1 / 37

การพัฒนาระบบ CPR

การพัฒนาระบบ CPR. คณะกรรมการทีมช่วยฟื้นคืนชีพ รพ.นครพนม. ที่มาของปัญหา. การทบทวน Mortality conference พบปัญหาในการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วย Upper airway obstruction ที่ตึก ENT. Start CPR Immediately. Better chance of survival Brain damage in 4-6 minutes

rufus
Download Presentation

การพัฒนาระบบ CPR

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. www.themegallery.com การพัฒนาระบบ CPR คณะกรรมการทีมช่วยฟื้นคืนชีพ รพ.นครพนม

  2. ที่มาของปัญหา การทบทวน Mortality conference พบปัญหาในการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วย Upper airway obstruction ที่ตึก ENT www.themegallery.com

  3. Start CPR Immediately • Better chance of survival • Brain damage in 4-6 minutes • Brain damage is certain after 10 minutes www.themegallery.com

  4. โอกาสรอดจากการที่หัวใจหยุดเต้นจาก VF

  5. ปัญหาที่พบคืออะไร www.themegallery.com

  6. ปัญหาที่พบในการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วย รพ.นครพนม • เจ้าหน้าที่ขาดทักษะความชำนาญในการ CPR • เจ้าหน้าที่มีอัตรากำลังไม่เพียงพอ • แพทย์มาไม่ทัน / ตามแพทย์ไม่พบ • ยาและอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพไม่ครบ • อุปกรณ์ชำรุด • ไม่มีเครื่อง defibrillator ประจำหอผู้ป่วย • ไม่มีการประเมินผลประสิทธิภาพในการช่วยฟื้นคืนชีพ www.themegallery.com

  7. แนวทางแก้ไข คณะกรรมการ ทีมช่วยฟื้นคืนชีพ รพ.นครพนม อายุรแพทย์ กุมารแพทย์ แพทย์และพยาบาลกลุ่มงานอื่น ๆ พยาบาล ICU วิสัญญีพยาบาล พยาบาล ER www.themegallery.com

  8. ระบบ อุปกรณ์ ทักษะ กระบวนการพัฒนา • มาตรฐานรถ Emergency • ยาฉุกเฉิน • Defibrillator • การ call code • ทีม CPR กลาง • แพทย์เวร CPR • พยาบาลเวร CPR CPR 2005 www.themegallery.com

  9. Dream team • มาถึงที่เกิดเหตุภายใน 4 นาที • ทักษะในการ CPR พร้อม • อุปกรณ์ในการ CPR พร้อม • ให้ยาได้ถูกต้องแม่นยำ รวดเร็ว • Early defibrillation ตามข้อบ่งชี้ • มีการบันทึกการให้ยาและการรักษา • การดูแลผู้ป่วยและญาติแบบองค์รวม • ทบทวนผลการปฏิบัติงานและมีการพัฒนา

  10. การอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพแก่เจ้าหน้าที่การอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพแก่เจ้าหน้าที่ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การช่วยฟื้นคืนชีพ ผู้ใหญ่ - เด็ก ในวันที่ 3-7 มีนาคม 2551 ( 5 รุ่น รุ่นละ 8 ชั่วโมง ) การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ครู ก ในการฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพ ผู้ใหญ่ - เด็ก ในวันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2551 ( 2 รุ่น รุ่นละ 8 ชั่วโมง) ประเมินระบบโดยการเก็บบันทึกใบประเมินผลและการสุ่มสถานการณ์สมมติ เจ้าหน้าที่ยังขาดทักษะในการ CPR และสับสนในการเข้าทีม www.themegallery.com

  11. www.themegallery.com

  12. เจ้าหน้าที่ทุกระดับ เกิดความมั่นใจในการ CPR

  13. ซ้อมการเข้าทีม “Dream team” www.themegallery.com

  14. เมษายน 2552: เสริมทักษะในการ CPR และชี้แจงระบบให้บุคลากรใหม่

  15. การ Call code“1669” ในเวลาราชการทีม CPR ประจำตึก ประกอบด้วย • คนที่ 1 พยาบาลวิชาชีพ หรือพยาบาลเทคนิค • คนที่ 2 พยาบาลวิชาชีพ • คนที่ 3 พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้ • คนที่ 4 แพทย์เจ้าของไข้ กรณีตามไม่พบให้ตามแพทย์ประจำ OPD ขณะนั้นมาแทน www.themegallery.com

  16. การแก้ไขปัญหาหน่วยงานที่ไม่มีแพทย์และพยาบาลประจำการแก้ไขปัญหาหน่วยงานที่ไม่มีแพทย์และพยาบาลประจำ ได้แก่ X ray, Lab, ทันตกรรม, OPD, กายภาพและแพทย์แผนไทย ประกอบด้วย คนที่ 1 เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่เกิดเหตุ คนที่ 2 พยาบาลวิชาชีพ จากหน่วยงานดังกำหนดไว้ในตาราง คนที่ 3 พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้ คนที่ 4 แพทย์เวรรับ consult จาก OPD อายุรกรรม ในกรณีผู้ใหญ่ หรือ แพทย์เวรรับ consult จาก OPD เด็ก กรณีผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 14 ปี www.themegallery.com

  17. นอกเวลาราชการ แก้ปัญหาด้วย “ทีม CPR กลาง” ทีม CPR กลาง ประกอบด้วย • คนที่ 1 พยาบาลวิชาชีพ หรือพยาบาลเทคนิคประจำหอผู้ป่วย • คนที่ 2 พยาบาลวิชาชีพที่อยู่เวร CPR ในวันนั้น (มาจากหน่วยงาน ER, ICU และวิสัญญี) • คนที่ 3 พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้ • คนที่ 4 แพทย์เวร CPR www.themegallery.com

  18. การแบ่งหน้าที่ในทีม CPR ให้ชัดเจน ลดความสับสน www.themegallery.com

  19. จัดทำ CPR Record ขนาดยาที่ใช้ ในเด็กและผู้ใหญ่ บันทึก ขณะ CPR การประเมินผู้ป่วยหลัง CPR ผลการ CPR

  20. ผังการแบ่งใช้เครื่อง Defibrillator www.themegallery.com

  21. มาตรฐานรถ Emergency • การจัดเก็บยาและอุปกรณ์ได้มาตรฐานเดียวกันทั้ง รพ. • ตรวจสอบความพร้อมใช้ทุกเวร • สุ่มตรวจประเมินโดยวิสัญญีพยาบาลของทีมกลาง www.themegallery.com

  22. สรุปขั้นตอนการดูแลผู้ป่วย Arrest • มีพยาบาลเข้าประเมินผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือเบื้องต้นทันที • Call code 1669 “CPR ตึก... แพทย์...” • ศูนย์ 1669 ประสานแพทย์ พยาบาล CPR เครื่อง Defibrillator • ทีม CPR ประจำตึกทำการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วย • นอกเวลาราชการมีทีม CPR กลางเคลื่อนที่เร็วไปจุดเกิดเหตุ • เครื่อง defibrillator ถูกนำไปยังจุดเกิดเหตุทันที • จดบันทึก CPR Record และ แบบประเมินผลการ CPR • คณะกรรมการ CPR เก็บรวมรวมสถิติ และพัฒนา • สุ่ม CPR เหมือนจริงเพื่อสำรวจความพร้อม ทุกที่ ทุกเวลา www.themegallery.com

  23. ผลลัพธ์: อัตราการรอดชีวิตจากการ CPR เพิ่มขึ้น www.themegallery.com

  24. ตัวชี้วัดผลสำเร็จจากการประเมินผล ปี 2552 • ผู้ป่วยได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพ • ขั้นต้นภายใน 4 นาที 100% • ขั้นสูงภายใน 8 นาที 100% • ทักษะ CPR ของทีมผ่านเกณฑ์ประเมิน 98.2% • แพทย์และพยาบาลเวร CPR ตอบสนอง ต่อการเรียกขอความช่วยเหลือภายใน 4 นาที 72.73% • รถฉุกเฉินตรวจสอบความพร้อมใช้เสมอ 81.82% www.themegallery.com

  25. ปัญหาและโอกาสพัฒนา • อัตราการส่งกลับใบประเมินผลต่ำ (62%) • การ call code ผิด • การซ้อม CPR ในตึกยังไม่ครบหลังอบรมครู ก • ทักษะในการ CPR ยังไม่ถูกต้อง www.themegallery.com

  26. 3 จัดประชุมหัวหน้าตึกและครู ก เพื่อทบทวน CPR 100% เมื่อ 25 พฤศจิกายน 2552 และจัดทำแผนทบทวนในตึก • สุ่มสำรวจ CPRในทุกหน่วยงานเพื่อสำรวจปัญหา • เก็บสถิติเพื่อการพัฒนา

  27. ตัวชี้วัดผลสำเร็จจากการประเมินผล ปี 2553 • ผู้ป่วยได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพ • ขั้นต้นภายใน 4 นาที 100% • ขั้นสูงภายใน 8 นาที 100% Call code 228ครั้ง ส่งแบบประเมินกลับ 50.8% แพทย์มาถึงจุดเกิดเหตุ 5 นาที 33 วินาที พยาบาลเวร CPR 4 นาที เครื่อง Defibrillator 3 นาที www.themegallery.com

  28. เปรียบเทียบผลสำเร็จปี 2552-2553

  29. 4 จัดประชุม CPR 2010 27 เมษายน 2554 เป้าหมาย: เจ้าหน้าที่รพ. 365 คน เข้าร่วม 395 คน (108.2%) • จัดทำห้องปฏิบัติการ CPR เพื่ออบรมภาคปฏิบัติ

  30. ปรับปรุงใบประเมินผล CPR เพื่อเก็บข้อมูลนำไปพัฒนา ผลการ CPR บันทึก ขณะ CPR การประเมินผู้ป่วยหลัง CPR

  31. ผลการ CPR จากใบประเมินใหม่ หลังการปรับปรุงล่าสุด เดือน พ.ค.-มิ.ย.54 CPR 2010

  32. จำนวนผู้ป่วยนอกเสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุเพิ่มมากขึ้น ปี 2553 ปี 2554 (ต.ค.53-พ.ค.54)

  33. สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยนอกที่ ER

  34. โอกาสพัฒนา • การ CPR ที่ได้ประสิทธิภาพ ณ จุดเกิดเหตุ • พัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยระบบตติยภูมิ • พัฒนาระบบส่งต่อ

  35. เรียนรู้ปัญหา พัฒนาระบบ ทักษะ Patient safety CPR ในรพ. CPR ณ จุดเกิดเหตุ Thank You www.themegallery.com

More Related