1 / 58

 ภาษีอากรตาม ประมวลรัษฎากร

ภาษีเงินได้นิติบุคคล. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย. ภาษีป้าย. ภาษีบำรุงท้องที่. ภาษีมูลค่าเพิ่ม.  ภาษีอากรตาม ประมวลรัษฎากร.  ภาษีอากรอื่นๆ. ภาษีธุรกิจเฉพาะ. อากรแสตมป์. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน.  ภาษีอากรตาม ประมวลรัษฎากร. ภาษีเงินได้นิติบุคคล. มิใช่บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

Download Presentation

 ภาษีอากรตาม ประมวลรัษฎากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีอากรตาม ประมวลรัษฎากร ภาษีอากรอื่นๆ ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน

  2. ภาษีอากรตาม ประมวลรัษฎากร

  3. ภาษีเงินได้นิติบุคคล มิใช่บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร สหกรณ์เป็นนิติบุคคลตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ สหกรณ์ไม่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

  4. ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีที่สหกรณ์ ได้รับเงินจากนิติบุคคลอื่น เช่น ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากจากธนาคารฯ ธนาคารฯ ผู้จ่ายดอกเบี้ยไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย จากสหกรณ์ ถ้าสหกรณ์ถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้ สามารถยื่นคำร้องขอคืนตามแบบ ค.10 ได้ภายใน 3 ปี นับแต่วันสุดท้าย แห่งกำหนดเวลายื่นรายการภาษีตามมาตรา 27 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร • (กค 0811/4131 ลว. 20/05/2545)

  5. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ผู้จ่ายเงินได้ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย สหกรณ์รับเงินได้ สหกรณ์มีหน้าที่หัก ณ ที่จ่าย สหกรณ์จ่ายเงินได้

  6. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย สหกรณ์จ่ายเงินได้ ไม่ต้องหัก ภาษี ณ ที่จ่าย เงินปันผล & เฉลี่ยคืน ให้สมาชิก ดอกเบี้ยเงินฝาก ออมทรัพย์ ให้สมาชิก เบี้ยเลี้ยง /พาหนะ ตามความจำเป็น ให้กรรมการและเจ้าหน้าที่

  7. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ประเภทของเงินได้ที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย และนำส่ง(สหกรณ์เป็นผู้จ่ายเงินได้)

  8. ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

  9. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

  10. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

  11. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

  12. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

  13. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

  14. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

  15. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา* เริ่มใช้ในปีภาษี 2551

  16. ภาษีมูลค่าเพิ่ม ขายสินค้า/บริการ ที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม สหกรณ์ต้องจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการ จดทะเบียนและ เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม มีรายรับ >1.8 ลบ./ปี

  17. ภาษีมูลค่าเพิ่ม การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (มาตรา 81) 1.การขายพืชผลทางการเกษตร ไม่ว่าจะเป็น ลำต้น กิ่ง ใบ เปลือก หน่อ ราก เหง้า ดอก หัว ฝัก เมล็ด หรือส่วนอื่นๆของพืช และวัตถุพลอยได้จากพืช อยู่ในสภาพสดหรือรักษาสภาพไว้เพื่อมิให้เสียเป็นการชั่วคราว 2.การขายสัตว์ ไม่ว่าจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นเนื้อส่วนต่างๆของสัตว์ ไข่ น้ำนม และวัตถุพลอยได้จากสัตว์ อยู่ในสภาพสดหรือรักษาสภาพเพื่อมิให้เสียเป็นการชั่วคราว (ไม่รวมผลิตภัณฑ์อาหารที่ผนึกในลักษณะมั่นคง)

  18. ภาษีมูลค่าเพิ่ม การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (มาตรา 81) 3. การขายปุ๋ย 4. การขายปลาป่น อาหารสัตว์ 5. การขายยาหรือเคมีภัณฑ์ที่ใช้สำหรับพืชหรือสัตว์ เพื่อบำรุงรักษา ป้องกัน ทำลายหรือกำจัดศัตรู หรือโรคของพืชและสัตว์ 6. การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือตำราเรียน (เทป CD ประกอบฯ) (สินค้าทั้ง 6 ประเภท สามารถยื่นคำขอเพื่อเข้าระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้) 7. การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักร 8. การประกอบโรคศิลป์ การสอบบัญชี การว่าความ ฯลฯ

  19. การขายสินค้าที่สหกรณ์ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มการขายสินค้าที่สหกรณ์ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม การขายน้ำนมดิบ หรือผลิตภัณฑ์นมพลาสเจอร์ไรส์รสจืด/รสธรรมชาติ ไม่ว่าจะบรรจุถุงพลาสติก หรือในกล่อง นมพร่องมันเนยที่ไม่มีการปรุงแต่ง การขายน้ำยาง ยางแท่ง การขายปุ๋ย น้ำกรด ยากำจัดวัชพืช ผงทาหน้ายาง ขายไข่ไรน้ำเค็ม ใช้เลี้ยงสัตว์น้ำวัยอ่อน ไข่เค็มดิบพอกด้วยดินผสมเกลือ บรรจุถุงพลาสติกและใส่กล่องกระดาษ ผูกด้วยเชือกฟาง ซึ่งเมื่อเปิดยังคงสภาพในรูปรอยเดิม ๆ ฯลฯ ภาษีมูลค่าเพิ่ม

  20. ภาษีมูลค่าเพิ่ม การขายสินค้าที่สหกรณ์ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม • การขายถังน้ำยางให้สมาชิก • การแปรรูปนมชนิดปรุงแต่งพาสเจอร์ไรส์ ยูเอชที สเตอร์ไรส์ และนมเปรี้ยว • เกลือสมุทร • กากน้ำตาล • ผลิตสุราแช่พื้นเมือง • ผลิตน้ำแข็งหลอด/น้ำแข็งป่นเพื่อขาย • ดินสอพอง • กระเทียมโทน กล้วยตาก แช่น้ำผึ้งบรรจุขวด

  21. ภาษีมูลค่าเพิ่ม การขายสินค้าที่สหกรณ์ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม • มะตูมคั่ว มะตูมไข่แช่น้ำผึ้ง • ไม้ซุง ฟืน หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเลื่อยไม้ • ปลูกต้นยูคาลิปตัสขาย • ขายถังน้ำยาง ถังเก็บน้ำนมดิบให้สมาชิก • ส่งออกยางพารา

  22. ภาษีมูลค่าเพิ่ม การบริการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม • ให้บริการ ชั่งน้ำหนักรถยนต์ • ให้เช่ารถโฟลคลิฟท์ ซึ่งสหกรณ์มีไว้ตักถังน้ำยาง • เก็บค่าบริการขอต่อใบอนุญาต และอากรแสตมป์ สำหรับการผลิต และจำหน่ายสุราแช่พื้นเมือง แป้งทำสุรา ที่ได้รับอนุญาตจากกรมสรรพสามิต • เงินค่าลงทะเบียนที่ได้รับจากสมาชิก ในการเข้าอบรมสัมมนา • ค่าบำรุงสมาชิก • ค่าซักรีด • เรียกเก็บค่าบริการจากสมาชิกที่เดินรถต่อคัน เป็นรายเดือน

  23. ภาษีมูลค่าเพิ่ม การบริการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม • กลุ่มเกษตรกรทำนา ให้บริการรับจ้างอบลดความชื้นข้าวเปลือก • ให้บริการลานตากข้าว และเครื่องชั่งน้ำหนัก • ให้บริการสูบน้ำด้วยพลังงานไฟฟ้า • นายหน้า • บริการให้เช่าแท็งก์เติมน้ำมันปาล์ม • ให้บริการที่จอดรถ • รับฝากสินค้า

  24. ภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่ ประกอบกิจการที่ ได้รับยกเว้น VAT ประกอบกิจการที่ต้องเสีย VAT ใช่ ใช่ ไม่ การพิจารณาว่าสหกรณ์ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ สหกรณ์ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ กิจกรรมบางประเภทสหกรณ์อาจขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มได้ สหกรณ์มีสิทธิเลือกขอจดทะเบียนและเสีย VAT โดยคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อ มีรายรับเกิน 1,800,000 บาทต่อปี หรือไม่ สหกรณ์ต้องจดทะเบียนและเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจากภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อ (ยื่นคำขอจดทะเบียนVAT ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีรายรับเกิน 1.8 ล้านบาท)

  25. เอกสารทางการค้า ใบเสร็จรับเงิน ใบส่งของ ใบแจ้งหนี้ จัดทำ&ส่งมอบ 1.เมื่อขายสินค้าหรือให้บริการ ใบกำกับภาษี 2.จัดทำรายงานภายใน 3 วัน นับแต่ที่มีรายการเกิดขึ้น จัดทำ รายงานภาษีขาย รายงานภาษีซื้อ รายงานสินค้าและวัตถุดิบ ชำระภาษี กรณีภาษีขาย > ภาษีซื้อ 3.ยื่นแบบ แสดงรายการ ณ สำนักงานสรรพากรที่สาขาภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ยื่นแบบ ภ.พ.30 - ยื่นผ่านอินเตอร์เน็ต- ณ ที่ทำการไปรษณีย์ - ณ ที่ทำการสนง. สรรพากรพื้นที่สาขา หรือ ขอคืนภาษี กรณีภาษีซื้อ > ภาษีขาย ภาษีมูลค่าเพิ่ม หน้าที่ของสหกรณ์เมื่อเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว พร้อมเก็บรักษาสำเนาไว้เป็นหลักฐาน ณ สถานประกอบการ

  26. ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ประเภทของใบกำกับภาษี  ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป  ใบกำกับภาษีแบบย่อ : เขียน/ออกโดยเครื่องบันทึก การเก็บเงิน (ได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร  ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีมูลค่าเพิ่มที่ส่วนราชการเป็นผู้ออก  ส่งมอบสินค้า - จุดความรับผิดการออกใบกำกับภาษี (Tax Point)  ชำระเงิน ค่าสินค้า หรือ บริการ  ออกใบกำกับภาษี  กรณีเช่าซื้อ ตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ (Due to be collect)

  27. การขายสินค้า กระแสไฟฟ้า น้ำประปา สินค้าที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน เมื่อชำระราคา หรือ มีการออกใบกำกับภาษีก่อน Tax Point ภาษีมูลค่าเพิ่ม ชำระค่าสินค้า / บริการ ด้วยเช็ค Tax Point ตามวันที่ลงในเช็ค ยกเว้น (1) กรณีรัฐบาล องค์การของรัฐบาล เทศบาล สุขาภิบาล หรือองค์การบริหาร ท้องถิ่น เป็นผู้ออกเช็ค (2) กรณีบุคคลทั่วไป มีหลักฐานรับรองว่าได้ส่งมอบเช็คให้ผู้ประกอบการ เมื่อใด การขายสินค้าด้วยเครื่องอัตโนมัติ หยอดเหรียญ เมื่อนำเงินออกจากเครื่องอัตโนมัติ Tax Point

  28. ภาษีมูลค่าเพิ่ม ชำระด้วยบัตรเครดิต Tax Point ขาย เมื่อส่งมอบสินค้า การบริการ เมื่อออกหลักฐานการใช้บัตรเครดิต เว้นแต่ มีการออกหลักฐานการใช้บัตรเครดิต หรือออกใบกำกับภาษีก่อน

  29. ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นภาษีที่เก็บจากการบริโภคหรือการบริการเฉพาะอย่าง ได้แก่ กิจการธนาคาร, ธุรกิจเงินทุน หลักทรัพย์ เครดิตฟองซิเอร์ โรงรับจำนำ, ประกันชีวิต* ประกอบกิจการโดยปกติ เยี่ยงธนาคารพาณิชย์* การขายอสังหาริมทรัพย์ เป็นทางการค้าหรือหากำไร ฯลฯ กิจการที่อยู่ในข่ายบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะแล้วอาจต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอีกพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 246 )เช่น ให้เช่าสังหาริมทรัพย์ ให้เช่าซื้อทรัพย์สิน

  30. ภาษีธุรกิจเฉพาะ การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ การให้กู้ยืมเงิน, ค้ำประกัน แลกเปลี่ยนเงินตรา ออกซื้อหรือ ขายตั๋วเงิน หรือรับส่งเงินไปต่างประเทศ ฯลฯ อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะร้อยละ 3 + ร้อยละ 10 ของอัตราภาษี = อัตราร้อยละ 3.3 ของรายรับ สหกรณ์ได้รับการยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ สหกรณ์ทุกประเภท และกลุ่มเกษตรกรที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล จัดตั้งตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ เฉพาะการให้กู้ยืม แก่สมาชิก และ สหกรณ์อื่นๆ

  31. ภาษีธุรกิจเฉพาะ การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (เฉพาะที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม) • การขายอสังหาริมทรัพย์ของผู้ได้รับอนุญาตให้จัดสรรที่ดิน • การขายห้องชุด ของผู้จดทะเบียนอาคารชุด • การขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารและที่ดิน • การขายอสังหาริมทรัพย์ที่มีการแบ่งขาย/แบ่งแยกไว้เพื่อขาย โดยการจัดทำถนน หรือสาธารณูปโภคอื่น หรือให้คำมั่นว่าจะจัดให้มีสิ่งดังกล่าว • การขายอสังหาริมทรัพย์ของผู้ประกอบการที่มีไว้ใช้ในกิจการ

  32. ภาษีธุรกิจเฉพาะ การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (เฉพาะที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม) • การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่เข้าลักษณะตาม (1) - (5) ที่ได้กระทำภายใน 5 ปี นับแต่วันที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้น เว้นแต่  ขายหรือถูกเวนคืนตามกฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพย์  ขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางมรดก  ขายอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย โดยผู้ขายมีชื่อใน ทะเบียนบ้าน ไม่น้อยกว่า 1 ปี นับแต่วันที่ได้มา

  33. ภาษีธุรกิจเฉพาะ อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะร้อยละ 3 + ร้อยละ 10 ของอัตราภาษี = อัตราร้อยละ 3.3 ของรายรับของราคาซื้อขายหรือราคาประเมิน ทุนทรัพย์ แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ยื่นแบบ ภ.ธ. 40 และชำระภาษีธุรกิจเฉพาะต่อเจ้าพนักงานที่ดิน ณ วันที่รับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม

  34. ภาษีธุรกิจเฉพาะ ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ • กิจการของสหกรณ์ประเภทสหกรณ์บริการ ที่ต้องดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหา • ที่อยู่อาศัยให้แก่สมาชิก เฉพาะขายอสังหาริมทรัพย์ เป็นทางการค้าหรือหากำไร • โดยมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังนี้ • ต้องเป็นสหกรณ์ที่เป็นสมาชิกของโครงการพัฒนาคนจนในเมือง • ของการเคหะแห่งชาติ และได้รับเงินกู้ตามโครงการดังกล่าว • - นำเงินกู้ไปจัดซื้ออสังหาริมทรัพย์ เพื่อขายต่อสมาชิกของสหกรณ์นั้น การจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบกิจการธุรกิจเฉพาะภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มประกอบกิจการ

  35. ภาษีธุรกิจเฉพาะ กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ • สหกรณ์บริการสร้างอาคารชุด จัดสรรและจำหน่ายแก่สมาชิก • สหกรณ์ซื้อที่ดินจากกระทรวงการคลัง แล้วขายที่ดินให้สมาชิกที่เป็นเกษตรกร ถือเป็นขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางการค้าหรือหากำไร • สหกรณ์ขายที่ดินที่ได้ถือครองเกินกว่า 5 ปี ถือว่าเป็นการขายที่ดิน ที่มีไว้เพื่อใช้ในกิจการ • สหกรณ์เก็บเงินจากสมาชิกในหมู่บ้าน เพื่อร่วมกันเฉลี่ยค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ไม่เข้าลักษณะเป็นนิติบุคคลอาคารชุด • สหกรณ์ขายที่ดินซึ่งยึดจากสมาชิกแทนการชำระหนี้ (คำวินิจฉัยที่ กค 0811/05189 ลว.2 มิ.ย. 2542)

  36. อากรแสตมป์ อากรแสตมป์ เป็นภาษีที่จัดเก็บจากการกระทำตราสาร 28 ลักษณะ ตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ เช่น สัญญาเช่าที่ดินโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น หรือแพ ค่าอากรแสตมป์ 1 บาท ทุกจำนวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของ 1,000 บาท ตลอดอายุสัญญาเช่า สหกรณ์มีหน้าที่เสียอากรแสตมป์

  37. อากรแสตมป์ สหกรณ์ได้รับการยกเว้นอากรแสตมป์  ยกเว้นสำหรับตราสารที่ต้องเสียค่าอากรแสตมป์ไม่ถึง 1 บาท หรือเศษของบาท  ยกเว้นโดยกฎหมายที่จัดตั้งสหกรณ์นั้น ๆ  ยกเว้นตามที่ระบุไว้ในบัญชีอัตราอากรแสตมป์

  38. อากรแสตมป์ สหกรณ์ได้รับการยกเว้นอากรแสตมป์ เช่น • การกู้ยืมเงินที่สมาชิกกู้ยืมจากสหกรณ์ หรือ สหกรณ์กู้ยืมเงิน จากสหกรณ์ หรือธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร • ใบมอบอำนาจ ซึ่งสหกรณ์เป็นผู้มอบและใบมอบอำนาจตั้งสหกรณ์เป็นตัวแทนจัดการให้สหกรณ์ได้รับสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ • ใบหุ้น ใบหุ้นกู้ และใบรับรองหนี้ของสหกรณ์ • หนังสือค้ำประกันหนี้ของสหกรณ์ที่ให้สมาชิกกู้ยืม หรือ ยืม • การจ้างทำของทำสัญญานอกประเทศไทย และการปฏิบัติตามสัญญามิได้ทำในประเทศไทย

  39. ศึกษาเพิ่มเติม • ประมวลรัษฎากรคู่มือการเสียภาษีอากรของสหกรณ์ กตส.

  40. ภาษีอากรอื่นๆ

  41. ภาษีโรงเรือนและที่ดินภาษีโรงเรือนและที่ดิน สหกรณ์เป็นเจ้าของอาคารและที่ดิน สหกรณ์มีหน้าที่ เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน

  42. ภาษีโรงเรือนและที่ดินภาษีโรงเรือนและที่ดิน เป็นภาษีที่จัดเก็บจาก บ้านเช่า อาคาร ร้านค้า ตึกแถว สำนักงาน บริษัท โรงแรม คลังสินค้า โรงงานอุตสาหกรรม ท่าเรือ แฟลต หอพัก คอนโดมิเนียม ฟาร์มสัตว์ และบริเวณที่ดินที่ปกติใช้ร่วมกับโรงเรือนนั้น ฯลฯ อัตราภาษี  ร้อยละ 2.5 ของค่ารายปี “ค่ารายปี คือจำนวนเงินซึ่งทรัพย์สินนั้นสมควรให้เช่าได้ในปีหนึ่งๆ” 1. ยื่นแบบแสดงรายการทรัพย์สินตั้งแต่ 2 ม.ค.-สิ้นเดือน ก.พ. ของทุกปี 2. พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งการประเมินให้ผู้รับประเมินทราบ 3. ผู้รับการประเมินชำระเงินภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน

  43. ภาษีป้าย สหกรณ์ต้อง เสียภาษีป้าย หนังสือตอบหารือ ที่ มท.0407271395 ลว.11 ก.ย.2528

  44. ภาษีป้าย เป็นภาษีที่จัดเก็บจากป้ายแสดงชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายการค้าหรือโฆษณา หรือทำให้ปรากฏด้วยวิธีอื่น อัตราภาษี  อักษรไทยล้วน อัตรา 3 บาท/500 ตารางเซนติเมตร  อักษรไทยปนอักษรต่างประเทศ หรือปนกับภาพหรือเครื่องหมาย อัตรา 20 บาท/500 เซนติเมตร  ป้ายต่อไปนี้ อัตรา 40 บาท/500 ตารางเซนติเมตร - ป้ายไม่มีอักษรไทย - มีอักษรไทยใต้หรือต่ำกว่าอักษรต่างประเทศ - ป้ายที่คำนวณพื้นที่และประเภทแล้วเสียภาษีต่ำกว่า 200 บาท ให้เสียในอัตรา 200 บาท ยื่นแบบรายการภาษีป้ายตั้งแต่ 2 ม.ค.-31 มี.ค. ของทุกปี โดยเสียเป็นรายปี

  45. ภาษีบำรุงท้องที่ สหกรณ์เป็นเจ้าของที่ดิน สหกรณ์มีหน้าที่ เสียภาษีบำรุงท้องที่

  46. ภาษีบำรุงท้องที่ เป็นภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดิน ผู้ครอบครองที่ดิน หรือบุคคลหรือคณะบุคคล ไม่ว่าเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ซึ่งมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน หรือครอบครองที่ดิน อัตราภาษี  เสียตามราคาปานกลางของที่ดิน มีหลายอัตรา  ที่ดินว่างเปล่าหรือไม่ได้ทำประโยชน์จะต้องเสียภาษีเพิ่มอีกหนึ่งเท่า ของอัตราปกติ ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินตั้งแต่ 2 ม.ค.-30 เม.ย. ของทุกปี

  47. สรุปกรณีศึกษาของสหกรณ์สรุปกรณีศึกษาของสหกรณ์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม สหกรณ์ที่มีสินค้าที่จำหน่ายเช่นสินค้าอุปโภค บริโภค สินค้าที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สินค้าที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม เงินได้เกิน 1.8 ล้านบาท ต่อปี ยื่นขอเข้าระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม เฉพาะ มาตรา 81(ก) - (ฉ) จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม รายได้ต่ำกว่า 1.8 ล้านต่อปีติดต่อกัน 3 ปี และจะขอออกจากระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ยื่นคำขอต่ออธิบดีขอถอนทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

  48. สรุปกรณีศึกษาของสหกรณ์สรุปกรณีศึกษาของสหกรณ์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อที่นำมาเครดิตภาษีขาย ไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจภาษีมูลค่าเพิ่ม เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ขายทรัพย์สิน ใช้รวม NON-VAT และ VAT ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เฉลี่ยภาษีซื้อ ตามส่วนการใช้พื้นที่ ตามส่วนของรายได้

  49. สรุปกรณีศึกษาของสหกรณ์สรุปกรณีศึกษาของสหกรณ์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อที่มิได้นำไปหักในเดือนภาษี ด้วยเหตุ 1. เหตุจำเป็นที่เกิดขึ้นตามประเพณีการค้า 2. เหตุสุดวิสัย 3. ได้รับใบกำกับภาษีในเดือนภาษีอื่นที่มิใช่เดือนภาษีที่ระบุไว้ในใบกำกับภาษี นำไปหักเป็นภาษีซื้อไม่เกิน 6 เดือน นับแต่เดือนถัดจากเดือนที่ออกใบกำกับภาษี โดยระบุข้อความไว้ในใบกำกับภาษี “ถือเป็นใบกำกับภาษีซื้อในเดือนภาษี...........”(ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 4) วันที่ 25 ธันวาคม 2534)

  50. สรุปกรณีศึกษาของสหกรณ์สรุปกรณีศึกษาของสหกรณ์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม การออกใบเพิ่มหนี้ (ม.82/9) - เพิ่มราคาสินค้า/บริการที่ขายหรือให้บริการมากกว่าที่กำหนดตกลงกัน - คำนวณราคาค่าสินค้า / บริการผิดพลาด ต่ำกว่าความเป็นจริง ผู้ออกใบเพิ่มหนี้ ผู้รับใบเพิ่มหนี้ ลงรายงานภาษีขายโดยเพิ่มภาษีขาย ลงรายงานภาษีซื้อโดยเพิ่มภาษีซื้อ

More Related