1 / 40

สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐาน

สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐาน. กานพลู. กระวาน. กระชาย. กะเพรา. กระทือ. กล้วยน้ำว้า. กระเทียม. ขิง. การจำแนกสมุนไพรเพื่อการรักษา โดยแบ่งตามกลุ่มโรค/อาการ กลุ่มโรคและอาการในระบบทางเดินอาหาร กลุ่มโรคและอาการในทางเดินปัสสาวะ กลุ่มโรคผิวหนัง กลุ่มโรค/อาการอื่นๆ. สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/

rue
Download Presentation

สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานสมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐาน กานพลู กระวาน กระชาย กะเพรา กระทือ กล้วยน้ำว้า กระเทียม ขิง

  2. การจำแนกสมุนไพรเพื่อการรักษาการจำแนกสมุนไพรเพื่อการรักษา • โดยแบ่งตามกลุ่มโรค/อาการ • กลุ่มโรคและอาการในระบบทางเดินอาหาร • กลุ่มโรคและอาการในทางเดินปัสสาวะ • กลุ่มโรคผิวหนัง • กลุ่มโรค/อาการอื่นๆ

  3. สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในระบบทางเดินอาหาร 1. โรคกระเพาะอาหาร: ขมิ้นชัน กล้วยน้ำว้า 2. อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด: ขมิ้น ขิง กานพลู กระเทียม กระเพรา ตะไคร้ พริกไทย ดีปลี ข่า กระชาย แห้วหมู กระวาน เร่ว มะนาว กระทือ 3. อาการท้องผูก: ชุมเห็ดเทศ มะขาม มะขามแขก แมงลัก ขี้เหล็ก คูน

  4. 5. คลื่นไส้อาเจียน: ขิง ยอ 6. โรคพยาธิลำไส้: มะเกลือ เล็บมือนาง มะหาด ฟักทอง 7. อาการปวดฟัน: แก้ว ข่อย ผักคราดหัวแหวน 8. อาการเบื่ออาหาร: บอระเพ็ด ขี้เหล็ก มะระ สะเดาบ้าน

  5. ส่วนที่ใช้ :ดอกสด ใบสดหรือแห้ง สรรพคุณ :ใบ นำมาตำทาแก้กลากเกลื้อน โรคผิวหนังดอกและใบ นำมาต้มรับประทานแก้อาการท้องผูก

  6. โรคกระเพาะอาหาร ชื่อสามัญ กล้วย ชื่อวิทยาศาสตร์Musa sapientum Linn ส่วนที่ใช้ ผล หัวปลี หยวกกล้วย สรรพคุณ ผล ผลดิบ แก้ท้องเสีย ผลสุก เป็นยาระบาย สำหรับผู้ที่เป็นโรคริดสีดวงทวาร ยาง สมานแผลห้ามเลือด ดอก แก้โรคเกี่ยวกับลำไส้ แก้โรคโลหิตจางลดน้ำตาลในเส้นเลือด

  7. ชื่อสามัญ ขมิ้น ชื่อวิทยาศาสตร์Curcuma Longa Linn. ส่วนที่ใช้ เหง้าสดและแห้ง สรรพคุณ เหง้า มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา ลดการ อักเสบ และ มีฤทธิ์ในการ ขับน้ำดี น้ำมันหอมระเหย บรรเทา อาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุดเสียด

  8. สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/อาการในระบบทางเดินหายใจสมุนไพรรักษากลุ่มโรค/อาการในระบบทางเดินหายใจ • อาการไอและระคายคอจากเสมหะ: • ขิง ดีปลี เพกา มะขามป้อม • มะขาม มะนาว มะแว้งเครือ มะแว้งต้น

  9. ชื่อสามัญ ขิง ชื่อวิทยาศาสตร์Zingiber officinals Roscoe ส่วนที่ใช้ ใบ ดอก เหง้า สรรพคุณ เหง้าแก่ลดอาการไอ และระคายคอ จากการมีเสมหะ ใช้ภายนอก รักษาโรคผิวหนังกลากเกลื้อน และแผลมีหนอง ใบ ใช้ใบสด แล้วคั้นเอาน้ำกิน 15 มล บรรเทาอาการฟกช้ำจากการหกล้ม ช่วยย่อยอาหาร ขับลม ขับลมในลำไส้ ดอก ช่วยย่อยอาหาร ฆ่าพยาธิ และ บิด

  10. ชื่อสามัญ ดีปลี ชื่อวิทยาศาสตร์ Piper chaba Hu ส่วนที่ใช้ ผลโตเต็มที่ ตากแห้ง สรรพคุณ ผลโตเต็มที่ รักษาอาการไอ ระคายคอจากเสมหะ ใช้ผลดีปลี 1/2 - 1 ผล ฝนกับน้ำมะนาวแทรกเกลือ กวาดคอวันละ 2 ครั้ง เช้า เย็น น้ำมันหอมระเหย แก้อาการท้องอืด เฟ้อ แน่นจุกเสียด

  11. ชื่อสามัญ เพกา ชื่อวิทยาศาสตร์Oroxylum indicum Vent. ส่วนที่ใช้ เมล็ดแห้งจากฝักแก่ สรรพคุณ ใช้เมล็ดแห้ง ต้มกับน้ำ 1 ถ้วยแก้ว ใช้ไฟอ่อน ๆ เคี่ยวนาน 1 ชั่วโมง ดื่มแต่น้ำครั้งละ 1/3 แก้ว วันละ 3 ครั้ง ระงับอาการไอ ระคายคอจากเสมหะ

  12. ชื่อสามัญ มะขามป้อม ชื่อวิทยาศาสตร์Phyllanthus emblica Linn.ส่วนที่ใช้ ผลโตเต็มที่สด มีรสเปรี้ยว อมฝาด สรรพคุณ แก้ไอ ขับเสมหะ เนื่องจากเนื้อในมีกรดอินทรีย์ และมีสารช่วยกระตุ้นให้น้ำลายออก ช่วยละลายเสมหะ

  13. ชื่อสามัญ มะนาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurantifolia Swing ส่วนที่ใช้เป็นยา » เปลือกและน้ำในผล สรรพคุณ» เปลือกผล รสขม ช่วยขับลมได้ดี น้ำของผลมะนาวเปรี้ยวจัด เป็นยาขับเสมหะ

  14. ชื่อสามัญ มะขาม ชื่อวิทยาศาสตร์Tamarindus indica Linn. ส่วนที่ใช้เป็นยา เนื้อฝักแก่ (มะขามเปียก) มีรสเปรี้ยวจัด สรรพคุณ เนื้อมะขามเปียก จิ้มเกลือรับประทาน ดื่มน้ำตามมาก ๆ รักษาอาการท้องผูก อาการไอ ระคายคอจากเสมหะ

  15. ชื่อสามัญ มะแว้งต้น ชื่อวิทยาศาสตร์ Solanum indicum Linn. ส่วนที่ใช้เป็นยา ผลโตเต็มที่ แต่ยังไม่สุก มีรสเฝื่อน ขม สรรพคุณ ผลสดโตเต็มที่ เคี้ยว กลืนทั้งเนื้อและน้ำ ลดอาการไอ ช่วยขับเสมหะ

  16. สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/อาการในระบบทางเดินปัสสาวะสมุนไพรรักษากลุ่มโรค/อาการในระบบทางเดินปัสสาวะ • อาการขัดเบา: กระเจี๊ยบแดง ขลู่ ตะไคร้ สับปะรด หญ้าคา อ้อยแดง

  17. ชื่อสามัญ ขลู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ Pluchea indica Less. ส่วนที่ใช้เป็นยา ส่วนที่ใช้ ยอด ใบ สรรพคุณ ทั้งต้น ใช้ต้มกิน รักษาอาการ ขัดเบา ปัสสาวะพิการ ขับปัสสาวะ รับประทาน วันละ 3 ครั้ง

  18. ชื่อสามัญ กระเจี๊ยบแดงชื่อวิทยาศาสตร์ Hibiscus sabdariffaL.ส่วนที่ใช้เป็นยา กลีบรองดอก สรรพคุณ ขับปัสสาวะ

  19. ชื่อสามัญ ตะไคร้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cymbopogon citratus (DC.ex Nees) Stapf. ส่วนที่ใช้เป็นยา ทั้งต้น หัว ใบ ราก สรรพคุณ ใช้เหง้าและลำต้นสด ต้มกับน้ำ แก้อาการขัดเบาลดอาการท้องอืดเฟ้อ แน่นจุกเสียด การที่ตะไคร้สามารถช่วยบรรเทาอาการท้องอืดเฟ้อได้ เพราะมีน้ำมันหอมระเหย

  20. สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/อาการในกลุ่มโรคผิวหนังสมุนไพรรักษากลุ่มโรค/อาการในกลุ่มโรคผิวหนัง 1. อาการกลากเกลื้อน: กระเทียม ข่า ชุมเห็ดเทศ ทองพันชั่ง พลู 2. ชันนะตุ: มะคำดีควาย 3. แผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก: บัวบก ว่านหางจระเข้ 4. ฝี แผลพุพอง: ขมิ้น ชุมเห็ดเทศ เทียนบ่าน ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร

  21. สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/อาการในกลุ่มโรคผิวหนังสมุนไพรรักษากลุ่มโรค/อาการในกลุ่มโรคผิวหนัง 5. อาการแพ้อักเสบจากแมลงสัตว์กัดต่อย 6. อาการลมพิษ: พลู 7. อาการงูสวัด เริม: พญายอ

  22. สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/อาการในกลุ่มโรคอื่นๆสมุนไพรรักษากลุ่มโรค/อาการในกลุ่มโรคอื่นๆ 1. อาการเคล็ด ขัดยอก: ไพล 2. อาการนอนไม่หลับ: ขี้เหล็ก 3. โรคเหา: น้อยหน่า

  23. สรรพคุณ เป็นยาระบาย และขับปัสสาวะ

  24. ส่วนที่ใช้เป็นยา »ใบสดหรือราก (สดหรือแห้ง) รสและสรรพคุณยา»ใบมีรสเบื่อเมา เป็นยาที่ดับพิษไข้ รากเอามาป่นละเอียดแช่เหล้าโรงเอาไว้ 7 วัน ทาแก้กลากเกลื่อนและผื่นคันต่างๆ

  25. ส่วนที่ใช้ เปลือกผลแก่ สรรพคุณ แก้ท้องเสีย วิธีใช้ » นำใบหรือรากสดหรือแห้งของทองพันชั่ง ใช้รักษากลากเกลื่อน โดยใช้ใบ5-8 ใบ หรือราก 2-3 ราก ตำให้ละเอียด แช่เหล้าโรงหรือแอลกอฮอล์เอาไว้7 วันนำมาทาบริเวณที่เป็นบ่อยๆ จนกว่าจะหาย

  26. ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบแห้งและฝักแห้ง สรรพคุณ ใบและฝักใช้เป็นยาถ่าย แต่ใบจะทำให้มีอาการไซ้ท้องมากกว่า

  27. ส่วนที่ใช้ :ใบ สรรพคุณ :ใบ : รักษาอาการอักเสบเฉพาะที่ ถอนพิษแมลงสัตว์กัดต่อย รักษาโรคเริม งูสวัด ต้น : แก้บิด

  28. ส่วนที่นำมาเป็นยา ใบสด สรรพคุณถอนพิษ แมลง - สัตว์ , เป็นฝี • แก้ผดผื่นคัน

  29. สรรพคุณ แก้เจ็บคอ แก้ท้องเดิน ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ : ฟ้าทะลาย, น้ำลายพังพอน, ยากันงู, ฟ้าลาง, เมฆทะลาย ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ ทั้งต้น

  30. ส่วนที่ใช้ :เหง้าสดและแห้ง สรรพคุณยาไทย :เหง้าของขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา ลดการ อักเสบ และ มีฤทธิ์ในการ ขับน้ำดี น้ำมันหอมระเหย ในขมิ้นชัน มีสรรพคุณบรรเทา อาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุดเสียด

  31. วิธีใช้ 1. แก้ท้องเสีย : รับประทานใบอ่อนสด เคี้ยวให้ละเอียดทีละน้อย ค่อยๆกลืน แล้วกลืนน้ำตาม ถ้าเคี้ยวกับเกลือเล็กน้อย จะกลืนง่ายขึ้น 2. ระงับกลิ่นปาก ใบสด เคี้ยวและคายกากทิ้ง 3. แก้โรคลักปิดลักเปิด ผลโตเต็มที่แต่ไม่สุก รับประทานเป็นผลไม้ ส่วนที่ใช้ ใบ ผลอ่อน สรรพคุณ แก้ท้องเสีย ระงับกลิ่นปาก บำรุงฟัน

  32. สรรพคุณ แก้ฟกช้ำ ช่วยให้แผลหายเร็ว ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ : ผักหนอก ผักแว่น ส่วนที่ใช้เป็นยา ต้นและใบสด 1. ใช้รักษาแผลสด แผลเรื้อรัง หรือแผลหลังผ่าตัด บัวบกจะช่วยลดอาการอักเสบ ช่วยให้แผลหายเร็ว และแผลเป็นมีขนาดเล็ก 2. ใช้รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก

  33. สรรพคุณ รักษากลาก เกลื้อน -นำกระเทียมมาขูดให้เป็นชิ้นเล็กๆ หรือบดให้แหลก พอกที่ผิวหนัง แล้วปิดด้วยผ้าพันแผลไว้นานอย่างน้อย 20 นาที จึงแก้ออก แล้วล้างด้วยน้ำสะอาด ทำซ้ำเช้าเย็นเป็นประจำทุกวัน -นำใบมีดมาขูดผิวหนังส่วนที่เป็นเกลื้อนให้พอเลือดซึม แล้วใช้กระเทียมทาลงไป ทำเช่นนี้ทุกวัน 10 วันก็จะหาย

  34. สรรพคุณ : แก้ฟก บวม เคล็ด ยอก ขับลม ท้องเดิน และช่วยขับระดู วิธีใช้ : เหง้า ตำแล้วคั้นเอาน้ำมาทานวดบริเวณที่เกิดอาการ หรือตำให้ละเอียดแล้วผสมเกลือเล็กน้อยคลุกเข้าด้วยกัน แล้วนำมาห่อเป็นลูกประคบ อังไอน้ำให้เกิดความร้อนขึ้นมาประคบที่มีอาการปวดเมื่อยและฟกช้ำ ชื่อท้องถิ่น : ปูลอย ปูเลย (ภาคเหนือ)ว่านไฟ (ภาคกลาง) ส่วนที่ใช้เป็นยา : เหง้าแก่

  35. ส่วนที่ใช้ ต้น ใบสด น้ำมันของต้นตะไคร้หอม สรรพคุณ ทั้งต้นใช้ไล่ยุงได้ วิธีใช้ ใช้ตะไคร้หอม 4-5 นำมาทุบ วางทิ้งไว้ในห้องมืด กลิ่นน้ำมันจะระเหยออกมาไล่ยุงและแมลง

  36. ประโยชน์ในการรักษา 1. วุ้นจากใบใช้รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวกและ แผลถลอก -เลือกใบว่านหางจระเข้ที่อยู่ส่วนล่างๆ เพราะใบใหญ่ได้วุ้นมากนำมาปอกเปลือกสีเขียวออก ล้างยางสีเหลืองที่ติดมาออกให้หมด เอาวุ้นใสมาพอกบริเวณแผล ทาวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น จนกว่าแผลจะหาย จะช่วยระงับความเจ็บปวด ช่วยให้แผลหายเร็วและไม่เกิดแผลเป็น ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ - ว่านไฟไหม้ หางตะเข้ ส่วนที่ใช้เป็นยา - วุ้นและเมือกจากใบสด

  37. ส่วนที่ใช้เป็นยา »ใบสดสรรพคุณ» รสแผ็ดร้อนเป็นยาฆ่าเชื้อโรค ขับลม ใช้ใบพลู ตำกับเหล้าทาบริเวณที่เกิดเป็นลมพิษ วิธีใช้ » ใบพลู ใช้เป็นยารักษาอาการแพ้ อักเสบ แมลงสัตว์กับต่อย อาการแพ้ในลักษณะลมพิษ โดยนำใบพลูสัก 1-2 ใบ ล้างน้ำให้สะอาด ตำให้ละเอียดผสมกับเหล้าโรงทาบริเวณที่เกิดลมพิษ ห้ามใช้กับแผลเปิดจะทำให้เกิดอาการแสบมาก

  38. แปะก๊วย - พืชสมุนไพรที่ชาวจีนเชื่อว่าเป็นยาอายุวัฒนะ สามารถบำบัดโรคต่างๆ ได้ ช่วยบำรุงสมอง ทำให้มีสมาธิและความจำดีขึ้น เป็นพืชที่มีการแยกต้นเป็นเพศผู้ และเพศเมีย ใบมีลักษณะคล้ายใบพัด แยกออกเป็น 2 กลีบ

  39. สวัสดี

More Related