1 / 36

สถานะสุขภาพ

สถานะสุขภาพ. 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน. กับงานสร้างเสริมสุขภาพ. ศูนย์อนามัยที่ 10 กรมอนามัย. เชียงราย. พะเยา. น่าน. แพร่. เชียงใหม่. ลำพูน. ลำปาง. แม่ฮ่องสอน. สถิติชีพ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน. อัตราการเกิดและอัตราการตายอย่างหยาบปี 2547-2551. ต่อ 1000 ปชก.

Download Presentation

สถานะสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานะสุขภาพ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 10 กรมอนามัย

  2. เชียงราย พะเยา น่าน แพร่ เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน

  3. สถิติชีพ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน อัตราการเกิดและอัตราการตายอย่างหยาบปี 2547-2551 ต่อ 1000 ปชก.

  4. สถิติชีพ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน อัตราการเกิดสูงสุด : แม่ฮ่องสอน ปี 2547-2551 อัตราการเกิดต่ำสุด : ลำพูน ปี 2547-2551 ทำให้อัตราเพิ่มติดลบ

  5. สถานะสุขภาพ งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ภายใต้โครงการสายใยรักฯ กลยุทธ: โรงพยาบาลสายใยรักฯ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

  6. สถานการณ์ปัญหา ปัญหาสำคัญ 1. ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม -ทารกคลอดก่อนกำหนด - การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์/แม่อายุน้อย 2. อัตราตายมารดาสูงกว่าเกณฑ์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ อัตราตายมารดา ไม่เกิน 18 ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ไม่เกิน 7 % อัตราการฝากครรภ์ครบ 4 ครั้ง 90 %

  7. ต่อแสนการเกิดมีชีพ อัตราการตายของมารดา เป้าหมายไม่เกิน 18 : แสนการเกิดมีชีพ ปี 2547 – 2551 (มี 4 จังหวัดที่อัตราตายค่อนข้างสูง)

  8. ต่อแสนการเกิดมีชีพ อัตราการตายของมารดา เป้าหมายไม่เกิน 18 : แสนการเกิดมีชีพ ปี 2547 – 2551 (4 จังหวัดที่มีอัตราตายค่อนข้างต่ำ)

  9. อัตราทารกแรกเกิด น.น.<2,500 กรัม ปี 2540 – 2551 มี 3 จังหวัดที่สูงกว่าเกณฑ์อย่างต่อเนื่องตลอด 5 ปีย้อนหลัง

  10. เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละ อัตราการฝากครรภ์ ANC ครบ 4 ครั้งปี 2551

  11. สถานะสุขภาพ กลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น ภายใต้โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ : ลดปัจจัยเสี่ยงวัยเรียนและวัยรุ่น กลยุทธ : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ/ยิ้มสดใสเด็กไทย ฟันดี / ทักษะชีวิตวัยเรียน วัยรุ่น

  12. สถานการณ์ปัญหา ปัญหาสำคัญ 1. ฟันผุในเด็กนักเรียนประถมศึกษา 2. Teenage Pregnancyในวัยเรียนวัยรุ่น ตัวชี้วัดที่สำคัญ 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียน ป. 1 และ ป. 3 ได้รับบริการตรวจฟัน 2. ร้อยละ 40 ของนักเรียน ป. 1 ได้รับเคลือบหลุมร่องฟัน 3. ร้อยละ 60 ของโรงเรียนสังกัด สพฐ. มีส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS 4. ร้อยละ 50 ของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ ระดับทอง 5. จำนวนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับเพชร สพท. ละ 1 แห่ง

  13. ร้อยละเด็ก 3 ปี ปราศจากฟันผุจำแนกเป็นเขตและปีที่สำรวจ แหล่งข้อมูล : การสำรวจกลุ่มอายุสำคัญรายปี

  14. ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี ปราศจากโรคฟันผุ แยกตามภาคและประเทศปี 2548 - 2550

  15. ร้อยละของแม่คลอดบุตรที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี พ.ศ. 2548 – 2550

  16. สถานะสุขภาพ กลุ่มวัยทำงาน ภายใต้โครงการคนไทยไร้พุง

  17. แนวทางแก้ไขปัญหา ประเด็นยุทธศาสตร์ : แก้ไขปัญหาโรคอ้วน กลยุทธ : คนไทยไร้พุง / องค์กรต้นแบบสุขภาพ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ 1. ร้อยละ 85 ของประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 90 ซม. 2. ร้อยละ 85 ของประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 80 ซม. 3. ร้อยละของ สสจ. ที่ผ่านการประเมินเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง

  18. สถานการณ์ปัญหา จากการสุ่มสำรวจวัดรอบเอวระดับสะดือ พบว่า เพศชายมีรอบเอวระดับสะดือเกินปกติน้อยกว่าเพศหญิง = 3 : 7 ข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะรอบเอวเกินปกติ ศูนย์อนามัยที่ 10 ปี 2551 ร้อยละของการวัดรอบเอวที่เกินปกติ (หญิง) ในชมรมสร้างสุขภาพ เขต 10 ปี 2551

  19. สถานการณ์ปัญหา ร้อยละของการวัดรอบเอวที่เกินปกติ (หญิง) โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เขต 10 ปี 2551

  20. สถานการณ์ปัญหา ร้อยละของการวัดรอบเอวที่เกินปกติ (หญิง) หน่วยงานของรํฐในอำเภอเมือง เขต 10 ปี 2551

  21. สถานะสุขภาพ กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ภายใต้โครงการบูรณาการวัดส่งเสริมสุขภาพ

  22. แนวทางแก้ไขปัญหา ประเด็นยุทธศาสตร์ : การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ กลยุทธ : วัดส่งเสริมสุขภาพ / ชมรมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ/ ฟันเทียมพระราชทาน ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ 1. วัดส่งเสริมสุขภาพอำเภอละ 1 แห่ง 2. ตำบลที่มีชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมด้านสุขภาพเดือนละ 1 ครั้ง 3. ร้อยละของผู้สูงอายุใส่ฟันเทียม

  23. สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุภาคเหนือ และ เชียงใหม่ ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ

  24. สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุภาคเหนือ และ เชียงใหม่ ประชากรแยกตามกลุ่มอายุและเพศ ปี 2550ในเขต 10 (ข้อมูล ณ ธันวาคม 2550) (เฉพาะผู้ที่มีสัญชาติไทย และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน) ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

  25. สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุภาคเหนือ และ เชียงใหม่ โครงสร้างประชากรจำแนกตามอายุและเพศ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2550 30 25 20 15 10 50 0 0 5 10 15 20 25 30 หญิง ชาย

  26. ร้อยละของผู้มีโรคปริทันต์ในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุร้อยละของผู้มีโรคปริทันต์ในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ ร้อยละ คก. ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ คก.ส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามชุดสิทธิประโยขน์ผู้สูงอายุ ปีการสำรวจ

  27. ร้อยละของผู้มีฟันใช้งานได้ 20 ซี่ในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ(ภาพรวมทั้งประเทศ) ร้อยละ

  28. โครงการฟันเทียมพระราชทานโครงการฟันเทียมพระราชทาน พ.ศ. ข้อมูลจากฐานข้อมูลการเฝ้าระวังสภาวะทันตสุขภาพรายปี

  29. สถานะสุขภาพ ปัญหาเฉพาะพื้นที่ : ภาวะขาดสารไอโอดีน โครงการ เขต 15 ร่วมใจ สร้างเด็กไทยสมองไว ด้วยไอโอดีน โครงการควบคุม/ป้องกันการขาดสารไอโอดีน พระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ

  30. ปัญหาเฉพาะพื้นที่ การแก้ไขภาวะขาดสารไอโอดีน มาตรการ • การใช้เกลือเสริมไอโอดีน , น้ำเสริมไอโอดีน • การเสริมไอโอดีนในอาหาร , การให้ความรู้ด้านโภชนศึกษา • การเฝ้าระวังภาวะขาดสารไอโอดีน ตัวชี้วัดสำคัญ 1. ตรวจ Urine Iodine ในหญิงตั้งครรภ์ 2. ตรวจ TSH ในเด็กแรกเกิด 3. สำรวจเกลือไอโอดีนในครัวเรือนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน

  31. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะขาดไอโอดีน จากการสุ่มสำรวจตั้งแต่ ปี 2543-2550 ในเขต 15

  32. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะขาดไอโอดีน จากการสุ่มสำรวจตั้งแต่ ปี 2543-2550 ในเขต 16

  33. จำนวนการตั้งครรภ์ / กลุ่มตัวอย่างการตรวจ Urine Iodine เพื่อเฝ้าระวังภาวะขาดไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ใช้ Taro Yamane สูตร n = NZ 2 00π(1- π) Ne2 + Z2 π (1- π) หรือ n = N 1 + Ne2 e = 0.02 π = 0.5 Z = 1.96 ความเชื่อมั่น 95% คลาดเคลื่อน (e) ได้ไม่เกิน 0.02 (2%)

  34. ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพร้อยละของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ

  35. พัฒนารูปแบบ Best Practice องค์กรไร้พุง การดูแลผู้สูงอายุ การแก้ไขปัญหาวัยรุ่น Teenage Pregnancy R&D LBW พัฒนาการเด็กไทย กับไอโอดีน

  36. สวัสดี กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"

More Related