1 / 36

Networking

Networking. Telecommunication. คือการสื่อสารข้อมูลสารสนเทศโดยวิธีการทาง Electronic และโดยทั่วไปจะค่อนข้างไกล ในอดีตจะส่งเฉพาะเสียง ( voice) ในปัจจุบันสามารถส่งสัญญาณ digital ได้. Information Superhighway.

river
Download Presentation

Networking

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Networking

  2. Telecommunication • คือการสื่อสารข้อมูลสารสนเทศโดยวิธีการทาง Electronic และโดยทั่วไปจะค่อนข้างไกล • ในอดีตจะส่งเฉพาะเสียง (voice) ในปัจจุบันสามารถส่งสัญญาณ digital ได้

  3. Information Superhighway • คือเครือข่ายการส่งข้อมูล digital ความเร็วสูง ครอบคลุมระดับประเทศหรือทั่วโลก และคนทั่วไปสามารถเข้าถึงเครือข่ายนั้นได้

  4. องค์ประกอบของระบบ Telecommunications • Computers เพื่อประมวลสารสนเทศ • Terminals หรือ input/output devices เพื่อรับส่งข้อมูล • Communications channels: เช่นสายโทรศัพท์ ใยแก้วนำแสง • Communications processors: เพื่อสนับสนุนหน้าที่ของการรับและส่งข้อมูล เช่น modems, multiplexers • Communication software

  5. Protocols • คือกฎและขั้นตอนของการรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์บนเครือข่าย

  6. ชนิดของสัญญาณ • Analog signal เป็นรูปคลื่นแบบต่อเนื่อง • Digital signal เป็นรูปคลื่นแบบแยกออกจากกัน

  7. Modem • MOdulation/DEModulation คืออุปกรณ์ในการเปลี่ยนสัญญาณ digital ให้เป็น analog และ analog ให้เป็น digital • อุปกรณ์ดังกล่าวใช้สำหรับส่งสัญญาณคอมพิวเตอร์ผ่านสายโทรศัพท์

  8. Types of Communications Channels • Wire • Twisted Pair • Coaxial Cable • Fiber Optics • Wireless • Microwave • Satellite

  9. Twisted Pair • แบ่งได้เป็นสองชนิดคือ Twisted Pair และ Unshielded Twisted Pair • เป็นสายทองแดงที่นำมาไขว้กันเพื่อลดสัญญาณรบกวน • จุดเด่น: ราคาถูก ติดตั้งง่าย • จุดด้อย: สามารถส่งได้ไม่ไกล ความเร็วไม่สูงนัก • ปัจจุบันเป็นที่นิยมในการเดินเครือข่ายท้องถิ่น (Lan)

  10. Coaxial Cable • เป็นสายทองแดงมีลักษณะสายอากาศโทรทัศน์ • จุดเด่น: ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี สามารถส่งสํญญาณได้ไกลกว่า twisted pair • จุดด้อย: ติดตั้งลำบากและแพงกว่า twisted pair • ปัจจุบันนิยมใช้ในการเดินในสถานที่ที่มีสัญญาณรบกวน หรือใช้เดินในระยะไกล

  11. Fiber Optics • ใช้แสงเป็นตัวนำสัญญาณ • ไม่ถูกรบกวนโดยคลื่นแม่เหล็ก • จุดเด่น: ส่งข้อมูลได้เร็วในระยะทางที่ไกลมาก น้ำหนักเบา ทนทาน • จุดด้อย: ติดตั้ง ซ่อมแซมลำบาก ราคาแพง • ปัจจุบันนิยมใช้เป็น backbone ของระบบเครือข่าย

  12. Microwave • เหมาะกับงานที่ต้องการส่งข้อมูลที่มีปริมาณมาก ระยะไกล และการเดินสายไม่คุ้มค่า • คลื่น microwave วิ่งเป็นเส้นตรง และโลกโค้งทำให้แต่ละสถานีอยู่ห่างกันได้เพียง 40-50 กิโลเมตร

  13. Satellites • เหมาะกับงานที่ต้องการส่งข้อมูลที่มีปริมาณมาก ระยะไกลมากๆ • ดาวเทียมดังกล่าวจะอยู่ที่ระดับ 35,200 กิโลเมตร (22,000ไมล์) จากโลก • หากต้องการส่งข้อมูลให้ครอบคลุมทั่วโลกจะใช้ดาวเทียมสามดวง

  14. Transmission Speed(ความเร็วในการส่งข้อมูล) • ความเร็วในการส่งข้อมูลมีหน่วยวัดเป็น bits per second (bps) หรือเรียกว่า baud rate สื่อ ความเร็ว Microwave 100 MBPS Satellite 100 MBPS Twisted wire 150 MBPS Coaxial cable 200 MBPS Fiber-optic cable 10 GBPS

  15. ปัจจัยที่ใช้กำหนด communication channelที่จะเลือกใช้ • ระบบงาน • ปริมาณผู้ใช้ในระบบ • ระยะทาง

  16. ระบบงาน - ความเร็ว ระบบงาน ความเร็ว (ต่อวินาที) • ส่งข้อมูลทั่วไป 10 MB • ส่งข้อมูลภาพ 100 MB • ส่งภาพเคลื่อนไหว > 100 MB

  17. Twisted wire VS Fiber-Optic เปรียบเทียบระหว่างสาย Twisted wire และ Fiber-Optic ในระบบ Lan ข้อได้เปรียบของสาย fiber optic มิได้อยู่ที่ความเร็วในการส่งข้อมูล แต่อยู่ที่ • สามารถส่งได้ไกลกว่า โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ทวนสัญญาณ • ปลอดจากการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้า • ความปลอดภัยของข้อมูล

  18. Bandwidth • คือความสามารถของ communication channel ในการที่จะรองรับความถี่ ต่ำสุด ถึง สูงสุด

  19. Bandwidth • ตัวอย่าง voice-grade channel สามารถส่งคลื่นที่มีความถี่ระหว่าง 30 - 3400 hertz (Hz) เพราะฉนั้นจะมี bandwidth เท่ากับ 3100 hertz (Hz) 3400 Hz 30 Hz

  20. Bandwidth • ในการส่งข้อมูล commnunication จะใช้ ความถี่ช่วงหนึ่ง ในการรับส่งข้อมูล • หาก communication channel มี bandwidth ที่กว้างจะสามารถส่งพร้อมกันได้มากกว่าหนึ่งสื่อ 500 KHz VIDEO VOICE DATA 300 Hz

  21. Baseband and Broadband • Baseband (narrowband) bandwidth ทั้งหมดจะใช้งานไปกับช่องสัญญาณเพียงช่องเดียว • Broadband (wideband) จะใช้ bandwidth บางส่วนในการส่งสัญญาณต่อหนึ่งช่อง Broadband Baseband

  22. Network Topologiesรูปแบบการต่อเชื่อม • The Star network • The Ring Network • The Bus Network

  23. Bus Host CPU Ring Star Network Topologies

  24. การส่งข้อมูลบน Network • ไม่ว่าจะเป็น Topology แบบไหนก็ตาม ณ ขณะใดขณะหนึ่งเพียงเครื่องเดียวเท่านั้นที่ส่งข้อมูลได้

  25. Host CPU The Star Topology • จะต้องมี Host Computer ต่อเชื่อมกับเครื่องเล็กๆ • มักใช้กับระบบ Mainframe ที่เป็นแบบ Centralized Processing • ปัญหาหลักของระบบนี้คือเสี่ยงต่อความเสียหายได้ง่าย (vulnerability) เพราะการติดต่อสื่อสารระหว่างจุดต้องผ่าน host computer

  26. The Ring Topology • คอมพิวเตอร์จะต่อเชื่อมกันเป็นวงแบบปิด (closed loop) • ในวงจะมีสัญญาณซึ่งเรียกว่า token ซึ่งสัญญาณ token จะวิ่งวนอยู่ใน loop • เครื่องที่ได้รับสัญญาณ token จะเป็นเครื่องที่สามารถส่งข้อมูลได้ • หากเครื่องที่ได้รับสัญญาณ token ไม่ต้องการที่จะส่งข้อมูล ก็จะปล่อย token ผ่านไป

  27. The Ring Topology • ในทางปฏิบัติ หากเราต่อ ring จะก่อให้เกิดความเสียหายได้ง่าย เนื่องจากสายขาดหรือชำรุด ซึ่งจะทำให้ทั้งระบบติดต่อกันไม่ได้

  28. The Ring Topology • วิธีแก้ไขทำได้โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า HUB หรือ Media Access Unit (MAU) โดยอุปกรณ์ดังกล่าวจะทำหน้าที่เป็น ring กันภายในแทน MAU

  29. The Bus Topology • การต่อจะมีเส้นหลักอยู่หนึ่งเส้น และอุปกรณ์ต่างๆ สามารถต่อเชื่อมสัญญาณออกไป ณ ตำแหน่งไหนก็ได้ ทำให้การเพิ่มจำนวนเป็นไปด้วยความสะดวก • การต่อในรูปแบบของ Bus เป็นที่นิยมมากในการต่อระบบ Lan (Local Area Network)

  30. The Bus Topology • การต่อแบบ BUS เราสามารถต่อย่อยลงไปอีกซึ่งเราเรียก BUS WITH SPUR

  31. The Bus Topology • ในทางปฏิบัติ หากเราต่อ ring จะก่อให้เกิดความเสียหายได้ง่าย เนื่องจากสายขาดหรือชำรุด ซึ่งจะทำให้ระบบติดต่อกันไม่ได้

  32. The Bus Topology • วิธีแก้ไขทำได้โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า HUB หรือ Media Access Unit (MAU) โดยอุปกรณ์ดังกล่าวจะทำหน้าที่เป็น BUS กันภายในแทน MAU

  33. ข้อเสียของการใช้ Hub ในกรณี Bus Topology • ต้องเสียเงินซื้ออุปกรณ์ดังกล่าวเพิ่มเติม • การเดินสายที่เปลืองระยะทางมากขึ้น • การเพิ่มจำนวนเครื่องจะถูกจำกัดโดยจำนวน port ของ Hub

  34. การส่งข้อมูลสำหรับ BUS Topology • ในขณะใดขณะหนึ่ง จะมีเพียงคู่ใดคู่หนึ่งที่สื่อสารกันได้ • หากเครื่องที่จะส่งจะต้องรอฟังสัญญาณ ถ้าว่างจึงจะทำการส่งได้ • ในกรณีที่มีตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปส่งพร้อมกัน จะทำให้การส่งของผู้ส่งทั้งหมดล้มเหลว • ระบบจะแจ้งให้ผู้ส่งทั้งหมดทราบว่าล้มเหลว • ผู้ส่งแต่ละเครื่องจะรอด้วยเวลาเชิงสุ่มแล้วทำการส่งใหม่ • Protocol ดังกล่าวเรียก Carrier Sense Multiple Access / Collision Detection (CSMA/CD)

  35. รูปแบบการต่อในธรรมศาสตร์รูปแบบการต่อในธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ นิติฯ พาณิชย์ รัฐศาสตร์ ฯลฯ RCU RCU วิทยาศาสตร์ฯ แพทย์ วิศวฯ ฯลฯ รังสิต

  36. คำถาม??? • หากคอมพิวเตอร์ในธรรมศาสตร์ใช้ Bus Topology ดังปรากฏในรูปที่แล้วซึ่งมีคอมพิวเตอร์ใช้งานพร้อมกันกว่า 1,000 เครื่อง น่าจะก่อให้เกิดปัญหาสัญญาณชนกันบ่อยมาก แต่เหตุใดเราจึงไม่ค่อยพบปัญหาดังกล่าวเลย?

More Related