1 / 39

2 2 พฤษภาคม 2556 สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงการจัดทำแผนแม่บทด้านพลังงานของประเทศ 20 ปี ระยะที่ 2 การประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็นครั้งที่ 3 ทบทวนวิสัยทัศน์และ กรอบยุทธศาสตร์รายสาขาพลังงาน. 2 2 พฤษภาคม 2556 สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ลำดับการนำเสนอ. ทบทวนและสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ร่างวิสัยทัศน์และกรอบยุทธศาสตร์

rusti
Download Presentation

2 2 พฤษภาคม 2556 สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการจัดทำแผนแม่บทด้านพลังงานของประเทศ 20 ปี ระยะที่ 2การประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็นครั้งที่ 3ทบทวนวิสัยทัศน์และกรอบยุทธศาสตร์รายสาขาพลังงาน 22 พฤษภาคม 2556 สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. ลำดับการนำเสนอ • ทบทวนและสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา • ร่างวิสัยทัศน์และกรอบยุทธศาสตร์ • ทิศทางการพัฒนาสาขาพลังงาน • ภาคการใช้และประสิทธิภาพพลังงาน • การจัดหาและเข้าถึงปิโตรเลียม • การจัดหาและเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า • พลังงานหมุนเวียน • พลังงานอื่นๆ (ถ่านหิน นิวเคลียร์ และอื่นๆ)

  3. 1. ทบทวนและสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

  4. Phase I Phase II - Focus group I แนวคิดในการจัดทำแผนแม่บทพลังงานระยะที่ 2 Phase II - Focus group II Phase II - Focus group II

  5. วิสัยทัศน์แผนชาติปี 2570 • ความมั่นคงอาหารและพลังงาน • ระบบผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • พึ่งพาตนเองและแข่งขันได้ • ธรรมาภิบาล • นโยบายรัฐบาลด้านพลังงาน • การสร้างรายได้ให้ประเทศ • ความมั่นคงทางพลังงาน • ราคาเป็นธรรมและสะท้อนต้นทุน • พลังงานทดแทน • ประสิทธิภาพพลังงาน เป้าหมายการพัฒนาแผนแม่บทพลังงาน (Key decision focus)

  6. บริบทแวดล้อมที่ส่งผลต่อการพัฒนาพลังงานสู่เป้าหมายบริบทแวดล้อมที่ส่งผลต่อการพัฒนาพลังงานสู่เป้าหมาย • ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การค้า การลงทุนที่ไร้พรมแดน • การผูกขาดในธุรกิจพลังงานและสถานการณ์ความไม่สงบในกลุ่มประเทศผู้ผลิตพลังงาน • สภาวะเศรษฐกิจ ประชากร และเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างในอนาคต • ความผันผวนของราคาพลังงานในอนาคต • นโยบายชัดเจนและมีความต่อเนื่อง • กลไก/เครื่องมือในการขับเคลื่อนแผนเพียงพอและมีประสิทธิภาพ: เศรษฐกิจ-พลังงาน-อุตสาหกรรม-ขนส่ง-เกษตร-สิ่งแวดล้อม • อำนาจหน้าที่ชัดเจน มีการประสานและบูรณาการเป็นเอกภาพ • ระบบฐานข้อมูล การวิเคราะห์ มีการเผยแพร่และโปร่งใส • ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีทั่วโลก และรูปแบบที่มีความหลากหลายมากขึ้น • การเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ Smart grid • การพัฒนาเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงกับศักยภาพของไทย • การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร • การพัฒนานิคมการเกษตร วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์ • ความเชื่อมโยงที่สลับซับซ้อนของระหว่างอาหาร พลังงานและน้ำ • ภัยธรรมชาติและปริมาณน้ำฝน • การรับรู้ข่าวสารของสังคมในโลกเสรี • กระบวนการมีส่วนร่วมของสังคมและชุมชน • พฤติกรรมและการปรับตัว • ความเหลื่อมล้ำทางสังคมที่ส่งผลต่อความมั่นคงของระบบพลังงาน • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และความต้องการลดก๊าซเรือนกระจก • การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่จากกิจกรรมและโครงการต่างๆ

  7. จัดลำดับความสำคัญและประเมินความเสี่ยง (ความไม่แน่นอน) I. Caution • II. Critical Uncertainty • การมีส่วนร่วม ความตระหนักรู้ของสังคม • สังคมเหลื่อมล้ำ กระจายผลประโยชน์ • ข้อตกลง Climate Change และกลไกสะอาด • โครงสร้างเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม โลจิสติกส์ • เทคโนโลยีและทรัพยากร • สถานการณ์ความขัดแย้งในต่างประเทศ และราคาน้ำมันในตลาดโลก • การเมือง ธรรมภิบาล ความต่อเนื่องและชัดเจนของนโยบาย Impact • III. Low impact • ประเด็นระหว่างประเทศ ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • การจัดการทรัพยากร อาหาร พลังงาน น้ำ และ Zoning • ราคาอาหารและสินค้าเกษตร • การพัฒนาโครงการพลังงานในประเทศเพื่อนบ้าน • การรับรู้ข้อมูลข่าวสารในโลกเสรี และอื่นๆ Uncertainty

  8. ผลกระทบและความไม่แน่นอนของปัจจัยเสี่ยงในเอเซียผลกระทบและความไม่แน่นอนของปัจจัยเสี่ยงในเอเซีย ที่มา: 2013 World Energy Issues Monitors

  9. แนวคิดในการฉายภาพอนาคตพลังงานไทยเชิงปริมาณแนวคิดในการฉายภาพอนาคตพลังงานไทยเชิงปริมาณ กรอบการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยขับเคลื่อนตามช่วงเวลา Reference scenario Coma scenario Healthy scenario ภาคการใช้พลังงานรายสาขา อุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง เกษตร ครัวเรือนและอาคารพาณิชย สถานการณ์ต่างประเทศ และราคาน้ำมันในตลาดโลก การแทรกแซงการเมือง ธรรมาภิบาล และการขับเคลื่อนของภาครัฐ โครงสร้างเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ การมีส่วนร่วม การปรับตัว และการตระหนักรู้ของสังคม ข้อตกลงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศการพัฒนาเทคโนโลยี และแหล่งพลังงาน ภาคการผลิตและจัดหาพลังงาน การผลิตไฟฟ้า โรงกลั่นน้ำมัน โรงแยกก๊าซธรรมชาติ และการแปรรูปพลังงานในรูปแบบต่างๆ ปริมาณสำรองเชื้อเพลิงและศักยภาพพลังงานทดแทน • ผลกระทบเชิงปริมาณ • ดัชนีชี้วัดด้านต่างๆ เช่น ความต้องการพลังงานต่อประชากร สัดส่วนการนำเข้าปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และอื่นๆ • ผลกระทบเชิงคุณภาพ • ทัศนคติและการยอมรับของสังคม • ผลกระทบจากปัจจัยด้านการเมือง การมีส่วนร่วม และอื่นๆ

  10. การจัดเรียงโครงสร้างพลังงานสำหรับแบบจำลองการจัดเรียงโครงสร้างพลังงานสำหรับแบบจำลอง

  11. ความสัมพันธ์ของปัจจัยขับเคลื่อนความสัมพันธ์ของปัจจัยขับเคลื่อน 1. ราคาน้ำมัน ในตลาดโลก 3. มูลค่าทางเศรษฐกิจ รายสาขา 2. เป้าหมายของแผนฯ และเทคโนโลยี

  12. สรุปสถานการณ์และภาพอนาคตพลังงานในอีก 20 ปีข้างหน้า

  13. สรุปสถานการณ์และภาพอนาคตพลังงานในอีก 20 ปีข้างหน้า • แนวโน้มความต้องการพลังงานในภาพรวมและระดับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง • พลังงานไฟฟ้าจะมีบทบาทในโครงสร้างการใช้พลังงานเพิ่มมากขึ้นในอนาคต • ประสิทธิภาพพลังงานในภาพรวมมีการพัฒนาในทิศทางที่ดีขึ้น • ความต้องการนำเข้าเชื้อเพลิงฟอสซิลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญโดยเฉพาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ • การเติบโตของพลังงานทดแทนมีเพิ่มมากขึ้น การกระจายชนิดเชื้อเพลิงมีมากขึ้น แต่ยังคงต้องพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นหลักโดยเฉพาะภาคการผลิตไฟฟ้าและภาคคมนาคมขนส่ง

  14. 2. ร่างวิสัยทัศน์ กรอบยุทธศาสตร์

  15. แผนพลังงานและแผนพัฒนาประเทศด้านต่างๆแผนพลังงานและแผนพัฒนาประเทศด้านต่างๆ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ + SWOT ในแต่ละภูมิภาค ปัจจัยขับเคลื่อน V.S. ปัจจัยเสี่ยง (ลำดับความสำคัญและความไม่แน่นอน) ภาพอนาคตการใช้และการจัดหาพลังงานและผลกระทบด้านต่างๆ (Scenario) Opportunity Strength Weakness Threat 1. เชื้อเพลิง (การใช้ การจัดหา ชนิด) 2. สาขาเศรษฐกิจ (อุตสาหกรรม คมนาคม พาณิชยกรรม เกษตร และอื่นๆ) 3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (เจ้าภาพ บทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ) 4. กรอบเวลา (ระยะสั้น – กลาง - ยาว)

  16. ร่างวิสัยทัศน์ทุกภาคส่วนร่วมขับเคลื่อนพลังงานคู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ สร้างรายได้ให้ประเทศและกระจายสู่สังคมอย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤติพลังงานโลก กรอบยุทธศาสตร์

  17. 3. กรอบยุทธศาสตร์รายสาขาพลังงาน- ชนิดเชื้อเพลิง- ข้อกำหนดสำหรับแผนพลังงานแต่ละด้าน- เจ้าภาพหลักและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  18. ข้อกำหนดและกรอบการพัฒนาพลังงานรายสาขา ชนิดเชื้อเพลิง และผู้มีส่วนได้เสีย 5. พลังงานอื่นๆ 2. การจัดหาและการเข้าถึงปิโตรเลียม 4. พลังงานหมุนเวียน 3. การจัดหาและเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า 1. การใช้และประสิทธิภาพพลังงาน

  19. 1. การใช้และประสิทธิภาพพลังงาน • การใช้พลังงานส่วนใหญ่มาจากภาคอุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง และอาคาร การใช้ไฟฟ้ามีบทบาทสำคัญในภาคอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์ และที่อยู่อาศัย และคาดว่าจะมีบทบาทมากขึ้นเรี่อยๆ น้ำมันยังคงเป็นเชื้อเพลิงหลักในภาคคมนาคมขนส่ง แม้ว่าภาครัฐมีเป้าหมายการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพมากขึ้น แต่ยังทดแทนได้ไม่มากนัก • ดัชนี้ชี้วัดด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาพรวมของไทยในรอบ 10 ปีที่ผ่านมายังไม่ดีนักเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆและค่าเฉลี่ยของโลก โดยเฉพาะการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนและระบบราง • ปัจจุบันมีมาตรการด้านประสิทธิภาพพลังงานภายใต้ พรบ. อนุรักษ์พลังงาน สำหรับโรงงานและอาคารควบคุม รวมถึงมาตรการเชิงสมัครใจในรูปแบบต่างๆ ภายใต้กองทุนอนุรักษ์ฯ

  20. 1. สาขาเศรษฐกิจในภาคการบริโภคพลังงานและประสิทธิภาพ การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายรายสาขาเศรษฐกิจ (กรณีอ้างอิง)

  21. 1. สาขาเศรษฐกิจในภาคการบริโภคพลังงานและประสิทธิภาพ ความเข้มข้นการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย

  22. O S O1: การเติบโตของเศรษฐกิจโดยเฉพาะภาคบริการ และการแข่งขันที่เพิ่มมากขึ้นภายใต้การเปิดเขตเศรษฐกิจ S1: มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาด้านประสิทธิภาพพลังงาน O2: โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ S2: มีความพร้อมในแหล่งทุนโดยเฉพาะกองทุนอนุรักษ์พลังงาน O3: การพัฒนาเทคโนโลยีและประสิทธิภาพของอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องจักร ยานยนต์และนวัตกรรมต่างๆ W1: มีการอุดหนุนเชื้อเพลิงฟอสซิลบางประเภท T1: นโยบายประชานิยม การกระตุ้นเศรษฐกิจและการบริโภค W2: อุปสรรคการบังคับใช้กฎหมายและมาตรการเชิงบังคับ T2: ความตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่ายังมีความสำคัญน้อยกว่าราคาและต้นทุน W3: ขาดเจ้าภาพหลักที่ดูแลด้านประสิทธิภาพโดยตรงและเป็นศูนย์กลางในการทำงานอย่างเป็นเอกภาพ T3: โครงสร้างพื้นฐานและระบบขนส่งมวลชนยังขาดการพัฒนาเท่าที่ควร W T

  23. 1.สาขาเศรษฐกิจในภาคการบริโภคพลังงาน1.สาขาเศรษฐกิจในภาคการบริโภคพลังงาน วิสัยทัศน์: ทุกภาคส่วนร่วมขับเคลื่อนพลังงานคู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ สร้างรายได้ให้ประเทศและกระจายสู่สังคมอย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤติพลังงานโลก

  24. 2. การจัดหาและเข้าถึงปิโตรเลียม • ไทยนำเข้าน้ำมันดิบมาเพื่อกลั่นเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเพื่อตอบสนองการใช้ในประเทศและมีแนวโน้มที่ต้องนำเข้าทั้งน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูปเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง • การจัดหาก๊าซฯส่วนใหญ่เป็นก๊าซจากอ่าวไทย บางส่วนนำเข้าจากพม่า และในอนาคตมีแนวโน้มนำเข้าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญโดยเฉพาะในรูป LNG • โครงข่ายท่อก๊าซเชื่อมต่อกับโรงไฟฟ้าและนิคมอุตสาหกรรมเป็นหลัก สถานี NGV นอกแนวท่อใช้การขนส่งทางรถบรรทุก

  25. 2. การจัดหาและเข้าถึงปิโตรเลียม การนำเข้าสุทธิ (กรณีอ้างอิง)

  26. O S S1: มีกลไกการทำงานรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน (แผนรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน) O1: โอกาสจากการเติบโตของตลาดเทคโนโลยีใหม่ เช่น Unconventional oil & gas, ตลาด LNG O2: ศักยภาพในการสร้างรายได้ให้กับประเทศจากธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี S2: มีกองทุนน้ำมันเป็นกลไกในการบริหารจัดการความเสี่ยง S3: ภาคธุรกิจมีศักยภาพในการแข่งขัน มีประสบการณ์ และความพร้อมในการลงทุน โครงสร้างกิจการในระบบกึ่งผูกขาดการกำกับกิจการ และการส่งเสริมการแข่งขันในธุรกิจปิโตรเลียม W1: แนวโน้มการนำเข้าปิโตรเลียมเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ T1: ความเปราะบางของภาวะเศรษฐกิจโลก สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างประเทศ ความผันผวนของราคาน้ำมันในตลาดโลก และแนวโน้มราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นในระยะยาว W2: การเข้าถึงสถานีบริการ NGV และต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการขนส่งทางรถบรรทุก W3: ความขัดแย้ง ความเข้าใจในข้อมูล ข่าวสาร และข้อเท็จจริงในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม W T

  27. 2.การจัดหาและการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม2.การจัดหาและการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม วิสัยทัศน์: ทุกภาคส่วนร่วมขับเคลื่อนพลังงานคู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ สร้างรายได้ให้ประเทศและกระจายสู่สังคมอย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤติพลังงานโลก

  28. 3. การจัดหาและเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า • ไทยพึ่งพาการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซฯเป็นส่วนใหญ่ การใช้พลังงานหมุนเวียนมีแนวโน้มการเติบโตเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องภายใต้การสนับสนุนจากภาครัฐ แต่ยังไม่เพียงพอต่ออัตราความต้องการที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การรับซื้อไฟฟ้าจากเพื่อนบ้านมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น • กิจการไฟฟ้าใช้รูปแบบ Enhanced Single Buyer โดยมี กฟผ. รับซื้อไฟฟ้าจาก IPP SPP และ VSPP และดูแลระบบส่ง มี กฟน. และ กฟผ. ดูแลระบบจำหน่าย • ปัญหาความขัดแย้งในการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าในพื้นที่และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นที่มีความสำคัญ มีกองทุนพัฒนาโรงไฟฟ้าเป็นกลไกหลักในการพัฒนาพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า • ระบบสายส่งจะมีบทบาทสำคัญในการซื้อขายไฟฟ้าภายใต้บริบท AEC

  29. 3. การจัดหาและเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในภาคการผลิตไฟฟ้า (กรณีอ้างอิง)

  30. O S O1: โอกาสจากการเติบโตของเทคโนโลยีใหม่ เช่น Smart grid และความหลากหลายของเทคโนโลยีในอนาคต S1: ภาคธุรกิจมีศักยภาพในการแข่งขัน มีประสบการณ์ และความพร้อมในการลงทุน O2: ศักยภาพการจัดหาพลังงานไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะในกลุ่ม GMS S2: มีกองทุนพัฒนารอบโรงไฟฟ้าเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการในพื้นที่ O3: การส่งเสริมธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วมระดับชาติ O4: การเติบโตของเศรษฐกิจในต่างจังหวัดและภูมิภาคอาเซียน S3: ศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้าที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ W1: ความต้องการไฟฟ้ามีแนวโน้มเติบโตอย่างมากในอนาคต T1: ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ไม่ปกติของประเทศเพื่อนบ้านที่ไทยนำเข้าไฟฟ้า หรือก๊าซธรรมชาติ W2: สัดส่วนการพึ่งพาก๊าซสำหรับการผลิตไฟฟ้าอย่างมาก W3: ปัญหาความขัดแย้งในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าในพื้นที่ W T

  31. 3.การจัดหาและการเข้าถึงไฟฟ้า3.การจัดหาและการเข้าถึงไฟฟ้า วิสัยทัศน์: ทุกภาคส่วนร่วมขับเคลื่อนพลังงานคู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ สร้างรายได้ให้ประเทศและกระจายสู่สังคมอย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤติพลังงานโลก

  32. 4. พลังงานหมุนเวียน • ประเทศไทยมีศักยภาพด้านพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานชีวภาพสูง • ปัจจุบันมีการใช้พลังงานหมุนเวียนส่วนใหญ่ในภาคคมนาคมขนส่ง (เอทานอลและไบโอดีเซล) และภาคการผลิตไฟฟ้า (ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ แสงอาทิตย์ ขยะ ลม น้ำขนาดเล็ก) ภายใต้การสนับสนุนจากภาครัฐ • ตลาดพลังงานหมุนเวียนมีแนวโน้มการเติบโตสูงอย่างมีนัยสำคัญในอนาคต แต่ยังไม่สามารถทดแทนความต้องการพลังงานที่เพิ่มขึ้นได้ • แผนพลังงานทดแทนได้เริ่มพิจารณาเทคโนโลยีใหม่ๆที่มีศักยภาพแต่ยังไม่มีการพัฒนาในเชิงพาณิชย์หลายประเภท เช่น เชื้อเพลิงชีวภาพรุ่นที่ 2 เชี้อเพลิงจากสาหร่าย ก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงาน เซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคา เป็นต้น

  33. O S O1: โอกาสจากแนวโน้มการเติบโตของพลังงานทดแทนและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องทั่วโลกและต้นทุนที่ลดลงของเทคโนโลยีใหม่ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ S1: มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนและมีกลไกสร้างแรงจูงใจในการใช้พลังงานหมุนเวียน S2: มีการกำหนดมาตรฐานและราคาอ้างอิงที่ชัดเจนโดยเฉพาะเชื้อเพลิงชีวภาพ O2: การพัฒนากลไกสะอาดและข้อตกลงระหว่างประเทศด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ S3: มีศักยภาพพลังงานหมุนเวียนสูงโดยเฉพาะด้านเกษตร ขยะเทศบาลและชุมชน O3: การเติบโตของเศรษฐกิจในต่างจังหวัด W1: ข้อจำกัดและผลกระทบที่มีต่อระบบไฟฟ้า T1: ความต้องการน้ำ และการใช้ประโยชน์ของพื้นที่จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจอื่น W2: ข้อจำกัดด้านโลจิสติกส์หว่างแหล่งวัตถุดิบ การผลิต และตลาดผู้ใช้ T2: สถานการณ์ราคาน้ำมันดิบและราคาคาร์บอนในตลาดโลก W3: พึ่งพาการนำเข้าเทคโนโลยีและมีองค์ประกอบที่ต้องนำเข้าสูง T3: ในภาพรวมยังมีต้นทุนต่อหน่วยพลังงานสูงกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิล W T

  34. 4.พลังงานหมุนเวียน วิสัยทัศน์: ทุกภาคส่วนร่วมขับเคลื่อนพลังงานคู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ สร้างรายได้ให้ประเทศและกระจายสู่สังคมอย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤติพลังงานโลก

  35. O S O1: โอกาสจากการพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด และ Carbon Capture and Storage (CCS) S1: เทคโนโลยีสามารถสร้างความมั่นคงเชื่อถือได้ และมีต้นทุนต่อหน่วยต่ำ O2: การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและการเป็นตลาดเชื้อเพลิงหลักของโลกในปัจจุบัน S2: ภาคธุรกิจไทยมีศักยภาพในการแข่งขัน มีประสบการณ์ และมีความพร้อมในการลงทุน W1: นโยบายถ่านหินผันแปรตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา T1: การเติบโตของตลาดเชื้อเพลิงคู่แข่งโดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติ่ W2: โดยเฉลี่ยส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมมากเมื่อเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่นๆ T2: ข้อตกลงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและแนวโน้มราคาคาร์บอน W3: พึ่งพาการนำเข้าเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ W T

  36. O S S1: เทคโนโลยีสามารถสร้างความมั่นคงเชื่อถือได้ มีต้นทุนต่อหน่วยและอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่ำได้ในเวลาเดียวกัน O1: โอกาสจากการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่มีประสิทธิภาพและความเชื่อถือมากขึ้น O2: ข้อตกลงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและแนวโน้มราคาคาร์บอน W1: นโยบายนิวเคลียร์มีความไม่แน่นอน และผันแปรตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา T2: การเติบโตของอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ทั่วโลกยังไม่ชัดเจน มีทั้งนโยบายที่สนับสนุนและไม่สนับสนุนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ W2: ขาดประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและบุคคลากร W3: ประสบปัญหาความขัดแย้งและการยอมรับ W T

  37. การระดมความคิดเห็นครั้งที่ 4 • ทบทวนวิสัยทัศน์ กรอบยุทธศาสตร์ และข้อกำหนดรายสาขา • เจ้าภาพและบทบาทของภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแนวทางการบูรณาการณ์ระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่างๆ • ความเชื่อมโยงและกรอบเวลาของแผนพลังงานในแต่ละด้าน

  38. www.eppo.go.th www.eri.chula.ac.th

More Related