1 / 113

กระบวนการพยาบาล NURSING PROCESS

กระบวนการพยาบาล NURSING PROCESS. ดร. จันทร์ทิรา เจียรณัย สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. เป้าหมาย. ผู้ป่วยปลอดภัย ผู้ป่วยพึงพอใจ. Commitment พยาบาลแต่ละคนจะให้การพยาบาลที่ทำให้ผู้ป่วยปลอดภัยและพึงพอใจ. กระบวนการพยาบาล. ทำอย่างไร ?. ใช้สูตรสำเร็จวิชาชีพ.

rianne
Download Presentation

กระบวนการพยาบาล NURSING PROCESS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการพยาบาลNURSING PROCESS ดร. จันทร์ทิรา เจียรณัย สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

  2. เป้าหมาย • ผู้ป่วยปลอดภัย • ผู้ป่วยพึงพอใจ Commitment พยาบาลแต่ละคนจะให้การพยาบาลที่ทำให้ผู้ป่วยปลอดภัยและพึงพอใจ

  3. กระบวนการพยาบาล ทำอย่างไร? ใช้สูตรสำเร็จวิชาชีพ

  4. บอกความหมายของกระบวนการพยาบาลได้ถูกต้องบอกความหมายของกระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง บอกความสำคัญของกระบวนการพยาบาลต่อวิชาชีพพยาบาลได้ถูกต้อง บอกประโยชน์ของกระบวนการพยาบาลต่อผู้รับบริการ พยาบาลและวิชาชีพพยาบาลได้ถูกต้อง อธิบายคุณลักษณะของกระบวนการพยาบาลที่ทำให้การพยาบาลมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างไปจากวิชาชีพอื่นได้ วัตถุประสงค์

  5. วัตถุประสงค์ • อธิบายขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง ดังนี้ • จำแนกชนิดของข้อมูลและยกตัวอย่างประกอบได้ถูกต้อง • บอกส่วนประกอบของประวัติสุขภาพต่างๆ ได้ถูกต้อง • อธิบายรูปแบบและโครงสร้างของข้อวินิจฉัยการพยาบาลได้ถูกต้อง • อธิบายหลักการกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาลได้ • วิเคราะห์ข้อมูลและตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาลได้ถูกต้องสัมพันธ์กัน

  6. วัตถุประสงค์ • บอกขั้นตอนการวางแผนการพยาบาลได้ถูกต้อง • อธิบายและจัดลำดับความสำคัญของปัญหาได้ • กำหนดเป้าหมาย เกณฑ์ประเมินผลการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาลได้สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยการพยาบาล • บอกขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาลได้ • บอกแนวทางการประเมินผลการพยาบาลได้ • ประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาลในการวางแผนการพยาบาลแก่บุคคล ครอบครัวและชุมชนได้

  7. แนวคิด • ความหมาย ความสำคัญและขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล กระบวนการพยาบาลเป็นเครื่องมือที่สำคัญของพยาบาลในปฏิบัติการพยาบาลเพื่อช่วยให้ผู้รับบริการได้บริการที่มีคุณภาพ เป็นสิ่งที่แสดงถึงการนำความรู้ทางทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ มีความเป็นสากล มีความเป็นพลวัตร ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน และต้องใช้กระบวนการทางปัญญาในทุกๆ ขั้นตอน ซึ่ง ประกอบด้วย 5ขั้นตอน คือ การประเมินภาวะสุขภาพ การวินิจฉัยการพยาบาล การวางแผนการพยาบาล การปฏิบัติการพยาบาลและการประเมินผลทางการพยาบาล

  8. ความหมาย กระบวนการพยาบาล เป็นการสำรวจภาวะสุขภาพอนามัย ของผู้รับบริการอย่างมีระบบระเบียบ ชี้บ่งความต้องการพื้นฐาน ของผู้รับบริการและกำหนดวิธีการปฏิบัติ เพื่อสนองความต้องการ กระบวนการพยาบาลจึงเป็นกระบวนการทำงาน อย่างมีเป้าหมาย (ฟาริดา อิบราฮิม, 2541)

  9. ความหมาย กระบวนการพยาบาล เป็นวิธีการ 5 ขั้นตอนที่เป็นระบบระเบียบในการดูแลผู้รับบริการ อันหมายถึง บุคคล ครอบครัวและชุมชน โดยเน้นการบรรลุความต้องการของผู้รับบริการ อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า (Alfaro - Lefevre , 2002 )

  10. ความหมาย • กระบวนการพยาบาลเป็นขั้นตอนของกิจกรรมที่กําหนดขึ้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการพยาบาลที่ต้องการจะดำรงภาวะสุขภาพดีของผู้รับบริการ ถ้าผู้รับบริการป่วยก็จะให้การดูแลที่มีคุณภาพเพื่อให้ผู้รับบริการกลับสู่สภาพสุขภาพดี แต่ถ้าให้กลับสู่สภาวะสุขภาพดีไม่สำเร็จก็ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดตามศักยภาพของผู้รับบริการแต่ละคนเท่าที่เขาจะเป็นไปได้Yura and Walsh (1983)

  11. ความหมาย • กระบวนการพยาบาลไว้ว่า เป็นกระบวนการที่พยาบาลวิชาชีพใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพของผู้รับบริการอย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนที่ต่อเนื่องตามหลักวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยการประเมินสุขภาพ การวินิจฉัยปัญหา การวางแผนแก้ปัญหา การนำแผนไปปฏิบัติและการประเมินผลการปฏิบัติการใช้กระบวนการพยาบาลเป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาลซึ่งจะช่วยให้ผู้รับบริการได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพและเป็นการแสดงออกถึงความเป็นเอกลักษณ์และความเป็นวิชาชีพของการพยาบาล พรศิริ พันธศรี (2552)

  12. สรุป กระบวนการที่พยาบาลใช้เป็นเครื่องมือในการดูแลผู้รับบริการ ครอบครัวและชุมชนโดยมีขั้นตอนตามหลักวิทยาศาสตร์ แสดงให้เห็นความเป็นวิชาชีพภายใต้ความเชื่อ ความรู้จากศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งประกอบด้วย การประเมินภาวะสุขภาพ การวินิจฉัยการพยาบาล การวางแผนการพยาบาล การปฏิบัติการพยาบาลและการประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล เพื่อส่งเสริมสุขภาพในผู้ที่สุขภาพดี ป้องกันและแก้ไขหรือบรรเทาปัญหาสุขภาพให้ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพหรือมีแนวโน้มจะเกิดปัญหาขึ้น ในการดำรงภาวะสุขภาพ

  13. ความสำคัญของกระบวนการพยาบาลต่อวิชาชีพพยาบาลความสำคัญของกระบวนการพยาบาลต่อวิชาชีพพยาบาล • กระบวนการพยาบาลเป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับพยาบาลในการค้นหาปัญหาและความต้องการของผู้รับบริการ และเป็นสิ่งที่แสดงถึงการนำความรู้ทางทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ กระบวนการพยาบาลจึงเป็นการจัดระบบระเบียบการให้บริการทางการพยาบาล ในอเมริกาได้ให้ความสำคัญกับกระบวนการพยาบาลโดยนำมาใช้ในการสอบเพื่อขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพการพยาบาล (Register nurse: RN)

  14. คนในวิชาชีพพยาบาล ความรู้ คู่ คุณธรรม • ภูมิคุ้มกันวิชาชีพพยาบาล • ภูมิคุ้มกันคนในวิชาชีพพยาบาล

  15. ความสำคัญของกระบวนการพยาบาลต่อวิชาชีพพยาบาลความสำคัญของกระบวนการพยาบาลต่อวิชาชีพพยาบาล • ข้อวินิจฉัยการพยาบาลทำให้พยาบาลสามารถตัดสินใจให้การพยาบาลอย่างเฉพาะเจาะจงได้ และทำให้การสื่อสารระหว่างบุคลากรในทีมสุขภาพที่ดีส่งเสริมให้เกิดการดูแลผู้รับบริการอย่างมีประสิทธิภาพ • สำหรับในประเทศไทยได้มีประกาศตราพระราชบัญญัติวิชาชีพพยาบาลขึ้นหลังการแก้ไขรัฐธรรมนูญปี พ.ศ.2540 ซึ่งประกาศให้พยาบาลวิชาชีพในประเทศไทยใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้รับบริการเพื่อให้บริการพยาบาลที่มีคุณภาพและสามารถประกันคุณภาพการพยาบาลได้ (พรศิริ พันธศรี, 2552)

  16. ความสำคัญของกระบวนการพยาบาลต่อวิชาชีพความสำคัญของกระบวนการพยาบาลต่อวิชาชีพ

  17. การรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA กับ มาตรฐานสภาการพยาบาล

  18. มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล

  19. มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล

  20. มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล

  21. มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล

  22. มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล

  23. มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล

  24. ประโยชน์ของกระบวนการพยาบาลประโยชน์ของกระบวนการพยาบาล

  25. ความสำคัญของกระบวนการพยาบาลความสำคัญของกระบวนการพยาบาล • ผู้รับบริการ • พยาบาล • วิชาชีพพยาบาล

  26. ผู้รับบริการ • ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการเฉพาะราย • ส่งเสริมให้ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองรวมถึงการส่งเสริมสุขภาพป้องกัน หรือแก้ไขปัญหา • ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง • ช่วยป้องกันการละเลยการพยาบาลและการพยาบาลซ้ำซ้อน • เกิดความพึงพอใจ

  27. พยาบาล • ช่วยให้พยาบาลมีความพึงพอใจในงาน อันเนื่องมาจากการปฏิบัติพยาบาลเป็นระบบ • ช่วยให้พยาบาลเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในการค้นคว้า และพัฒนาตนเองทั้งด้านความรู้และทักษะการปฏิบัติการพยาบาล โดยเฉพาะทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking)ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหา • ช่วยเพิ่มความมั่นใจในตนเองในการปฏิบัติภารกิจทางการพยาบาล โดยมีการรวบรวมข้อมูล ตัดสินในทางการพยาบาล

  28. พยาบาล • ช่วยให้พยาบาลสามารถวางแผนและมอบหมายงานให้แก่ทีมการพยาบาลเพื่อดูแลผู้รับบริการเฉพาะรายได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์การเจ็บป่วยของผู้รับบริการ • ช่วยให้พยาบาลใช้เป็นแนวทางในการสร้างมาตรฐานในการปฏิบัติการพยาบาลที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดี (Best practice)

  29. วิชาชีพ • ช่วยส่งเสริมการทำงานร่วมกันเป็นทีม • เพิ่มคุณค่าการพยาบาล / วิชาชีพ • สร้างมาตรฐาน/เอกลักษณ์ของวิชาชีพ • ช่วยส่งเสริมให้มีการพัฒนาการวิจัยทางการพยาบาลมากขึ้นซึ่งทำให้วิชาชีพพยาบาลมีความก้าวหน้าและเป็นแนวทางในการพัฒนามาตรฐานการพยาบาลในด้านต่างๆ ต่อไป

  30. คุณลักษณะของกระบวนการพยาบาลคุณลักษณะของกระบวนการพยาบาล • เป็นพลวัตรและวงจร (Dynamic and Cyclic) • ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง (Client – center) • มีการวางแผนและกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน (Planned and goal directed) • เป็นสากล (Universally application) และมีความยืดหยุ่น (Flexibility) • เป็นกระบวนการทางปัญญา (Cognitive process)

  31. การประเมินการกำหนดปัญหา/ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลการวางแผนการพยาบาลการประเมินการกำหนดปัญหา/ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลการวางแผนการพยาบาล การให้การพยาบาลตามแผนการประเมินผลการปฏิบัติพยาบาล ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยหรือผู้รับบริการโดยผ่านกระบวนการพยาบาล

  32. Skills ( how to ) Knowledge ( what to, why to) Nursing Process Expertise Caring ( willing to, able to ) The Heart of Nursing Process Expertise ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์

  33. กระบวนการพยาบาล พิจารณาการตอบสนองทั้งด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย/ครอบครัวที่เป็นผลจากการทำงานของระบบในร่างกายหรืออวัยวะ เน้นการสอนผู้ป่วยรายบุคคลหรือรายกลุ่มเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถมีกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ด้วยตัวเอง กระบวนการแพทย์ พิจารณาการทำงานของระบบในร่างกายหรืออวัยวะ เน้นการสอนที่เกี่ยวกับโรคและการรักษา เปรียบเทียบกระบวนการพยาบาลและกระบวนการแพทย์

  34. กระบวนการพยาบาล ปรึกษาแพทย์เพื่อให้การรักษาโรค มักเกี่ยวข้องกับตัวผู้ป่วยทั้งรายบุคคล ครอบครัว ผู้ดูแล และญาติ กระบวนการแพทย์ ปรึกษาพยาบาลในการวางแผนการดูแลเพื่อให้ผู้ป่วยมีกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ มักเกี่ยวข้องกับผู้ป่วยเฉพาะราย บางครั้งที่จะเกี่ยวข้องกับญาติ/ผู้ดูแล เปรียบเทียบกระบวนการพยาบาลและกระบวนการแพทย์

  35. กระบวนการพยาบาล อธิบายการตอบสนองของผู้รับบริการต่อโรค เน้นปัจเจกบุคคล เปลี่ยนแปลงได้ เมื่อการตอบสนองของผู้รับบริการเปลี่ยน กระบวนการแพทย์ อธิบายกระบวนการเฉพาะโรค เน้นที่พยาธิสภาพของโรค ไม่เปลี่ยนแปลงคงอยู่เช่นนี้ จนกว่าจะหายเจ็บป่วย เปรียบเทียบกระบวนการพยาบาลและกระบวนการแพทย์

  36. กระบวนการพยาบาล นำไปสู่กิจกรรมการพยาบาลที่เป็นอิสระทั้งการวางแผน การปฏิบัติและการประเมินผล ยังไม่มีการจัดระบบ หมวดหมู่ที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาระบบดังกล่าว กระบวนการแพทย์ นำไปสู่การรักษา ซึ่งบางกิจกรรมมีพยาบาลช่วยทำ มีการจัดระบบ หมวดหมู่ที่ชัดเจน เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปในกลุ่มวิชาชีพเดียวกัน เปรียบเทียบกระบวนการพยาบาลและกระบวนการแพทย์

  37. ความสัมพันธ์ของกระบวนการ 5ขั้นตอน

  38. Assessment เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการพยาบาลที่สำคัญเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างมีระบบ ในการค้นหาปัญหาและความต้องการของผู้รับบริการ

  39. ชนิดของข้อมูล • ข้อมูลอัตนัย (subjective data): เป็นข้อมูลที่ได้จากการบอกเล่าของผู้รับบริการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง • ข้อมูลปรนัย (objective data): เป็นข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องทดลอง รวมทั้งการบันทึกต่างๆ ของทีมสุขภาพ

  40. แหล่งข้อมูล • แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ • แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ

  41. ตัวอย่างข้อมูลอัตนัยและข้อมูลปรนัยตัวอย่างข้อมูลอัตนัยและข้อมูลปรนัย

  42. ขั้นตอนในการประเมินสภาพขั้นตอนในการประเมินสภาพ • การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) • การจัดระบบข้อมูล (Data Organization) • การบันทึกข้อมูล (Data Recording)

  43. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) • การสังเกต • การสัมภาษณ์ (การซักประวัติสุขภาพ) • การตรวจร่างกาย • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ / รายงานผู้ป่วย

  44. การจัดระบบข้อมูล • ขึ้นอยู่กับกรอบแนวคิดหรือทฤษฎีการพยาบาลที่พยาบาลใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ

  45. การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing Diagnosis) “เป็นการกำหนดข้อความที่แสดงถึงภาวะสุขภาพ หรือ การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพ ของผู้รับบริการทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ สังคม และ จิตวิญญาณ ทั้งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน หรือกำลังจะเกิดขึ้น จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากผู้รับบริการ ให้แนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล ซึ่งเป็นกิจกรรมที่พยาบาลสามารถ ทำได้ตามกฎหมาย”

  46. การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing Diagnosis) “เป็นการตัดสินใจทางคลินิกเกี่ยวกับ การตอบสนองของบุคคล ครอบครัว หรือชุมชน การตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพ และกระบวนการ ของชีวิตที่เกิดขึ้น หรืออาจเกิดขึ้น ซึ่งให้แนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล เพื่อให้บรรลุผลการพยาบาลที่พยาบาลรับผิดชอบ” ( NANDA , 2003 )

  47. การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลการกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล • เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสุขภาพกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กับภาวะสุขภาพ • เป็นกระบวนการที่สำคัญ เพราะทำให้พยาบาลทราบแนวทางในการให้การพยาบาลเพื่อแก้ไข หรือส่งเสริมภาวะสุขภาพนั้น • การกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาลมีได้หลายรูปแบบอาจใช้ วิจารณญาณกำหนด โดยพิจารณาความเกี่ยวข้องกับข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล • อาจใช้ NANDA’list (Nanda definition and classification 2009-2011, www.nanda.org)

  48. NANDA

  49. ความแตกต่างระหว่างการวินิจฉัยการพยาบาลและการวินิจฉัยของแพทย์ความแตกต่างระหว่างการวินิจฉัยการพยาบาลและการวินิจฉัยของแพทย์

More Related