1 / 16

แม่ฮ่องสอน

กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน. เชียงราย. แม่ฮ่องสอน. พะเยา. ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงราย พื้นที่ 11,678 ตร.กม ประชากร 1,229,487 คน GPP 45,796 ล.บาท รายได้เฉลี่ยต่อหัว 35,149 บาท / ปี. ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่ 12,681 ตร.กม ประชากร 254,939 คน GPP 8,608 ล.บาท

Download Presentation

แม่ฮ่องสอน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบนกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงราย พื้นที่ 11,678 ตร.กม ประชากร 1,229,487 คน GPP 45,796 ล.บาท รายได้เฉลี่ยต่อหัว 35,149 บาท/ปี ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่ 12,681 ตร.กม ประชากร 254,939 คน GPP 8,608 ล.บาท รายได้เฉลี่ยต่อหัว 34,517 บาท/ปี ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดลำพูน พื้นที่ 4,505 ตร.กม ประชากร 405,031 คน GPP 51,240 ล.บาท รายได้เฉลี่ยต่อหัว 138,164 บาท/ปี ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่ 20,107 ตร.กม. ประชากร 1,652,035 คน GPP 103,276 ล.บาท รายได้เฉลี่ยต่อหัว 64,429 บาท/ปี ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดพะเยา พื้นที่ 6,335 ตร.กม ประชากร 486,225 คน GPP 18,884 ล.บาท รายได้เฉลี่ยต่อหัว 37,315 ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดแพร่ พื้นที่ 6,538 ตร.กม ประชากร 470,078 คน GPP 18,196 ล.บาท รายได้เฉลี่ยต่อหัว 43,639 บาท/ปี ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดน่าน พื้นที่ 11,472 ตร.กม. ประชากร 477,829 คน GPP 17,648 ล.บาท รายได้เฉลี่ยต่อหัว 37,666 บาท/ปี ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดลำปาง พื้นที่ 12,534 ตร.กม. ประชากร 775,411คน GPP 38,629 ล.บาท รายได้เฉลี่ยต่อหัว 48,983 เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ วิสัยทัศน์ : ประตูทองการค้าสู่โลก โดดเด่นวัฒนธรรมล้านนา สังคมน่าอยู่ทุกถิ่นที่ ข้อมูลGPP ปี2548

  2. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ภาพรวมของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน • มีพื้นที่ 53.65 ล้านไร่ • เพื่อการเกษตร 7.64 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.24 ของพื้นที่กลุ่มจังหวัด • พื้นที่ชลประทาน 3.26 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 56.20 ของพื้นที่การเกษตร • พื้นที่ป่าไม้ 39.03 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 68.37 ของพื้นที่กลุ่มจังหวัด • มีประชากร 5.7 ล้านคน • ผลิตภัณฑ์กลุ่มภาคเหนือตอนบน มูลค่า 289,896 ล้านบาท(ปี 47) • พึ่งพาภาคอุตสาหกรรมการเกษตรและการค้าเป็นหลัก • รายได้เฉลี่ยต่อประชากร 46,453 บาท • รายได้ต่ำกว่ารายได้เฉลี่ยต่ำกว่าของประเทศและภาคเหนือ

  3. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ศักยภาพและแนวคิดในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทย ที่มา: สำนักงานพัฒนาเศรษกิจและสังคมแห่งชาติศูนย์เหนือ

  4. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบนปีงบประมาณ 2548-49

  5. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ งบประมาณ 2549 ที่ใช้ในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน

  6. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ผลการดำเนินงานตาม ตัวชี้วัด ปี 2549ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน

  7. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบนปีงบประมาณ 2548-49

  8. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ การดำเนินงานที่ผ่านมาของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน • การจัดตั้งศูนย์ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (OSM) • การรวบรวมและให้ความรู้ตามประเด็นยุทธศาสตร์ • การวิเคราะห์ความสามรถในการแข่งขันในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ • การเจรจาธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ • แคนนาดา โตรอนโตโครงการหาตลาดให้ผลิตภัณฑ์ล้านนของกลุ่ม 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน (ได้รับการสนับสนุนจากท่านเอกอัครราชทูตแคนนาดา) • ฝรั่งเศส ลียงเดินทาง 2549โครงการงานแสดงสินค้านานาชาติ เดือน มีนาคม – เมษายน 2550 • จีน (คุณหมิง เฉินตู) การลงนามบันทึกข้อตกลง M.O.U.ระหว่าง บริษัท คุณหมิงกว๋อเหมาซางพินเชิง กับศูนย์ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ

  9. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ การเชื่อมโยง 10 ประเด็นยุทธศาสตร์ปีงบประมาณ 48-49 ให้เป็น ยุทธศาสตร์ใหม่- “อยู่ดีมีสุข” ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ให้ทุนการศึกษา 10 Agendas ความมั่นคง 5 ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข สงเคราะห์ด้านอาชีพ ด้านการสงเคราะห์ ทรัพยากรมนุษย์ พัฒนาการเกษตรทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง เกษตร ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการพัฒนาเกษตรบนพื้นที่สูง วัฒนธรรม การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการ เพื่อพัฒนาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม OTOP ลดข้อขัดแย้งในการใช้ทรัพยากร ด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน อุตสาหกรรม ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ที่มีลู่ทางในการตลาด การท่องเที่ยว สร้างแผนผลิตภัณฑ์ชุมชนในลักษณะ Supply chain และ cluster การค้าการลงทุน ด้านบริการประชาชน การค้าชายแดน พัฒนาบริการประชาชน

  10. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ปัญหาและอุปสรรคที่อยู่เหนือความสามารถของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน

  11. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ปัญหาและอุปสรรคที่อยู่เหนือความสามารถของจังหวัด

  12. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ปัญหาและอุปสรรคที่อยู่เหนือความสามารถของจังหวัด

  13. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ปัญหาและอุปสรรคที่อยู่เหนือความสามารถของจังหวัด

  14. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ปัญหาและอุปสรรคที่อยู่เหนือความสามารถของจังหวัด

  15. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ปัญหาและอุปสรรคที่อยู่เหนือความสามารถของจังหวัด

  16. เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ประตูทองการค้าสู่โลก โดดเด่นวัฒนธรรมล้านนา สังคมน่าอยู่ทุกถิ่นที่

More Related