260 ตัน ปี 2556 =17,988 ตัน(+11%) แม่สุกรพันธุ์ 1.08 ล้านตัว เนื้อสุกร1.247 ล้านตัน/ปี สุกรมีชีวิต (ไปลาว/กัมพูชา) ปี 2555 = 620,352 ตัว ปี 2556 = 250,415ตัว การผลิต ผลิตสุกรขุน~16.21 ล้านตัว/ปี นำเข้าสุกรมีชีวิต(พันธุ์) ปี 2555 จำนวน 1,543 ตัว ปี 2556จำนวน 440 ตัว นำเข้าซากสุกร (เนื้อ/ขา/หนัง/ไส้/ตับ) ปี 2555 = 7,300 ตัน ปี 2556 = 5,347 ตัน ปรับปรงข้อมูล 24 ก.พ. 57 BUNYOUNG SUANGTHAMAI DLD ที่มา ข้อมูลกรมปศุสัตว์

  12. ปัญหา-อุปสรรค 1. ต้นทุนการผลิตสูง 5.5% (อัตราสูญเสียสูงจากสภาพอากาศแปรปรวน และโรคระบาดสัตว์) 2. การผลิตเพิ่มขึ้น แต่ตลาดจำกัดบริโภคภายในประเทศ 95% ส่งออกเพียง5 % 3. เครื่องในสุกรนำเข้าราคาถูก ตลาดเนื้อสุกรภายในประเทศถูกแย่งตลาด โอกาส และแนวโน้มการตลาด ตลาดส่งออกเนื้อสุกรแปรรูปขยายตัวเพิ่มขึ้น 18% แนวทาง/มาตรการ 1. เข้มงวดการควบคุมและเฝ้าระวังโรคระบาดสัตว์ เพื่อลดต้นทุนการผลิต 2. เร่งรัด/พัฒนาฟาร์มสุกร /โรงฆ่าเข้าสู่มาตรฐาน รวมทั้งเข้มงวดมาตรฐานปัจจัยการผลิต/ ผลิตภัณฑ์ 3. รณรงค์/ตรวจสอบการใช้สารเร่งเนื้อแดงอย่างต่อเนื่อง 4. พัฒนาการตลาดสุกร (กำหนดเกณฑ์มาตรฐานการขนส่ง สถานที่จำหน่ายเนื้อสุกรค้าส่ง-ปลีก) 5. ควบคุมและกำหนดมาตรการในการนำเข้าเครื่องในสุกร 6. เจรจาขอขยายโควตาเนื้อสุกรปรุงสุก ส่งออกไปยังญี่ปุ่นภายใต้กรอบ JTEPAเพิ่มขึ้นจาก 1,200 ตัน เป็น 12,000 ตัน

  13. การตลาด การแปรรูป • โคเนื้อ 4.53 ล้านตัว • เกษตรกร 0.768 ล้านราย • เลี้ยง>30ตัว = 15,324 ฟาร์ม • มาตรฐาน = 548 ฟาร์ม • กระบือ 0.87 ล้านตัว • เกษตรกร 0.19ล้านคน • ในประเทศ • เนื้อโค 143.2 พันตัน • (2.2 กก./คน/ปี) • ราคาเฉลี่ย ปี2556 • -โคเนื้อ 74 บ./กก. โคขุน 84บ/กก. • -เนื้อขายปลีก 164 บ./กก. โรงฆ่าโค-กระบือ ทั้งหมด 846 โรง -มี(ฆจส.2) 359 โรง -ส่งออก 2 โรง โรงแปรรูป 72 โรง (รวมโรงงานลูกชื้น) สถานการณ์โคเนื้อ-กระบือ ปี 2556 โคแม่พันธุ์ 1.31 ล้านตัว ผลผลิตโคเนื้อ ปี 56 ประมาณ 1.06ล้านตัว/ปี การผลิต ส่งออก โคเนื้อ ปี 2555 = 125,976 ตัว ปี 2556 = 260,033ตัว เนื้อโค ปี 2555 49 ตัน ปี 2556 60 ตัน นำเข้า-โคเนื้อ ปี2555 =72,438 ตัว -เนื้อโค 7,600 ตัน -เครื่องใน 3,510 ตัน ปี 2556 = 114,147 ตัว -เนื้อโค 6,050 ตัน - เครื่องใน 4,421 ตัน นำเข้ากระบือ ปี 2555 =32,361 ตัว ปี 2556 = 38,860 ตัว ปรับปรงข้อมูล 24 ก.พ.57 BUNYOUNG SUANGTHAMAI DLD ที่มา ข้อมูลกรมปศุสัตว์

  14. การตลาด การแปรรูป โคนม 0.50 ล้านตัว เกษตรกร 20,624 ราย มาตรฐานGAP 6,656 ฟาร์ม • ศูนย์รวมนม 159 ศูนย์ • ผ่าน GMP140 ศูนย์ • - สหกรณ์ 92 แห่ง • - เอกชน/อื่นๆ 67 แห่ง • โรงงานแปรรูป 98แห่ง • UHT16 โรง น้ำนมดิบใช้ภายในเกือบทั้งหมดการซื้อ-ขายน้ำนมดิบ ในประเทศมีข้อตกลงการซื้อขาย-MOU ระหว่างศูนย์รวมนมกับผู้ประกอบการ (ศูนย์รวมนม 159 แห่ง/โรงงานแปรรูป 98 แห่ง) ราคาน้ำนมดิบเฉลี่ย (ม.ค.-มิ.ย.56) -เกษตรกรขายได้ 16.92บ./กก. -รับซื้อหน้าโรงงาน18.00 บ./กก. สถานการณ์โคนม ปี 2556 แม่โครีดนม 0.23 ล้านตัว ผลิตน้ำนมดิบ1.1 ล้านตัน/ปี(น้ำนม 3,083 ตัน/วันต้นทุนน้ำนมดิบ 15.03 บ./กก. (ม.ค.-มิ.ย. 56) -นมโรงเรียน1,200 ตัน/วัน -นมพาณิชย์ 1.895 ตัน/วัน (UHT ,Past,Yogurt) การผลิต ส่งออกนม/ผลิตภัณฑ์ ปี2555 = 97,581ตัน 4,708ล. ปี2556(ม.ค.-มิ.ย.56)ส่งออกเพิ่ม16% =54,804 ตัน 2,659 ล้านบาท นำเข้านมผงขาดมันเนย ข้อตกลง57,574 ตัน/ปี (WTO 55,000+FTA 2,574) -ผลิตนมเปรี้ยว 35 % -แปรรูปอื่น 46 % -นมข้น 19 % นำเข้านมผลิตภัณฑ์ ปี 55 (226,511 ตัน18,830 ล้านบาท) ครึ่งปี 56 = 86,916 ตัน 7,823 ตันนำเข้าลดลง 30% ปรับปรงข้อมูล 5 ก.ย.56 BUNYOUNG SUANGTHAMAI DLD ที่มา ข้อมูลกรมปศุสัตว์

  15. ปัญหา-อุปสรรค 1. ปริมาณโค และผลผลิตโคเนื้อลดลง 2% ราคาเพิ่มขึ้น 11 % 2. ขาดแคลนแม่พันธุ์โค/ราคาสูง เกษตรกรไม่สามารถซื้อแม่พันธุ์มาขยายพันธุ์ได้ 3. เกษตรกรรุ่นใหม่ ไม่สนใจอาชีพการเลี้ยงโค จึงขาดแคลนผู้เลี้ยงโคเนื้อ 4. ขาดพื้นที่เลี้ยง/ปลูกหญ้า เนื่องจากเกษตรกรใช้พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นที่ได้ผลตอบแทนสูง 5. การเลี้ยงโคเนื้อต้องลงทุนสูงผลตอบแทนช้า จึงขาดแคลนแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำ โอกาส และแนวโน้มการตลาด การนำเข้า-ส่งออกโคมีชีวิตขยายตัวเพิ่มขึ้น 74 % และ83%นำเข้าราคาถูก และส่งออกได้ราคาสูง แนวทาง/มาตรการ 1. เพิ่มปริมาณผลผลิตโคเนื้อ ส่งเสริมและขยายเครือข่ายการเลี้ยงโคเนื้อ 2. สนับสนุนเกษตรกรเก็บแม่โคพันธุ์ดีไว้ขยายพันธุ์ 3. สนับสนุนเกษตรกรรุ่นใหม่เลี้ยงโคเนื้อ/สร้างแรงจูงใจด้านปัจจัยการผลิต เช่น ที่ดิน แหล่งเงินทุน 4. ตรวจสอบและเข้มงวดการนำเข้าโคเนื้อ และส่งออกโคมีชีวิตไปประเทศเพื่อนบ้าน (เพื่อควบคุมโรค) 5. ส่งเสริมการปลูกพืชอาหารสัตว์ และหาพื้นที่ว่างเปล่าของรัฐเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ 6. ส่งเสริมเครือข่ายผลิต-ตลาดโคเนื้อในกลุ่มสหกรณ์

  16. การตลาด การแปรรูป โคนม 0.50 ล้านตัว เกษตรกร 20,624 ราย เลี้ยง>20 ตัว = 10,043 ราย ได้มาตรฐานGAP= 4,913ฟาร์ม • ศูนย์รวมนม 159 ศูนย์ • ผ่าน GMP140 ศูนย์ • - สหกรณ์ 92 แห่ง • - เอกชน/อื่นๆ 67 แห่ง • โรงงานแปรรูป 98แห่ง • UHT16 โรง72 Pasteurize น้ำนมดิบใช้ภายในเกือบทั้งหมดการซื้อ-ขายน้ำนมดิบ ในประเทศมีข้อตกลงการซื้อขาย-MOU ระหว่างศูนย์รวมนมกับผู้ประกอบการ (ศูนย์รวมนม 159 แห่ง/โรงงานแปรรูป 98 แห่ง) ราคาน้ำนมดิบเฉลี่ย ปี 2556 -เกษตรกรขายได้ 16.92บ./กก. -ประกาศรับซื้อหน้าโรงงาน 18.00 บ./กก. สถานการณ์โคนม ปี 2556 แม่โครีดนม 0.23 ล้านตัว ผลิตน้ำนมดิบ1.1 ล้านตัน/ปี(น้ำนม 3,083 ตัน/วันต้นทุนน้ำนมดิบ 15.17 บ./กก. -นมโรงเรียน1,200 ตัน/วัน -นมพาณิชย์ 1.895 ตัน/วัน (UHT,Past,Yogurt) การผลิต ส่งออกนม/ผลิตภัณฑ์ ปี55= 97,581ตัน 4,708ล.บาท ปี56=119,829ตัน 4,728 ล.บาทส่งออกเพิ่ม16% นำเข้านมผงขาดมันเนย - โควตา 57,574 ตัน/ปี (WTO 55,000+FTA 2,574) - นำเข้าจริง 59,818 ตัน 126บ./กก. -ผลิตนมเปรี้ยว 35 % -แปรรูปอื่น 46 % -นมข้น 19 % นำเข้านมผลิตภัณฑ์ ปี 55 =226,511 ตัน18,830 ล้านบาท/ปี 56 = 186,680ตัน 19,700 ล้านบาท(ลดลง 18%) ปรับปรงข้อมูล 24 ก.พ. 57 BUNYOUNG SUANGTHAMAI DLD ที่มา ข้อมูลกรมปศุสัตว์

  17. ปัญหา-อุปสรรค 1. แม่โครีดนมลดลง 10.90 % 2. ต้นทุนการผลิตน้ำนมดิบสูง (15.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้น 5.91% เนื่องจากใช้อาหารข้น ทดแทนอาหารหยาบ เพราะพื้นที่ปลูกหญ้าลดลง 3. เกษตรกรพึ่งพาตลาดธุรกิจนมโรงเรียน39% ของผลผลิต ทำให้ขาดศักยภาพการแข่งขัน โอกาส และแนวโน้มการตลาด 1. ส่งออกนมยูเอสที และผลิตภัณฑ์นมเพิ่มขึ้น 20 % 2. ประเทศลาว กัมพูชา และอินโดนีเซีย นิยมการบริโภคน้ำนมยูเอชทีจากประเทศไทย แนวทาง/มาตรการ 1. ส่งเสริมการเลี้ยงแม่โคนม ทดแทน 2. ปรับปรุงพันธุ์โคนม คัดเลือกพันธุ์โดยใช้น้ำเชื้อเพื่อให้ได้โคนมที่มีขนาดใหญ่และผลิตน้ำนมได้มากขึ้น 3. สร้างความเข้าใจแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในเรื่องอาหารสัตว์ด้วยหญ้าแทนการใช้อาหารข้นเพื่อลดต้นทุน 4. เร่งรัด/ส่งเสริมการผลิต จัดการฟาร์ม/ฝูงวัว เพื่อลดต้นทุนให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม 5. จัดการด้านการตลาด โดยการเจาะตลาดในเชิงพาณิชย์

  18. การตลาด การแปรรูป • โคเนื้อ 6.33 ล้านตัว • เกษตรกร 1.035 ล้านราย • มาตรฐาน 548 ฟาร์ม • กระบือ 1.24 ล้านตัว • เกษตรกร 0.27ล้านคน • ในประเทศ • เนื้อโค 143.2 พันตัน • (2.2 กก./คน/ปี) • ราคาเฉลี่ยทั้งปี • -โคมีชีวิต 90 บาท/กก. • -เนื้อขายปลีก 210 บ./ก. โรงฆ่าโค-กระบือ ทั้งหมด 846 โรง -มี(ฆจส.2) 359 โรง -ส่งออก 2 โรง โรงแปรรูป 72 โรง (รวมโรงงานลูกชื้น) สถานการณ์โคเนื้อ-กระบือ ปี 2556 โคแม่พันธุ์ 1.59 ล้านตัว ผลผลิตโคเนื้อ ปี 56 ประมาณ1.06ล้านตัว/ปี การผลิต ส่งออก โคเนื้อ 2555 ทั้งปี 125,976 ตัว ม.ค.-มิ.ย.56 = 89,227ตัว เนื้อโค ปี 2555 ทั้งปี 49,054 ตัน ม.ค.-มิ.ย.56 6,690 ตัน นำเข้า-โคเนื้อ 2555 ทั้งปี 72,438 ตัว ม.ค.-มิ.ย.56 77,045 ตัว -เนื้อโคกระบือ 7,600 ตัน -เครื่องใน 3,510 ตัน นำเข้ากระบือ ปี 2555 ทั้งปี 32,361 ตัว ม.ค.-มิ.ย.56 21,905 ตัว ปรับปรงข้อมูล 5 ก.ย.56 BUNYOUNG SUANGTHAMAI DLD ที่มา ข้อมูลกรมปศุสัตว์

  19. การแปรรูป การตลาด • โรงฆ่าชำแหละ • - (ฆจส.2) 5 โรง • - ส่งออก 4 โรง • (3.6 ล้านตัว/เดือน • - แปรรูป 15 โรง ใช้ในประเทศ 70 % -มีชีวิต 60 บาท/กก. -ชำแหละ 88 บาท/กก. ส่งออก 30 % เนื้อเป็ดสด13%แปรรูป 87% ปี 55=8,096 ตัน 1,572ล.บาท ปี 56 (ม.ค.-มิ.ย.) 36,308 ตัน 4,981 ล้านบาท ส่งไป EU 78 % ญี่ปุ่น 22 % • เป็ดเนื้อ 9.63 ล้านตัว • -เกษตรกร 51,660 ราย • -มาตรฐาน 447 ฟาร์ม • - เป็ดไล่ทุ่ง 0.92 ล้านตัว • - เกษตรกร 3,947 ราย • เป็ดเทศ 6.77 ล้านตัว • เป็ดไข่ 9.87 ล้านตัว • เป็ดไข่ไล่ทุ่ง 9.49 ล้านตัว • เกษตรกร 0.43 ล.ราย สถานการณ์เป็ดเนื้อ-ไข่ ปี 2556 การผลิต เนื้อเป็ด 0.12ล้านตัน ผลิตเป็ดเนื้อ 65 ล.ตัว/ปี • ไข่เป็ด • -ในประเทศ 99 %ส่งออก 0.0% • ปี55 ส่ง1.2 แสนฟอง 6 ล.บาท • ม.ค.-มิ.ย.56 ส่ง 2.3 แสนฟอง • มูลค่า 3.6 ล้านบาท • ส่งไปพม่า 64% • ผลิตไข่เป็ด • 3,870 ล้านฟอง/ปี ปรับปรงข้อมูล 23 มิ.ย.56 BUNYOUNG SUANGTHAMAI DLD ที่มา ข้อมูลกรมปศุสัตว์

  20. การแปรรูป การตลาด แพะ 0.44 ล้านตัว เกษตรกร 41,674 ราย มาตรฐาน 79 ฟาร์ม ฟาร์มปลอดโรค 54 ฟาร์ม เครื่อข่ายปรับปรุงพันธุ์ 48 ฟาร์ม กลุ่มผู้เลี้ยง 377 กลุ่ม เป้าผสมเทียม 3,400 ตัว/ปี โรงฆ่า(ฆจส.2) จำนวน 1โรง(ราชบุรี) โรงฆ่าในประเทศ(ท้องถิ่น) • ในประเทศ 100% • เนื้อแพะ1,200 ตัน/ปี • (0.02 กก./คน/ปี) • ราคาเฉลี่ยทั้งปี • -แพะมีชีวิต 125 บาท/กก. • -เนื้อแดงปลีก 300 บาท/กก. • -น้ำนมดิบ 40 บาท/กก. • -นม Past 100 บาท/กก. สถานการณ์แพะ ปี 2556 แพะเนื้อ0.10 ล้านตัว เนื้อแพะ1,200ตัน/ปี มูลค่า360ล้านบาท/ปี การผลิต แพะเนื้อ(92%)0.39ล้านตัว เกษตรกร 40,372 ราย นมดิบ1.86ล้านลิตร/ปี นมPast.100-120 บาท/ลิตร มูลค่า 186 ล้านบาท ส่งออก ปี 56 -แพะมีชีวิต 2,062 ตัว แพะนม (8%) 33,363 ตัว เกษตรกร 1,739 ราย -เพศเมีย 14,945 ตัว รีดนม 20%=2,989 ตัว นำเข้า ปี 56-แพะมีชีวิต 101 ตัว 0.1 ล.บ. -หนังแพะฟอก 34 ตัน 75.49 ล.บ.

More Related